SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
การละลาย (Dissolution)
                                                                                            อ.ภญ. ศุภกัญญา ตันตระบัณฑิตย
                                                                                             ดร.ภญ.ปลันธนา เลิศสถิตธนกร

         ยาเตรียมเกือบทุกรูปแบบ ยกเวนยาน้ําใส ตัวยาสําคัญจะตองละลายอยูในตัวทําละลายที่อยูในบริเวณที่ยาจะเกิดการดูดซึม เชน
น้ําลาย หรือของเหลวในกระเพาะและลําไส จึงจะถูกดูดซึมเขาสูรางกายได เพราะฉะนั้นการละลายของตัวยา (dissolution) โดย
เฉพาะตัวยาที่อยูในสถานะของแข็งและกึ่งแข็ง จึงมีผลตอการดูดซึมและการออกฤทธิ์ของยา
         เมื่อยาเม็ดอยูในทางเดินอาหาร เม็ดยาจะแตกตัว (disintegration) เปนกลุมอนุภาคที่ประกอบดวยอนุภาคเล็กๆจับกลุมกันอยู
(granule) จากนั้นกลุมอนุภาคจะแยกตัว (deaggregation) กลายเปนอนุภาคเดี่ยว (fine particle) ซึ่งอนุภาคเดี่ยวจะเกิดการละลายใน
ของเหลวที่มีอยูในทางเดินอาหารจนอยูในรูปสารละลาย (solution) แลวถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารเขาสูระบบหมุนเวียนโลหิตตอไป
ดังแสดงในรูปที่ 1




                                     รูปที่ 1 ขั้นตอนการละลายของยาเตรียมรูปแบบของแข็ง

การละลายของอนุภาคของแข็ง
         การละลายของของแข็งในของเหลวจะเกี่ยวของกับการถายเทสสารจากรูปของแข็งเปนรูปของเหลว วิธีการในการ ถายเท
สสารแบงเปน 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาระหวางผิว (interfacial reaction) ซึ่งเปนการปลอยโมเลกุล ตัวถูกละลายออก ากสารใน
สถานะของแข็งจนไดเปนโมเลกุลของตัวถูกละลายอิ่มตัวในตัวทําละลาย จากนั้นโมเลกุลของ ตัวถูกละลายเหลานั้นจะถูกสงไปยังตัวทํา
ละลายกลางโดยอาจสงดวยวิธีการแพร (diffusion) หรือการพา (convection) ก็ได ซึ่งจะเกิดการเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขมขนของ
ตัวถูกละลายมากไปยังบริเวณที่มีความเขมขนเจือจาง
         เมื่อนําผงยาไปกระจายตัวในตัวทําละลาย สามารถอธิบายไดดวย diffusion layer model ดังแสดงในรูปที่ 2 คือ แตละอนุภาค
ของผงยาจะตองถูกลอมรอบดวยตัวทําละลายเปนชั้นบางๆ เรียกกวา stagnant layer หรือ diffusion layer ชั้นนี้จะยึดติดกับ
อนุภาคตลอดไมวาอนุภาคจะเกิดการเคลื่อนที่ไปที่ใดก็ตาม มีความหนาเทากับ h ความเขมขนของสารในตําแหนงที่ติดกับผิวอนุภาค (Cs)
คือความเขมขนอิ่มตัวของสารในตัวทําละลายชนิดนั้นนั่นเอง และในตําแหนงที่หางจากผิวอนุภาคออกมา ความเขมขนของสารในชั้น
ของเหลวจะลดลงเรื่อยๆจนกระทั้งเมื่อถึงผิวนอกของ diffusion layer จะเปนชั้นของตัวทําละลายกลางที่เปนเนื้อเดียวกัน ความเขมขนของ
สารจะคงที่และเทากันทุกสวน ซึ่งจะเทากับความเขมขนของสารในตัวทําละลายทั้งหมด ณ เวลานั้น (Cb) ความแตกตางระหวางความ
เขมขนของทั้งสองตําแหนง จะมีอิทธิพลตออัตราเร็วในการละลาย คือ ถาความเขมขนตางกันมาก อัตราเร็วในการละลายก็จะสูงตามไป
ดวย นอกจากนี้การคนมีผลตอความหนาของชั้น diffusion layer โดยเมื่อคนสารละลายดวย ความเร็วมากๆ ความหนาของชั้นนี้จะบางลง
แตถาคนเบาๆชั้นนี้ก็จะหนา


                                                                                                                             1
รูปที่ 2 Diffusion layer model

Noyes-Whitney relationship
       Noyes และ Whitney ไดสรางสมการเพื่ออธิบายอัตราการละลายของอนุภาคของแข็ง ดังนี้
                                 dM     DS
                                     = ( )(Cs − C b )                             (1)
                                  dt    h
กําหนดให       M       =        ปริมาณสารที่ละลาย (mg หรือ mmole)
                t       =        เวลา (วินาที)
                D       =        Diffusion coefficient (cm2/sec)
                S       =        พื้นที่ผิวของอนุภาค (cm2)
                h       =        ความหนาของชั้น diffuse layer
                Cs      =        ความเขมขนของสารที่ผิวอนุภาค หรือคาการละลายของสาร
                Cb      =        ความเขมขนของสารในสารละลาย

       เมื่อตองการทราบการเปลี่ยนแปลงความเขมขนของสารละลายที่เวลาตางๆ (dC/dt) จะตองเพิ่มตัวแปรปริมาตร (V, cm3) ลงไป
ในสมการ
                                 dC    DS
                                    = ( )(Cs − C b )                              (2)
                                 dt    Vh

         ในกรณีท่ความเขมขนของสารในสารละลาย (Cb) ต่ํากวาคาการละลายของสาร (Cs) มาก เรียกสภาวะเชนนี้วา sink condition
                 ี
คาของตัวแปร Cb จะถือวานอยมากจนตัดทิ้งได
                                 dM     DSCs
                                     =(      )                                    (3)
                                  dt     h
        เมื่อทําการอินทิเกรทสมการ (3) จะทําใหสามารถหาปริมาณสารที่ละลาย ณ เวลาตางๆได
                                        DSCs
                                 M=(         )t                                   (4)
                                         h

        ความเขมขนของสารละลาย ณ เวลาตางๆ
                                       DSCs
                                 C=(        )t                                    (5)
                                        Vh
         จากสมการ (4) เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสารที่ละลายกับเวลา ในสภาวะ sink condition จะไดกราฟ
เสนตรง แตในสภาวะ non-sink condition จะไดกราฟเสนโคงที่มีความชันลดลงเรื่อยๆเมื่อเวลาผานไป (อัตราเร็วในการละลายลดลง)


                                                                                                                      2
รูปที่ 3 ความสัมพันธระหวางปริมาณสารที่ละลายกับเวลา ในสภาวะ sink condition และ non-sink condition

ตัวอยาง
           จงหาอัตราการละลายของตัวยาที่มีคุณสมบัติ ดังนี้
                   surface area = 2.5x103 cm2
                   saturated solubility = 0.35 mg/ml (at 25 oC)
                   diffusion coefficient = 1.75 x 10-7 cm2/s
                   thickness of diffusion layer = 1.25 μm
                   conc. of drug in bulk = 2.1 x 10-4 mg/ml




Hixson-Crowell cube-root relationship
        จากสมการของ Noyes และ Whitney จะถือวาพื้นที่ผิว (S) คงที่ตลอดกระบวนการละลาย ซึ่งจะเปนจริงสําหรับรูปแบบยาเตรียม
บางประเภทเทานั้น เชน แผนแปะผิวหนัง (transdermal patch) แตในขณะที่อนุภาคของยาจากยาเม็ด แคปซูล หรือยาน้ําแขวนตะกอน จะ
มีขนาดเล็กลงเรื่อยๆเมื่อยาเกิดการละลาย ซึ่งทําใหพื้นที่ผิวลดลงตามไปดวย ทําใหสมการของ Noyes-Whitney equation ไมถูกตองใน
ทุกสถานการณ ดวยเหตุนี้ Hixson และ Crowell จึงไดปรับปรุงสมการของ Noyes และ Whitney ไดดังนี้
                                               M1/3 − M1/3 = Kt
                                                0      t



กําหนดให           M0      =         น้ําหนักสารที่เวลาเริ่มตน
                    Mt      =         น้ําหนักสารที่เวลาใด
                    K       =         cube-root dissolution rate constant
           สมการนี้จะถูกตองเมื่ออนุภาคของสารมีขนาดใกลเคียงกัน

                                                                                                                         3
ปจจัยที่มีผลตออัตราการละลายของยา
1. คุณสมบัติของยา
           1.1 การแตกตัวของยา
           ตัวยาที่มีคุณสมบัติเปนเกลือที่แตกตัวในน้ําไดดีจะเกิดการละลายไดเร็ว แตอยางไรก็ตามการละลายของสารประเภทนี้จะขึ้นอยู
กับความเขมขนของ counter-ion หรือคา ionic strength ของตัวทําละลายดวย ถาตัวทําละลายมีคา ionic strength สูง อัตราเร็วในการ
ละลายก็จะลดต่ําลง นอกจากนี้การละลายยังขึ้นกับคา pH ของสภาวะแวดลอมดวย เชน ในกระเพาะอาหารจะมี pH 1.5-3.0 สวนในลําไส
เล็กตอนตนมี pH 5.0-7.0 ตัวยาที่เปนดางออนจะละลายไดดีในสภาวะที่เปนกรดในกระเพาะอาหาร เนื่องจากยาจะแตกตัวเปนไอออนไดดี
ซึ่งตรงกันขามกับยาที่เปนกรดออนจะละลายไดดีท่ลําไสเล็ก แตสิ่งสําคัญประการหนึ่งคือยาจะละลายไดดีเมื่อเกิดการแตกตัว แตรางกายจะ
                                                    ี
ดูดซึมยาที่อยูในรูปที่ไมแตกตัวไดดีกวา เพราะฉะนั้นยาที่เปนดางออนจะละลายไดดีที่กระเพาะอาหาร แตจะไปถูกดูดซึมไดดีที่ลําไสเล็ก
           1.2 ขนาดและพื้นที่ผิวของอนุภาคยา
           จากสมการของ Noyes-Whitney แสดงใหเห็นวาอัตราเร็วการละลายจะแปรผันตรงกับพื้นที่ผิวของอนุภาคยา ถาอนุภาคมีขนาด
เล็กลงจะทําใหพื้นที่ผิว (effective surface area) เพิ่มขึ้น ซึ่งก็จะทําใหอัตราเร็วการละลายเพิ่มขึ้นนั่นเอง กรณีของยาที่ละลายน้ําไดนอย
การลดขนาดอนุภาคจะเพิ่มอัตราเร็วการละลายไดอยางมีนัยสําคัญ และทําใหคาชีวประสิทธิผลมากขึ้นตามไปดวย ตัวอยางของยาประเภท
นี้ เชน nitrofurantoin, griseofulvin, chloramphenicol
           1.3 รูพรุนของอนุภาค (porosity of solid particles)
           อัตราเร็วของการละลายจากพื้นที่ผิวภายในรูพรุนจะต่ํากวาอัตราเร็วจากพื้นที่ผิวภายนอก เพราะระยะทางสําหรับการแพรจะไกล
กวาและนานกวา แตถารูพรุนมีขนาดเล็กกวาขนาดของโมเลกุลของตัวทําละลาย รูพรุนจะไมมผลตออัตราเร็วในการละลาย เนื่องจากตัวทํา
                                                                                              ี
ละลายจะไมสามารถผานเขาไปไดในรูพรุนนั้นได
           1.4 สารพหุสัณฐาน (polymorphism)
           สารบางชนิดมีหลายสัณฐาน ซึ่งจะมีรูปผลึกแตกตางกันไปเปนผลใหเกิดความแตกตางของอัตราการละลาย ถาเลือกรูปผลึกที่
ละลายน้ําไดดีมาเตรียมตํารับก็จะไดตํารับที่ละลายเร็วและดูดซึมไดดี ผงยาที่เปนแบบ crystalline จะละลายไดชากวาแบบ amorphous
เพราะจะตองใชพลังงานที่สูงกวาเพื่อทําลายแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล ผงยาที่ผานการทําใหแหงดวยวิธี freeze-dried จะเปนแบบ
amorphous และมีลักษณะที่ฟเบาจึงสามารถละลายน้ําไดเร็วมาก ผงยาที่อยูในรูปแบบ hydrate มักจะละลายไดดีกวารูปแบบ anhydrous
                                ู
2. สมบัติของตัวทําละลาย
           2.1 ความหนืดของตัวทําละลาย
           ถาตัวทําละลายมีความหนืดสูง จะทําใหอัตราการแพรของตัวถูกละลายชาลง และทําใหอัตราการละลายลดลงตามไปดวย
           2.2 สารลดแรงตึงผิว
           สารละลายที่มีสารลดแรงตึงผิวเปนองคประกอบ มีผลชวยเพิ่มอัตราการละลายอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีของผงยาที่
เปยกน้ํายาก เนื่องจากสารลดแรงตึงผิวจะลดแรงตึงผิวระหวางผิว (interfacial tension) ของอนุภาคผงยาและผิวของตัวทําละลาย ทําใหตัว
ทําละลายสามารถเกาะติดหรือเปยกผิวของอนุภาคของแข็งดีขึ้น และตัวทําละลายสามารถแทรกซึมเขาสูผิวอนุภาคผงยางายขึ้น อัตราการ
ละลายก็เพิ่มขึ้นดวย
           2.3 ชนิดและจํานวนโมเลกุลของตัวทําละลายที่จับกับโมเลกุลของยาในรูปโซลเวต
           ถาตัวทําละลายเปนน้ําเรียกวา         รูปไฮเดรต           เชน          ออกซีเฟนบิวทาโซนที่มีตัวทําละลายจับอยูในรูปโซลเวต
จะมีการละลายแตกตางกัน ดังแสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 อัตราการละลายของยาออกซีเฟนบิวทาโซนในรูปซอลเวตตางๆ
         Oxyphenbutazone ในรูปซอลเวตตางๆ                                 อัตราการละลาย (มก./นาที ตร.ซม)
Benzene solvate                                                                       21.05 + 0.02
Cyclohexane solvate                                                                   18.54 + 0.47
Anhydrous                                                                             14.91 + 0.47
Hemihydrate                                                                           17.01 + 0.78
Monohydrate                                                                            9.13 + 0.23
                                                                                                                                      4
3. รูปแบบยาเตรียม
            3.1 ยาเตรียมรูปแบบของแข็ง
            สําหรับยาเม็ดกระบวนการละลายจะขึ้นอยูกับการแตกตัว (disintergration) จนกลายเปนอนุภาคเล็กๆ ในตํารับยาเม็ดจะตองมี
การเติมสารชวยยึดเกาะ (binding agent) เพื่อใหผงยามีแรงยึดเกาะ สามารถจับกันเปนเม็ดเมื่อไดรับแรงตอก เชน polyvinylpyrrolidone,
sodium carboxymethylcellulose สารพวกนี้สามารถเพิ่มอัตราการละลายของตัวยาไดโดยกลไกที่ทําใหผงยาเปยกน้ําไดดีขึ้น สวนการใช
สารเพิ่มปริมาณในยาเม็ด (diluent) เชน starch หรือ lactose ก็สามารถเพิ่มอัตราการละลายของยาที่ไมชอบน้ําไดเชนกัน เพราะสารเพิ่ม
ปริมาณจะไปเพิ่มพื้นที่ผิว ทําใหยาสัมผัสกับตัวทําละลายไดมากขึ้น แตการใชสารหลอลื่น (lubricating agent) เชน stearic acid หรือ
magnesium stearate จะลดอัตราการละลายของยา เพราะสารเหลานี้มีคุณสมบัตไมชอบน้ํา จึงไปทําใหตัวทําละลายสัมผัสกับยาไดนอยลง
                                                                             ิ
            3.2 ยาน้ําแขวนตะกอนและอิมัลชั่น
            กรณีของยาน้ําแขวนตะกอน ขั้นตอนการละลายเปน rate-limiting step ของการดูดซึมยาในทางเดินอาหาร มีปจจัยสําคัญที่สงผล
ตอการละลายของยาจากยาน้ําแขวนตะกอน เชน การตกตะกอนและจับกลุมกันของผงยา จะทําใหขนาดอนุภาคของยาใหญขึ้น สงผลให
อัตราการละลายลดลง การเปลี่ยนรูปผลึกเมื่อเก็บยาน้ําแขวนตะกอนไวเปนเวลานาน อาจทําใหไดรูปผลึกที่มคุณสมบัติการละลายที่
                                                                                                             ี
แตกตางไปจากเดิมไดซึ่งมีแนวโนมที่จะละลายไดนอยลง
            ความหนืดของยาน้ําแขวนตะกอนและอิมัลชั่นจะมีผลตออัตราการละลาย เนื่องจากเมื่อความหนืดเพิ่มขึ้น สารจะเกิดการแพรได
นอยลง หรือมีคา diffusion coefficient นอยลงนั่นเอง ยาน้ําแขวนตะกอนสําหรับฉีดเขากลามเนื้อหรือฉีดใตผวหนังบางชนิดจะมีความหนืด
                                                                                                       ิ
สูง เพื่อที่เมื่อฉีดเขาไปแลวจะทําใหตัวยาละลายออกมาอยางชาๆและใหผลการรักษาตอเนื่องเปนเวลานาน
            3.3 ยาเตรียมกึ่งแข็ง
            ยาเตรียมประเภทยาเหน็บ ครีม เจล ขี้ผึ้ง ยาพื้น (Base) ของในตํารับประเภทนี้มีทั้งชนิดที่ชอบน้ําและไมชอบน้ํา เพราะฉะนั้น
การละลายของตัวยาจากตํารับจะขึ้นกับชนิดของยาพื้นดวย
4. สภาวะของรางกาย
            4.1 Gastric emptying and Intestinal transit time
            สิ่งตางๆที่รับประทานเขาไปจะใชเวลาในการเคลื่อนที่ผานกระเพาะอาหารนาน 15 นาทีจนถึง 2 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับลักษณะของสิ่ง
ที่รับประทาน และขึ้นกับการมีหรือไมมของอาหารที่อยูในกระเพาะ ซึ่งระยะเวลาดังกลาวจะมีผลตอการละลายของยาเตรียมรูปแบบ
                                            ี
ของแข็ง เชน กรณีของตัวยาที่ละลายไดดีในสภาวะกรด ถาไดอยูในกระเพาะอาหารเปนเวลานานก็จะละลายไดเร็ว นอกจากนี้อาหารที่อยู
ในกระเพาะจะมีผลตอความหนืด ซึ่งมีผลตออัตราการละลายได
            ยาสวนมากจะถูกดูดซึมไดดีที่ลําไสเล็กสวน duodenum และ jejunum เพราะฉะนั้นระยะเวลาที่ยาอยูในลําไสเล็กสวนนี้ก็จะมีผล
ตอการละลายและปริมาณยาที่จะถูกดูดซึมดวย โดยปรกติแลวระยะเวลาที่วัตถุจะเคลื่อนที่ผานลําไสเล็กสวนนี้จะใชเวลา 1-4 ชั่วโมง
            4.2 ความเปนกรดดางในทางเดินอาหาร
            ในทางเดินอาหารแตละตําแหนงจะมีคา pH ที่แตกตางกันไป ซึ่งจะมีผลตอการละลายของยาที่เปนกรดออนหรือดางออน ใน
กระเพาะอาหารชวงที่ไมมีอาหารมีคาประมาณ 1.2 แตเมื่อรับประทานอาหารเขาไปจะเพิ่มเปน 3.5 หรือสูงกวาขึ้นกับชนิดและปริมาณ
อาหาร ยาที่เปนกรดออนจะละลายไมดีในสภาวะกรด แตยาที่เปนดางออนจะแตกตัวและละลายไดดีในสภาวะกรด
5. ความเขมขนของตัวยาในสารละลาย
            ถาความเขมขนของตัวถูกละลายมีปริมาณต่ํา อัตราเร็วการละลายจะสูง แตถาความเขมขนตัวถูกละลายเพิ่มขึ้น จะมีผลทําให
อัตราเร็วของการละลายลดต่ําลง ดังรูปที่ 4




                                                                                                                                 5
รูปที่ 4 ความสัมพันธระหวางอัตราการละลายและเปอรเซ็นตความเขมขนของตัวยา chlorpropamide urea ในสารละลาย

6. การคน
          แรงที่คนสารละลายจะชวยลดความหนาของฟลม (h) และยังชวยนําเอาตัวทําละลายใหมๆจาก bulk solution มาสัมผัสกับ
diffusion layer ดังนั้นแรงที่ใชคนหรือเขยาสารละลายจึงมีผลอยางมากตออัตราเร็วของการละลาย
7. อุณหภูมิ
          การเพิ่มอุณหภูมิจะชวยเพิ่มคาการละลายของสารบางอยางโดยการดูดความรอนไปใช (positive heat) ซึ่งมีผลใหเพิ่มอัตราเร็ว
ของการละลาย ในทางตรงขาม การลดอุณหภูมิอาจใชในการเพิ่มอัตราการละลายของสารบางชนิด โดยการคายความรอนออกมา
(negative heat)
8. การใชคลื่นที่มความถี่สูง
                    ี
          คลื่นเสียงความถี่สูงสามารถสั่นสะเทือนผงยา ทําใหอนุภาคแตกตัวไดงาย และยังทําใหโมเลกุลของตัวถูกละลายเคลื่อนที่ไดเร็ว
สงผลใหอัตราเร็วการละลายเพิ่มขึ้น เครื่องสรางคลื่นเสียงความถี่สูงเรียกวาเครื่อง Ultra-sonicator

การทดสอบการละลาย (Dissolution testing)
           ในเภสัชตํารับเลมตางๆจะระบุวิธีการทดสอบการละลายของเภสัชภัณฑเอาไว การทดสอบการละลายเปนวิธีการทดสอบแบบ in
vitro เพื่อดูผลวาเมื่อรับประทานยาเขาสูรางกายแลว ยาเตรียมนั้นนาจะมีการละลายและดูดซึมเขาสูรางกายไดดีมากนอยเพียงใด เปน
วิธีการที่สะดวกและประหยัดกวาการทดสอบในรางกายมนุษยแบบ in vivo (การทดสอบภายในรางกาย) การทดสอบการละลายจะเปน
หัวขอหนึ่งในการควบคุมคุณภาพเภสัชภัณฑในรูปแบบของแข็ง เชน ยาเม็ด ยาเม็ดเคลือบ ยาแคปซูล ยาเหน็บ รวมไปถึงยาน้ําแขวน
ตะกอน และระบบนําสงยาแบบตางๆดวย หลักการทดสอบการละลาย คือ นํายาเตรียมไปละลายในของเหลวที่เตรียมขึ้นเพื่อจําลองแบบ
ของเหลวในทางเดินอาหาร (dissolution medium) และทําในสภาวะที่จําลองแบบใหคลายกับภายในทางเดินอาหาร




                                   รูปที่ 5 เครื่องมือทดสอบการละลาย (Dissolution apparatus)



                                                                                                                              6
เครื่องมือและวิธีการทดสอบการละลาย
           Apparatus 1 (Rotating basket)
           เปนชนิดที่ใชมากในเภสัชตํารับเพื่อวัดอัตราการละลายของยาเม็ด ยาแคปซูลหรือยาเหน็บที่มความหนา แนนต่ํา ซึ่งจะไมจมใน
                                                                                                           ี
dissolution medium รวมไปถึงยาที่ละลายไดชาดวย โดยจะบรรจุยาที่จะทดสอบ การละลายไวในตะกราทรงกระบอกทําจากโลหะปลอด
สนิมที่ตอกับแกนหมุน            มีความทนทานตอสารละลายกรดที่ใชระหวางการทดสอบ               ซึ่งจุมอยูในภาชนะกนกลมหรือกนแบนที่บรรจุ
dissolution medium ตะกราจะหมุน ดวยความเร็วรอบคงที่ อยางไรก็ตามสภาวะที่ใชในการทดสอบนี้อาจแตกตางกันไปสําหรับยาแตละตัว
ใหยดตาม monograph ของยาตัวนั้นๆเปนสําคัญ ตัวอยาง เชน 0.1 M HCl ปริมาตร 900 ml ที่ควบคุมอุณหภูมไวที่ 37°C ตะกราหมุน
     ึ                                                                                                             ิ
ดวยความเร็ว 100 รอบ/นาที ในระหวางการทดสอบจะมีการเก็บตัวอยางสารละลาย ณ เวลาที่ กําหนด กรองแลวนําไปวิเคราะหหาปริมาณ
ตัวยาที่ละลายออกมา
           Apparatus 2 (Paddle)
           มีลกษณะคลายกับ Apparatus 1 ยกเวนสวนของตะกราจะเปลี่ยนเปนใบพาย ใบพายจะถูกเคลือบดวยวัสดุที่เฉื่อยตอปฏิกิรยา
              ั                                                                                                                      ิ
เชน Teflon และจะไดรับออกแบบใหมรูปทรงที่เหมาะสม เพื่อให dissolution medium ที่ถูกกวนไหลอยางเปนระเบียบ ในการทดสอบยา
                                        ี
เม็ดใบพายจะหมุนดวยความเร็ว 50 รอบ/นาที สวนการทดสอบยาน้ําแขวนตะกอนจะหมุนดวยความเร็ว 25 รอบ/นาที ในการทดสอบดวย
Apparatus 2 ยาที่จะทดสอบจะตองจมอยูที่กนของภาชนะที่บรรจุ dissolution medium เพื่อผลการทดสอบที่ถูกตอง แตกรณีที่ยาไมจมน้ํา
เชน ยาแคปซูล จะตองใชเสนลวด platinum ถวงใหยาจม แลวเก็บตัวอยางสารละลาย ณ เวลาที่กาหนด กรอง และวิเคราะหปริมาณสาร
                                                                                                    ํ
           Apparatus 3 (Reciprocating cylinder)
           เครื่องมือประกอบดวยภาชนะแกวทรงกระบอกที่ใชบรรจุ dissolution medium มีความจุ 100-300 ml และภาชนะทรงกระบอกที่
เคลื่อนที่ข้นลงไดตามแนวดิ่งสําหรับบรรจุตัวอยางยาที่จะทดสอบ
            ึ                                                             เครื่องมือชนิดนี้นิยมใชทดสอบตํารับยาออกฤทธิ์นานที่เปนแบบ
microparticle
           Apparatus 4 (Flow-through cell)
           เครื่องมือประกอบดวย flow cell ที่เปนที่บรรจุตัวอยางยา จะมีการปลอย dissolution medium ใหไหลเขาผานตัวอยางยาที่อยูใน
flow cell ดวยอัตราเร็ว 4 – 16 ml/นาที เครื่องมือชนิดนี้ใชสําหรับทดสอบตํารับยาออกฤทธิ์นานหรือยาที่มีคาการละลายต่ํามาก
แลวเก็บตัวอยางสารละลายที่ผานออกมา ณ เวลาที่กําหนด กรอง และวิเคราะหหาปริมาณสาร
           Apparatus 5 (Paddle over disk)
           เครื่องมือชนิดนี้ใชทดสอบการละลายของยาเตรียมที่ใชภายนอกรางกาย เชน ครีม ยาขี้ผึ้ง รวมไปถึงระบบนําสงยาทางผิวหนังที่
เปนแผนแปะ โดยตัวอยางยาที่จะทําการทดสอบจะถูกยึดติดอยูกับตัวจับไวที่กนภาชนะที่บรรจุ dissolution medium ซึ่งยาจะสัมผัสกับ
dissolution medium เพียงดานเดียว และมีใบพายเหมือนกับ Apparatus 2 มีการควบคุมอุณหภูมิของ dissolution medium ไวที่ 32°C
และจะตองกําหนดใหพื้นที่ผิวของยาเทากันทุกครั้ง แลวจึงเก็บตัวอยาง สารละลาย ณ เวลาที่กําหนด กรอง และวิเคราะหหาปริมาณสาร
ดังนั้นในสภาวะการศึกษานี้สามารถวัดปริมาณยา ที่ละลายตอหนึ่งหนวยเวลา และปริมาณยาที่ละลายออกมาตอหนึ่งหนวยพื้นที่ผิวได
           Apparatus 6 (Rotating cylinder)
           ใชสําหรับทดสอบการละลายของระบบนําสงยาทางผิวหนัง เปนการดัดแปลงมาจาก Apparatus 1 โดยจะเปลี่ยนจากตะกราเปน
โลหะทรงกระบอกที่ใชเปนที่ยึดตัวอยางยาที่จะทดสอบ
           Apparatus 7 (Reciprocating holder)
           ประกอบดวยแกนที่เอาไวยึดตัวอยางยาที่จะทําการทดสอบ แกนยึดตัวอยางนี้จะจุมอยูในภาชนะบรรจุ dissolution medium
ปริมาตรตั้งแต 20 – 275 ml และจะเคลื่อนที่ขึ้นลงดวยความถี่ 30 ครั้ง/นาที ใชทดสอบระบบนําสงยาทางผิวหนัง




                                                                                                                                      7
รูปที่ 6 เครื่องมือทดสอบการละลายแบบตางๆตาม United State Pharmacopoeia

ความสําคัญของการทดสอบการละลาย
การควบคุมคุณภาพ
            ในเภสัชตํารับตางๆจะกําหนดใหการทดสอบการละลายเปนสวนหนึ่งในการควบคุมคุณภาพของเภสัชภัณฑ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ในยาเตรียมที่เปนของแข็ง โดยใน monograph ของยาแตละชนิดจะมีการกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการทดสอบการละลายของยา
ชนิดนั้นเอาไว ไดแก ชนิดของเครื่องมือ, ชนิดและปริมาณของ dissolution medium, อัตราเร็วในการหมุนของ basket หรือ paddle,
วิธการวิเคราะหปริมาณยาที่ละลาย
     ี
การละลาย การดูดซึม และชีวประสิทธิผล
            เมื่อยาเตรียมเขาไปถึงบริเวณที่จะเกิดการดูดซึม ยาเตรียมจะตองปลดปลอยตัวยาสําคัญออกมา จากนั้นรางกายจึงจะดูดซึมยา
เขาสูรางกายได ในกรณีของยาเตรียมชนิดรับประทาน เชน ยาเม็ด ขั้นตอนแรกยาเม็ดที่เปนของแข็งจะตองละลายจนอยูในรูปสารละลาย
กอน และขั้นตอนตอมายาที่อยูในรูปแบบสารละลายจะถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารเขาสูระบบหมุนเวียนเลือด เพราะฉะนั้นความเร็วที่ยา
จะเขาสูกระแสเลือดจะถูกกําหนดโดยขั้นตอนที่ชากวาขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งที่กลาวมา ซึ่งเรียกวา Rate-limiting step
            สําหรับยาที่มีคุณสมบัติชอบน้ํา (hydrophilic) เชน ยาที่เปนเกลือที่ละลายน้ําไดดี การละลายน้ําของยาประเภทนี้จะเกิดขึ้นได
อยางรวดเร็ว เพราะฉะนั้นขั้นตอนที่เปน rate-limiting step คือขั้นตอนการดูดซึม บางกรณีสารละลายของตัวยาที่ยงไมถูกดูดซึมอาจถูก
                                                                                                                  ั
กําจัดออกไปจากบริเวณที่จะถูกดูดซึมกอนที่ยาจะถูกดูดซึมก็ได           เพราะการดูดซึมเกิดขึ้นไดชา     สวนยาที่มีคุณสมบัติไมชอบน้ํา
(hydrophobic) ขั้นตอนการละลายจะเปน rate-limiting step เพราะฉะนั้นคาชีวประสิทธิผล (bioavailability) หรือปริมาณยาที่ถูกดูดซึมเขา
สูรางกายของยาประเภทนี้จะถูกกําหนดโดยอัตราเร็วในการละลาย ซึ่งการปรับปรุงอัตราเร็วในการละลายของยาสามารถทําไดโดยการ
เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของตัวยาหรือสวนประกอบในตํารับยา เพื่อใหตํารับที่ไดมีคาชีวประสิทธิผลสูงที่สุด

                                                    บรรณานุกรม
ดวงดาว ฉันทศาสตร (2551). สารละลายและหลักการละลาย. บริษัท ประชาชน จํากัด: กรุงเทพฯ
The Official Compendia of Standards U.S.Pharmacopeia 24 and National Formulary 19 (2000). The United States
Pharmacopeia Convention, Inc.: Washington, D.C.




                                                                                                                                   8

More Related Content

What's hot

เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
Apinya Phuadsing
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
Surang Judistprasert
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
adriamycin
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
Rachanont Hiranwong
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555
adriamycin
 

What's hot (20)

เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
AnalChem : Volumetric Method
AnalChem : Volumetric MethodAnalChem : Volumetric Method
AnalChem : Volumetric Method
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555
 
Dissolution study-Dissolution studies Factor affecting dissolution and Invitr...
Dissolution study-Dissolution studies Factor affecting dissolution and Invitr...Dissolution study-Dissolution studies Factor affecting dissolution and Invitr...
Dissolution study-Dissolution studies Factor affecting dissolution and Invitr...
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 

Viewers also liked

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
adriamycin
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
adriamycin
 
Intro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutIntro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handout
adriamycin
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
Wijitta DevilTeacher
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
Wijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (6)

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
Intro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutIntro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handout
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 

Similar to Dissolution2555 (8)

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
3 concentration
3 concentration3 concentration
3 concentration
 
Slide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdfSlide interfacial phenomena pdf
Slide interfacial phenomena pdf
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solution
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
 
6 solution (1)
6 solution (1)6 solution (1)
6 solution (1)
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 

More from adriamycin

Complexation2555
Complexation2555Complexation2555
Complexation2555
adriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
adriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
adriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
adriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
adriamycin
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
adriamycin
 
ปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตก
adriamycin
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
adriamycin
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
adriamycin
 
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายสเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
adriamycin
 
น้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวน้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัว
adriamycin
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
adriamycin
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็น
adriamycin
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
adriamycin
 
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำการทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
adriamycin
 
น้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนน้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอน
adriamycin
 

More from adriamycin (20)

Complexation2555
Complexation2555Complexation2555
Complexation2555
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
ปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตก
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
 
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายสเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
 
น้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวน้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็น
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
 
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำการทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
 
น้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนน้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอน
 

Dissolution2555

  • 1. การละลาย (Dissolution) อ.ภญ. ศุภกัญญา ตันตระบัณฑิตย ดร.ภญ.ปลันธนา เลิศสถิตธนกร ยาเตรียมเกือบทุกรูปแบบ ยกเวนยาน้ําใส ตัวยาสําคัญจะตองละลายอยูในตัวทําละลายที่อยูในบริเวณที่ยาจะเกิดการดูดซึม เชน น้ําลาย หรือของเหลวในกระเพาะและลําไส จึงจะถูกดูดซึมเขาสูรางกายได เพราะฉะนั้นการละลายของตัวยา (dissolution) โดย เฉพาะตัวยาที่อยูในสถานะของแข็งและกึ่งแข็ง จึงมีผลตอการดูดซึมและการออกฤทธิ์ของยา เมื่อยาเม็ดอยูในทางเดินอาหาร เม็ดยาจะแตกตัว (disintegration) เปนกลุมอนุภาคที่ประกอบดวยอนุภาคเล็กๆจับกลุมกันอยู (granule) จากนั้นกลุมอนุภาคจะแยกตัว (deaggregation) กลายเปนอนุภาคเดี่ยว (fine particle) ซึ่งอนุภาคเดี่ยวจะเกิดการละลายใน ของเหลวที่มีอยูในทางเดินอาหารจนอยูในรูปสารละลาย (solution) แลวถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารเขาสูระบบหมุนเวียนโลหิตตอไป ดังแสดงในรูปที่ 1 รูปที่ 1 ขั้นตอนการละลายของยาเตรียมรูปแบบของแข็ง การละลายของอนุภาคของแข็ง การละลายของของแข็งในของเหลวจะเกี่ยวของกับการถายเทสสารจากรูปของแข็งเปนรูปของเหลว วิธีการในการ ถายเท สสารแบงเปน 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาระหวางผิว (interfacial reaction) ซึ่งเปนการปลอยโมเลกุล ตัวถูกละลายออก ากสารใน สถานะของแข็งจนไดเปนโมเลกุลของตัวถูกละลายอิ่มตัวในตัวทําละลาย จากนั้นโมเลกุลของ ตัวถูกละลายเหลานั้นจะถูกสงไปยังตัวทํา ละลายกลางโดยอาจสงดวยวิธีการแพร (diffusion) หรือการพา (convection) ก็ได ซึ่งจะเกิดการเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเขมขนของ ตัวถูกละลายมากไปยังบริเวณที่มีความเขมขนเจือจาง เมื่อนําผงยาไปกระจายตัวในตัวทําละลาย สามารถอธิบายไดดวย diffusion layer model ดังแสดงในรูปที่ 2 คือ แตละอนุภาค ของผงยาจะตองถูกลอมรอบดวยตัวทําละลายเปนชั้นบางๆ เรียกกวา stagnant layer หรือ diffusion layer ชั้นนี้จะยึดติดกับ อนุภาคตลอดไมวาอนุภาคจะเกิดการเคลื่อนที่ไปที่ใดก็ตาม มีความหนาเทากับ h ความเขมขนของสารในตําแหนงที่ติดกับผิวอนุภาค (Cs) คือความเขมขนอิ่มตัวของสารในตัวทําละลายชนิดนั้นนั่นเอง และในตําแหนงที่หางจากผิวอนุภาคออกมา ความเขมขนของสารในชั้น ของเหลวจะลดลงเรื่อยๆจนกระทั้งเมื่อถึงผิวนอกของ diffusion layer จะเปนชั้นของตัวทําละลายกลางที่เปนเนื้อเดียวกัน ความเขมขนของ สารจะคงที่และเทากันทุกสวน ซึ่งจะเทากับความเขมขนของสารในตัวทําละลายทั้งหมด ณ เวลานั้น (Cb) ความแตกตางระหวางความ เขมขนของทั้งสองตําแหนง จะมีอิทธิพลตออัตราเร็วในการละลาย คือ ถาความเขมขนตางกันมาก อัตราเร็วในการละลายก็จะสูงตามไป ดวย นอกจากนี้การคนมีผลตอความหนาของชั้น diffusion layer โดยเมื่อคนสารละลายดวย ความเร็วมากๆ ความหนาของชั้นนี้จะบางลง แตถาคนเบาๆชั้นนี้ก็จะหนา 1
  • 2. รูปที่ 2 Diffusion layer model Noyes-Whitney relationship Noyes และ Whitney ไดสรางสมการเพื่ออธิบายอัตราการละลายของอนุภาคของแข็ง ดังนี้ dM DS = ( )(Cs − C b ) (1) dt h กําหนดให M = ปริมาณสารที่ละลาย (mg หรือ mmole) t = เวลา (วินาที) D = Diffusion coefficient (cm2/sec) S = พื้นที่ผิวของอนุภาค (cm2) h = ความหนาของชั้น diffuse layer Cs = ความเขมขนของสารที่ผิวอนุภาค หรือคาการละลายของสาร Cb = ความเขมขนของสารในสารละลาย เมื่อตองการทราบการเปลี่ยนแปลงความเขมขนของสารละลายที่เวลาตางๆ (dC/dt) จะตองเพิ่มตัวแปรปริมาตร (V, cm3) ลงไป ในสมการ dC DS = ( )(Cs − C b ) (2) dt Vh ในกรณีท่ความเขมขนของสารในสารละลาย (Cb) ต่ํากวาคาการละลายของสาร (Cs) มาก เรียกสภาวะเชนนี้วา sink condition ี คาของตัวแปร Cb จะถือวานอยมากจนตัดทิ้งได dM DSCs =( ) (3) dt h เมื่อทําการอินทิเกรทสมการ (3) จะทําใหสามารถหาปริมาณสารที่ละลาย ณ เวลาตางๆได DSCs M=( )t (4) h ความเขมขนของสารละลาย ณ เวลาตางๆ DSCs C=( )t (5) Vh จากสมการ (4) เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสารที่ละลายกับเวลา ในสภาวะ sink condition จะไดกราฟ เสนตรง แตในสภาวะ non-sink condition จะไดกราฟเสนโคงที่มีความชันลดลงเรื่อยๆเมื่อเวลาผานไป (อัตราเร็วในการละลายลดลง) 2
  • 3. รูปที่ 3 ความสัมพันธระหวางปริมาณสารที่ละลายกับเวลา ในสภาวะ sink condition และ non-sink condition ตัวอยาง จงหาอัตราการละลายของตัวยาที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ surface area = 2.5x103 cm2 saturated solubility = 0.35 mg/ml (at 25 oC) diffusion coefficient = 1.75 x 10-7 cm2/s thickness of diffusion layer = 1.25 μm conc. of drug in bulk = 2.1 x 10-4 mg/ml Hixson-Crowell cube-root relationship จากสมการของ Noyes และ Whitney จะถือวาพื้นที่ผิว (S) คงที่ตลอดกระบวนการละลาย ซึ่งจะเปนจริงสําหรับรูปแบบยาเตรียม บางประเภทเทานั้น เชน แผนแปะผิวหนัง (transdermal patch) แตในขณะที่อนุภาคของยาจากยาเม็ด แคปซูล หรือยาน้ําแขวนตะกอน จะ มีขนาดเล็กลงเรื่อยๆเมื่อยาเกิดการละลาย ซึ่งทําใหพื้นที่ผิวลดลงตามไปดวย ทําใหสมการของ Noyes-Whitney equation ไมถูกตองใน ทุกสถานการณ ดวยเหตุนี้ Hixson และ Crowell จึงไดปรับปรุงสมการของ Noyes และ Whitney ไดดังนี้ M1/3 − M1/3 = Kt 0 t กําหนดให M0 = น้ําหนักสารที่เวลาเริ่มตน Mt = น้ําหนักสารที่เวลาใด K = cube-root dissolution rate constant สมการนี้จะถูกตองเมื่ออนุภาคของสารมีขนาดใกลเคียงกัน 3
  • 4. ปจจัยที่มีผลตออัตราการละลายของยา 1. คุณสมบัติของยา 1.1 การแตกตัวของยา ตัวยาที่มีคุณสมบัติเปนเกลือที่แตกตัวในน้ําไดดีจะเกิดการละลายไดเร็ว แตอยางไรก็ตามการละลายของสารประเภทนี้จะขึ้นอยู กับความเขมขนของ counter-ion หรือคา ionic strength ของตัวทําละลายดวย ถาตัวทําละลายมีคา ionic strength สูง อัตราเร็วในการ ละลายก็จะลดต่ําลง นอกจากนี้การละลายยังขึ้นกับคา pH ของสภาวะแวดลอมดวย เชน ในกระเพาะอาหารจะมี pH 1.5-3.0 สวนในลําไส เล็กตอนตนมี pH 5.0-7.0 ตัวยาที่เปนดางออนจะละลายไดดีในสภาวะที่เปนกรดในกระเพาะอาหาร เนื่องจากยาจะแตกตัวเปนไอออนไดดี ซึ่งตรงกันขามกับยาที่เปนกรดออนจะละลายไดดีท่ลําไสเล็ก แตสิ่งสําคัญประการหนึ่งคือยาจะละลายไดดีเมื่อเกิดการแตกตัว แตรางกายจะ ี ดูดซึมยาที่อยูในรูปที่ไมแตกตัวไดดีกวา เพราะฉะนั้นยาที่เปนดางออนจะละลายไดดีที่กระเพาะอาหาร แตจะไปถูกดูดซึมไดดีที่ลําไสเล็ก 1.2 ขนาดและพื้นที่ผิวของอนุภาคยา จากสมการของ Noyes-Whitney แสดงใหเห็นวาอัตราเร็วการละลายจะแปรผันตรงกับพื้นที่ผิวของอนุภาคยา ถาอนุภาคมีขนาด เล็กลงจะทําใหพื้นที่ผิว (effective surface area) เพิ่มขึ้น ซึ่งก็จะทําใหอัตราเร็วการละลายเพิ่มขึ้นนั่นเอง กรณีของยาที่ละลายน้ําไดนอย การลดขนาดอนุภาคจะเพิ่มอัตราเร็วการละลายไดอยางมีนัยสําคัญ และทําใหคาชีวประสิทธิผลมากขึ้นตามไปดวย ตัวอยางของยาประเภท นี้ เชน nitrofurantoin, griseofulvin, chloramphenicol 1.3 รูพรุนของอนุภาค (porosity of solid particles) อัตราเร็วของการละลายจากพื้นที่ผิวภายในรูพรุนจะต่ํากวาอัตราเร็วจากพื้นที่ผิวภายนอก เพราะระยะทางสําหรับการแพรจะไกล กวาและนานกวา แตถารูพรุนมีขนาดเล็กกวาขนาดของโมเลกุลของตัวทําละลาย รูพรุนจะไมมผลตออัตราเร็วในการละลาย เนื่องจากตัวทํา ี ละลายจะไมสามารถผานเขาไปไดในรูพรุนนั้นได 1.4 สารพหุสัณฐาน (polymorphism) สารบางชนิดมีหลายสัณฐาน ซึ่งจะมีรูปผลึกแตกตางกันไปเปนผลใหเกิดความแตกตางของอัตราการละลาย ถาเลือกรูปผลึกที่ ละลายน้ําไดดีมาเตรียมตํารับก็จะไดตํารับที่ละลายเร็วและดูดซึมไดดี ผงยาที่เปนแบบ crystalline จะละลายไดชากวาแบบ amorphous เพราะจะตองใชพลังงานที่สูงกวาเพื่อทําลายแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล ผงยาที่ผานการทําใหแหงดวยวิธี freeze-dried จะเปนแบบ amorphous และมีลักษณะที่ฟเบาจึงสามารถละลายน้ําไดเร็วมาก ผงยาที่อยูในรูปแบบ hydrate มักจะละลายไดดีกวารูปแบบ anhydrous ู 2. สมบัติของตัวทําละลาย 2.1 ความหนืดของตัวทําละลาย ถาตัวทําละลายมีความหนืดสูง จะทําใหอัตราการแพรของตัวถูกละลายชาลง และทําใหอัตราการละลายลดลงตามไปดวย 2.2 สารลดแรงตึงผิว สารละลายที่มีสารลดแรงตึงผิวเปนองคประกอบ มีผลชวยเพิ่มอัตราการละลายอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีของผงยาที่ เปยกน้ํายาก เนื่องจากสารลดแรงตึงผิวจะลดแรงตึงผิวระหวางผิว (interfacial tension) ของอนุภาคผงยาและผิวของตัวทําละลาย ทําใหตัว ทําละลายสามารถเกาะติดหรือเปยกผิวของอนุภาคของแข็งดีขึ้น และตัวทําละลายสามารถแทรกซึมเขาสูผิวอนุภาคผงยางายขึ้น อัตราการ ละลายก็เพิ่มขึ้นดวย 2.3 ชนิดและจํานวนโมเลกุลของตัวทําละลายที่จับกับโมเลกุลของยาในรูปโซลเวต ถาตัวทําละลายเปนน้ําเรียกวา รูปไฮเดรต เชน ออกซีเฟนบิวทาโซนที่มีตัวทําละลายจับอยูในรูปโซลเวต จะมีการละลายแตกตางกัน ดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 อัตราการละลายของยาออกซีเฟนบิวทาโซนในรูปซอลเวตตางๆ Oxyphenbutazone ในรูปซอลเวตตางๆ อัตราการละลาย (มก./นาที ตร.ซม) Benzene solvate 21.05 + 0.02 Cyclohexane solvate 18.54 + 0.47 Anhydrous 14.91 + 0.47 Hemihydrate 17.01 + 0.78 Monohydrate 9.13 + 0.23 4
  • 5. 3. รูปแบบยาเตรียม 3.1 ยาเตรียมรูปแบบของแข็ง สําหรับยาเม็ดกระบวนการละลายจะขึ้นอยูกับการแตกตัว (disintergration) จนกลายเปนอนุภาคเล็กๆ ในตํารับยาเม็ดจะตองมี การเติมสารชวยยึดเกาะ (binding agent) เพื่อใหผงยามีแรงยึดเกาะ สามารถจับกันเปนเม็ดเมื่อไดรับแรงตอก เชน polyvinylpyrrolidone, sodium carboxymethylcellulose สารพวกนี้สามารถเพิ่มอัตราการละลายของตัวยาไดโดยกลไกที่ทําใหผงยาเปยกน้ําไดดีขึ้น สวนการใช สารเพิ่มปริมาณในยาเม็ด (diluent) เชน starch หรือ lactose ก็สามารถเพิ่มอัตราการละลายของยาที่ไมชอบน้ําไดเชนกัน เพราะสารเพิ่ม ปริมาณจะไปเพิ่มพื้นที่ผิว ทําใหยาสัมผัสกับตัวทําละลายไดมากขึ้น แตการใชสารหลอลื่น (lubricating agent) เชน stearic acid หรือ magnesium stearate จะลดอัตราการละลายของยา เพราะสารเหลานี้มีคุณสมบัตไมชอบน้ํา จึงไปทําใหตัวทําละลายสัมผัสกับยาไดนอยลง ิ 3.2 ยาน้ําแขวนตะกอนและอิมัลชั่น กรณีของยาน้ําแขวนตะกอน ขั้นตอนการละลายเปน rate-limiting step ของการดูดซึมยาในทางเดินอาหาร มีปจจัยสําคัญที่สงผล ตอการละลายของยาจากยาน้ําแขวนตะกอน เชน การตกตะกอนและจับกลุมกันของผงยา จะทําใหขนาดอนุภาคของยาใหญขึ้น สงผลให อัตราการละลายลดลง การเปลี่ยนรูปผลึกเมื่อเก็บยาน้ําแขวนตะกอนไวเปนเวลานาน อาจทําใหไดรูปผลึกที่มคุณสมบัติการละลายที่ ี แตกตางไปจากเดิมไดซึ่งมีแนวโนมที่จะละลายไดนอยลง ความหนืดของยาน้ําแขวนตะกอนและอิมัลชั่นจะมีผลตออัตราการละลาย เนื่องจากเมื่อความหนืดเพิ่มขึ้น สารจะเกิดการแพรได นอยลง หรือมีคา diffusion coefficient นอยลงนั่นเอง ยาน้ําแขวนตะกอนสําหรับฉีดเขากลามเนื้อหรือฉีดใตผวหนังบางชนิดจะมีความหนืด ิ สูง เพื่อที่เมื่อฉีดเขาไปแลวจะทําใหตัวยาละลายออกมาอยางชาๆและใหผลการรักษาตอเนื่องเปนเวลานาน 3.3 ยาเตรียมกึ่งแข็ง ยาเตรียมประเภทยาเหน็บ ครีม เจล ขี้ผึ้ง ยาพื้น (Base) ของในตํารับประเภทนี้มีทั้งชนิดที่ชอบน้ําและไมชอบน้ํา เพราะฉะนั้น การละลายของตัวยาจากตํารับจะขึ้นกับชนิดของยาพื้นดวย 4. สภาวะของรางกาย 4.1 Gastric emptying and Intestinal transit time สิ่งตางๆที่รับประทานเขาไปจะใชเวลาในการเคลื่อนที่ผานกระเพาะอาหารนาน 15 นาทีจนถึง 2 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับลักษณะของสิ่ง ที่รับประทาน และขึ้นกับการมีหรือไมมของอาหารที่อยูในกระเพาะ ซึ่งระยะเวลาดังกลาวจะมีผลตอการละลายของยาเตรียมรูปแบบ ี ของแข็ง เชน กรณีของตัวยาที่ละลายไดดีในสภาวะกรด ถาไดอยูในกระเพาะอาหารเปนเวลานานก็จะละลายไดเร็ว นอกจากนี้อาหารที่อยู ในกระเพาะจะมีผลตอความหนืด ซึ่งมีผลตออัตราการละลายได ยาสวนมากจะถูกดูดซึมไดดีที่ลําไสเล็กสวน duodenum และ jejunum เพราะฉะนั้นระยะเวลาที่ยาอยูในลําไสเล็กสวนนี้ก็จะมีผล ตอการละลายและปริมาณยาที่จะถูกดูดซึมดวย โดยปรกติแลวระยะเวลาที่วัตถุจะเคลื่อนที่ผานลําไสเล็กสวนนี้จะใชเวลา 1-4 ชั่วโมง 4.2 ความเปนกรดดางในทางเดินอาหาร ในทางเดินอาหารแตละตําแหนงจะมีคา pH ที่แตกตางกันไป ซึ่งจะมีผลตอการละลายของยาที่เปนกรดออนหรือดางออน ใน กระเพาะอาหารชวงที่ไมมีอาหารมีคาประมาณ 1.2 แตเมื่อรับประทานอาหารเขาไปจะเพิ่มเปน 3.5 หรือสูงกวาขึ้นกับชนิดและปริมาณ อาหาร ยาที่เปนกรดออนจะละลายไมดีในสภาวะกรด แตยาที่เปนดางออนจะแตกตัวและละลายไดดีในสภาวะกรด 5. ความเขมขนของตัวยาในสารละลาย ถาความเขมขนของตัวถูกละลายมีปริมาณต่ํา อัตราเร็วการละลายจะสูง แตถาความเขมขนตัวถูกละลายเพิ่มขึ้น จะมีผลทําให อัตราเร็วของการละลายลดต่ําลง ดังรูปที่ 4 5
  • 6. รูปที่ 4 ความสัมพันธระหวางอัตราการละลายและเปอรเซ็นตความเขมขนของตัวยา chlorpropamide urea ในสารละลาย 6. การคน แรงที่คนสารละลายจะชวยลดความหนาของฟลม (h) และยังชวยนําเอาตัวทําละลายใหมๆจาก bulk solution มาสัมผัสกับ diffusion layer ดังนั้นแรงที่ใชคนหรือเขยาสารละลายจึงมีผลอยางมากตออัตราเร็วของการละลาย 7. อุณหภูมิ การเพิ่มอุณหภูมิจะชวยเพิ่มคาการละลายของสารบางอยางโดยการดูดความรอนไปใช (positive heat) ซึ่งมีผลใหเพิ่มอัตราเร็ว ของการละลาย ในทางตรงขาม การลดอุณหภูมิอาจใชในการเพิ่มอัตราการละลายของสารบางชนิด โดยการคายความรอนออกมา (negative heat) 8. การใชคลื่นที่มความถี่สูง ี คลื่นเสียงความถี่สูงสามารถสั่นสะเทือนผงยา ทําใหอนุภาคแตกตัวไดงาย และยังทําใหโมเลกุลของตัวถูกละลายเคลื่อนที่ไดเร็ว สงผลใหอัตราเร็วการละลายเพิ่มขึ้น เครื่องสรางคลื่นเสียงความถี่สูงเรียกวาเครื่อง Ultra-sonicator การทดสอบการละลาย (Dissolution testing) ในเภสัชตํารับเลมตางๆจะระบุวิธีการทดสอบการละลายของเภสัชภัณฑเอาไว การทดสอบการละลายเปนวิธีการทดสอบแบบ in vitro เพื่อดูผลวาเมื่อรับประทานยาเขาสูรางกายแลว ยาเตรียมนั้นนาจะมีการละลายและดูดซึมเขาสูรางกายไดดีมากนอยเพียงใด เปน วิธีการที่สะดวกและประหยัดกวาการทดสอบในรางกายมนุษยแบบ in vivo (การทดสอบภายในรางกาย) การทดสอบการละลายจะเปน หัวขอหนึ่งในการควบคุมคุณภาพเภสัชภัณฑในรูปแบบของแข็ง เชน ยาเม็ด ยาเม็ดเคลือบ ยาแคปซูล ยาเหน็บ รวมไปถึงยาน้ําแขวน ตะกอน และระบบนําสงยาแบบตางๆดวย หลักการทดสอบการละลาย คือ นํายาเตรียมไปละลายในของเหลวที่เตรียมขึ้นเพื่อจําลองแบบ ของเหลวในทางเดินอาหาร (dissolution medium) และทําในสภาวะที่จําลองแบบใหคลายกับภายในทางเดินอาหาร รูปที่ 5 เครื่องมือทดสอบการละลาย (Dissolution apparatus) 6
  • 7. เครื่องมือและวิธีการทดสอบการละลาย Apparatus 1 (Rotating basket) เปนชนิดที่ใชมากในเภสัชตํารับเพื่อวัดอัตราการละลายของยาเม็ด ยาแคปซูลหรือยาเหน็บที่มความหนา แนนต่ํา ซึ่งจะไมจมใน ี dissolution medium รวมไปถึงยาที่ละลายไดชาดวย โดยจะบรรจุยาที่จะทดสอบ การละลายไวในตะกราทรงกระบอกทําจากโลหะปลอด สนิมที่ตอกับแกนหมุน มีความทนทานตอสารละลายกรดที่ใชระหวางการทดสอบ ซึ่งจุมอยูในภาชนะกนกลมหรือกนแบนที่บรรจุ dissolution medium ตะกราจะหมุน ดวยความเร็วรอบคงที่ อยางไรก็ตามสภาวะที่ใชในการทดสอบนี้อาจแตกตางกันไปสําหรับยาแตละตัว ใหยดตาม monograph ของยาตัวนั้นๆเปนสําคัญ ตัวอยาง เชน 0.1 M HCl ปริมาตร 900 ml ที่ควบคุมอุณหภูมไวที่ 37°C ตะกราหมุน ึ ิ ดวยความเร็ว 100 รอบ/นาที ในระหวางการทดสอบจะมีการเก็บตัวอยางสารละลาย ณ เวลาที่ กําหนด กรองแลวนําไปวิเคราะหหาปริมาณ ตัวยาที่ละลายออกมา Apparatus 2 (Paddle) มีลกษณะคลายกับ Apparatus 1 ยกเวนสวนของตะกราจะเปลี่ยนเปนใบพาย ใบพายจะถูกเคลือบดวยวัสดุที่เฉื่อยตอปฏิกิรยา ั ิ เชน Teflon และจะไดรับออกแบบใหมรูปทรงที่เหมาะสม เพื่อให dissolution medium ที่ถูกกวนไหลอยางเปนระเบียบ ในการทดสอบยา ี เม็ดใบพายจะหมุนดวยความเร็ว 50 รอบ/นาที สวนการทดสอบยาน้ําแขวนตะกอนจะหมุนดวยความเร็ว 25 รอบ/นาที ในการทดสอบดวย Apparatus 2 ยาที่จะทดสอบจะตองจมอยูที่กนของภาชนะที่บรรจุ dissolution medium เพื่อผลการทดสอบที่ถูกตอง แตกรณีที่ยาไมจมน้ํา เชน ยาแคปซูล จะตองใชเสนลวด platinum ถวงใหยาจม แลวเก็บตัวอยางสารละลาย ณ เวลาที่กาหนด กรอง และวิเคราะหปริมาณสาร ํ Apparatus 3 (Reciprocating cylinder) เครื่องมือประกอบดวยภาชนะแกวทรงกระบอกที่ใชบรรจุ dissolution medium มีความจุ 100-300 ml และภาชนะทรงกระบอกที่ เคลื่อนที่ข้นลงไดตามแนวดิ่งสําหรับบรรจุตัวอยางยาที่จะทดสอบ ึ เครื่องมือชนิดนี้นิยมใชทดสอบตํารับยาออกฤทธิ์นานที่เปนแบบ microparticle Apparatus 4 (Flow-through cell) เครื่องมือประกอบดวย flow cell ที่เปนที่บรรจุตัวอยางยา จะมีการปลอย dissolution medium ใหไหลเขาผานตัวอยางยาที่อยูใน flow cell ดวยอัตราเร็ว 4 – 16 ml/นาที เครื่องมือชนิดนี้ใชสําหรับทดสอบตํารับยาออกฤทธิ์นานหรือยาที่มีคาการละลายต่ํามาก แลวเก็บตัวอยางสารละลายที่ผานออกมา ณ เวลาที่กําหนด กรอง และวิเคราะหหาปริมาณสาร Apparatus 5 (Paddle over disk) เครื่องมือชนิดนี้ใชทดสอบการละลายของยาเตรียมที่ใชภายนอกรางกาย เชน ครีม ยาขี้ผึ้ง รวมไปถึงระบบนําสงยาทางผิวหนังที่ เปนแผนแปะ โดยตัวอยางยาที่จะทําการทดสอบจะถูกยึดติดอยูกับตัวจับไวที่กนภาชนะที่บรรจุ dissolution medium ซึ่งยาจะสัมผัสกับ dissolution medium เพียงดานเดียว และมีใบพายเหมือนกับ Apparatus 2 มีการควบคุมอุณหภูมิของ dissolution medium ไวที่ 32°C และจะตองกําหนดใหพื้นที่ผิวของยาเทากันทุกครั้ง แลวจึงเก็บตัวอยาง สารละลาย ณ เวลาที่กําหนด กรอง และวิเคราะหหาปริมาณสาร ดังนั้นในสภาวะการศึกษานี้สามารถวัดปริมาณยา ที่ละลายตอหนึ่งหนวยเวลา และปริมาณยาที่ละลายออกมาตอหนึ่งหนวยพื้นที่ผิวได Apparatus 6 (Rotating cylinder) ใชสําหรับทดสอบการละลายของระบบนําสงยาทางผิวหนัง เปนการดัดแปลงมาจาก Apparatus 1 โดยจะเปลี่ยนจากตะกราเปน โลหะทรงกระบอกที่ใชเปนที่ยึดตัวอยางยาที่จะทดสอบ Apparatus 7 (Reciprocating holder) ประกอบดวยแกนที่เอาไวยึดตัวอยางยาที่จะทําการทดสอบ แกนยึดตัวอยางนี้จะจุมอยูในภาชนะบรรจุ dissolution medium ปริมาตรตั้งแต 20 – 275 ml และจะเคลื่อนที่ขึ้นลงดวยความถี่ 30 ครั้ง/นาที ใชทดสอบระบบนําสงยาทางผิวหนัง 7
  • 8. รูปที่ 6 เครื่องมือทดสอบการละลายแบบตางๆตาม United State Pharmacopoeia ความสําคัญของการทดสอบการละลาย การควบคุมคุณภาพ ในเภสัชตํารับตางๆจะกําหนดใหการทดสอบการละลายเปนสวนหนึ่งในการควบคุมคุณภาพของเภสัชภัณฑ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในยาเตรียมที่เปนของแข็ง โดยใน monograph ของยาแตละชนิดจะมีการกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการทดสอบการละลายของยา ชนิดนั้นเอาไว ไดแก ชนิดของเครื่องมือ, ชนิดและปริมาณของ dissolution medium, อัตราเร็วในการหมุนของ basket หรือ paddle, วิธการวิเคราะหปริมาณยาที่ละลาย ี การละลาย การดูดซึม และชีวประสิทธิผล เมื่อยาเตรียมเขาไปถึงบริเวณที่จะเกิดการดูดซึม ยาเตรียมจะตองปลดปลอยตัวยาสําคัญออกมา จากนั้นรางกายจึงจะดูดซึมยา เขาสูรางกายได ในกรณีของยาเตรียมชนิดรับประทาน เชน ยาเม็ด ขั้นตอนแรกยาเม็ดที่เปนของแข็งจะตองละลายจนอยูในรูปสารละลาย กอน และขั้นตอนตอมายาที่อยูในรูปแบบสารละลายจะถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารเขาสูระบบหมุนเวียนเลือด เพราะฉะนั้นความเร็วที่ยา จะเขาสูกระแสเลือดจะถูกกําหนดโดยขั้นตอนที่ชากวาขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งที่กลาวมา ซึ่งเรียกวา Rate-limiting step สําหรับยาที่มีคุณสมบัติชอบน้ํา (hydrophilic) เชน ยาที่เปนเกลือที่ละลายน้ําไดดี การละลายน้ําของยาประเภทนี้จะเกิดขึ้นได อยางรวดเร็ว เพราะฉะนั้นขั้นตอนที่เปน rate-limiting step คือขั้นตอนการดูดซึม บางกรณีสารละลายของตัวยาที่ยงไมถูกดูดซึมอาจถูก ั กําจัดออกไปจากบริเวณที่จะถูกดูดซึมกอนที่ยาจะถูกดูดซึมก็ได เพราะการดูดซึมเกิดขึ้นไดชา สวนยาที่มีคุณสมบัติไมชอบน้ํา (hydrophobic) ขั้นตอนการละลายจะเปน rate-limiting step เพราะฉะนั้นคาชีวประสิทธิผล (bioavailability) หรือปริมาณยาที่ถูกดูดซึมเขา สูรางกายของยาประเภทนี้จะถูกกําหนดโดยอัตราเร็วในการละลาย ซึ่งการปรับปรุงอัตราเร็วในการละลายของยาสามารถทําไดโดยการ เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของตัวยาหรือสวนประกอบในตํารับยา เพื่อใหตํารับที่ไดมีคาชีวประสิทธิผลสูงที่สุด บรรณานุกรม ดวงดาว ฉันทศาสตร (2551). สารละลายและหลักการละลาย. บริษัท ประชาชน จํากัด: กรุงเทพฯ The Official Compendia of Standards U.S.Pharmacopeia 24 and National Formulary 19 (2000). The United States Pharmacopeia Convention, Inc.: Washington, D.C. 8