SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
Interfacial phenomena
      อ.นิชธิมา แพงนคร
Outline

1.   Interfacial Tension, Surface tension

2.   Spreading coefficient, Contact angle

3.   Adsorption Isotherm


4.   Pharmaceutical Aplication
Interfacial

ผิวประจัน (Interfacial)
รอยตอระหวางพื้นผิวของสสารตางชนิด ทั้งในสภาวะที่มีเฟสเหมือนหรือแตกตาง
   กัน
 หากผิวของสสารเชื่อมตอกับอากาศ พื้นผิวประจันนั้นจะถูกเรียกวา พื้นผิว
   (surface)
ประเภทของผิวประจัน

   Phase             Interfacial Tension       Type of Interface
  Gas – gas                   -
 Gas – liquid                γLV           Liquid surface
 Gas – liquid                γSV           Solid surface
                                           Liquid – liquid Interface
Liquid - liquid             γLL
                                           (emulsion)
                                           Liquid – solid Interface
Liquid - Solid              γLS
                                           (suspension)
                                           Solid- solid Interface
 Solid - Solid              γSS
                                           (powder particles)
Liquid-Gas
and
Liquid-Liquid Interface
Interfacial Tension

แรงตึงผิว
คือแรงที่เกิดขึ้นบริเวณที่ผิวของของเหลวสัมผัสกับของเหลวอื่นหรือกับ
  ผิวของแข็งโดยมีพลังงานเพียงพอตอการยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล ซึ่ง
  มีขนาดสัมพัทธกับแรงยึดติดและแรงเกาะติด
    Cohesion เปนแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลชนิดเดียวกัน
    Adhesion เปนแรงดงดดระหวางโมเลกลตางชนดกน
                      ึ ู             ุ       ิ ั
แรงตึงผิวจะเปนแรงที่กระทําตอโมเลกุลของของเหลวในแนวขนานไป
 กับพื้นผิวของของเหลว
γLV =   fb
        2L
Surface Tension   Interfacial Tension
Droplet

การเกิดหยดของเหลว อิทธิพลของแรงตึงผิวจะพยายามปรับรูปรางให
  เม็ดของของเหลวมีลักษณะเปนรูปทรงกลม ทําใหแรงดันในหยด
  ของเหลวมากขึ้น เพื่อใหเกิดแรงตานแรงตึงผิว เปนผลใหหยดของเหลว
  คงสภาพอยูไดอยางสมดุล
แรงดันภายในหยดของเหลว       = Pπr 2
แรงตึงผิว                   = 2πrγLV

จากสมดุลของแรง Pπr2     =       2πrγLV

ความดันภายในหยดของเหลว
                  P     =     2γLV / r
Capillarity

การไหลขึ้นของของเหลวในหลอดแคบ
ที่ระดับสูงสุดของของเหลวในหลอด
 จะมีแรงดึงขึนของของเหลวจากผิวเทากับแรงดึงลงเนื่องจาก
              ้
 แรงโนมถวงของโลก
                                       h = ความสูง
                                       ρ= ความหนาแนน,  
   h =       2γLV cos θ                g = อัตราเรงโนมถวงของโลก
                                       r = รัศมีของหลอด
               ρrg                     θ = มุมที่ของเหลวทํากับหลอดแกว
                                       ของเหลวสวนมาก θ ~ 0
การวัดคาแรงตึงผว
                                            ิ

DuNoüy ring

Wtotal = Wring + 2 (2πr) γ
   25% error



γ=     fr . β
        2πr
   β = Correction factor
Wilhelmy Plate


γ = w total – (w plate – b)
       2 L cos θ



   Plate : platinum,glass
Quiz
กรอบที่มีดานที่เลื่อนไดยาว 5 cm ตองใชมวล 5 g
 เพื่อดึงใหฟลมขาด จงหาSurface tension ของฟลม ??


        0.5 g × 981 cm/sec2
    γ =                     = 49 dynes/cm
              2 × 5 cm
Spreading coefficient

คาสัมประสิทธิ์การแผขยาย
เมื่อเติมของเหลวชนิดหนึ่งบนของเหลวอีกชนิดหนึ่ง ของเหลวจะแผ
   กระจายเปนฟลมหรือเปนหยดขึ้นกับคา Spreading coefficient (S)
Spreading coefficient เปนผลตางของพลงงาน 2 คา
                                  ั       
    Work of adhesion (Wa)
    Work of cohesion (Wc)
Work of adhesion
Work of adhesion (Wa)
งานที่ใช แยกของเหลว 2 วัตภาคออก
  จากกัน


Wa = γL + γS - γLS
Work of cohesion
Work of cohesion (Wc)
งานที่ใชแยกของเหลวชนิดเดียวกันออก
  จากกัน

Wc = 2γL
S = W a- W c
 S = γS - γLS - γL
หรือ = γS – ( γLS + γL )



  สารจะแผกระจายดี เมื่อ Wa > Wc หรือ S เปน +
  สารจะรวมกลุมเปนหยด เมื่อ Wa < Wc หรือ S เปน -
Quiz 2
Surface tension (dyne/cm) ของน้า = 72.8, benzene = 28.9 และ
                                  ํ
  interfacial tension ระหวางน้ํากับ benzene = 35.0
 จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อหยด benzene ลงในน้ํา ?
Spreading
เมื่อหยด benzene ลงในน้ํา
               S = γ S − (γ L + γ LS )

    Sub-layer คือ น้ํา ; 72.8
    Spreading คือ benzene ; 28.9
    S = 72.8 – (28.9 + 35.0) = 8.9 dynes/cm
การดูดซับบนระหวางชั้นของเหลว

ตวถกละลาย  solute
 ั ู                  ถา solute ชอบละลายใน solvent
ตวทาลายsolvent
  ั ํ                    Solute จะไปอยูใน solvent
                         Surface tension เพิ่ม
                         เรียกวา negative adsorption
                         การละลายของ NaCl ในน้ํา
การดูดซับบนระหวางชั้นของเหลว

ถา solute ชอบอยูที่ผิวหนาของ solvent
  
    Solute จะไปเรียงตัวแทนที่โมเลกุลที่ผิวหนา solvent
    Surface tension ลดลง
    เรียกวา positive adsorption
    การละลายของสารลดแรงตึงผิว
Surface active agent

สารออกฤทธิตอพื้นผิว , สารลดแรงตึงผิว ,surfactant
             ์
โมกุลสารนี้จะมีลักษณะ Amphiphile
   Hydrophilic มีขั้วหรือสวนที่ชอบน้ํา
   Hydrophobic ไมมีขั้วหรือสวนที่ไมชอบน้ํา
ชนดของ surfactant
        ิ

แบงตามคา Hydrophilic-Lipophilic
            
 Balance, HLB
   HLB สูง - โมเลกุลมีสวนที่ชอบ
    น้ํามาก
   HLB ต่ํา - โมเลกุลมีสวนที่ชอบ
    น้ํานอย
ชนดของ surfactant
                      ิ

    แบงตามคุณสมบัติทางเคมี
1.   สารลดแรงตึงผิวที่มีประจุบวก (Cationic surfactant)
2.   สารลดแรงตึงผิวที่มีประจุลบ (Anionic surfactant)
3.   สารลดแรงตึงผิวที่ไมมีประจุ (Nonionic surfactant)
4.   สารลดแรงตึงผิวที่มีทั้งประจุบวกและประจุลบ (Zwitterionic
     surfactant)
Anionic surfactant    Nonionic surfactant




                      Amphoteric surfactant


Cationic surfactant
การใชประโยชนของสารลดแรงตึงผิว

ในทางเภสัชกรรม ผลิตยาน้ํา ยาอิมัลชัน ยาเม็ด
สวนประกอบในผลิตภัณฑทําความสะอาด เชน ผงซักฟอก สบู ยาสีฟน
สวนประกอบในเครื่องสําอาง
อุตสาหกรรม เชน กระบวนการยอมผา อาหาร
การแกไขปญหาสิ่งแวดลอม เชน บําบัดน้ําเสีย
Solid-Gas
and
Solid-Liquid Interface
Contact angle

คามุมสัมผัส
มุมระหวางเสนสัมผัสของหยดของเหลวทีไมเคลื่อนที่บนพื้นผิวโดย
                                              ่
   จุดเริ่มตนอยู ณ ตําแหนงที่เปนจุดสัมผัสของทังอากาศ ของเหลวและ
                                                  ้
   ของแข็ง
Young’s equation
γSV = γSL + γLV cosθ
Wettability of Powders

ความสามารถในการเปยกของผงยา
Contact angles of pharmaceutical powders
 Contact angle = 0 สารเปยกอยางสมบูรณ
 Contact angle = 0 – 90 สารเปยกบางสวน
 Contact angle > 90 สารไมเปยก
Sessile drop
Wettability test
Adsorption

การดูดซับ
ลักษณะของโมเลกุลจากสภาวะปกติไปสูสภาวะที่ยึดติดบนพื้นผิวของ
  สารอีกชนิดหนึ่ง
    สารถูกดูดซับ(adsorbate)
    สารดูดซับ(adsorbent)
ประเภทของการดูดซับ
            ลักษณะจําเพาะ                      การดูดซับทางกายภาพ                        การดูดซับทางเคมี

พันธะระหวาง absorbent -adsorbate      Vander Waals Forces                  Covalent หรือ ionic bond

Energy of adsorption                   20-40 KJ / mole                      40-400 KJ / mole

ความจําเพาะเจาะจงระหวาง absorbent -   ไมจําเพาะ                           มีความจําเพาะ
adsorbate
ผลของอุณหภูมิ                          เมื่ออุณหภูมเิ พิ่มการดูดซับนอยลง เมื่ออุณหภูมเิ พิ่มอัตราเร็วการดูดซับเพิ่มขึ้น


การผนกลับของกระบวนการดูดซับ
    ั                                  ผันกลับได                           ไมผันกลับ

อัตราเร็วของการดูดซับ                  คงที่                                เพิมตามอุณหภูมิ
                                                                               ่

จํานวนชนของการดดซับ
       ั้      ู                       เกิด monolayer ที่ความดันต่ํา เมื่อ เกิด monolayer เทานั้น
                                       ความดันเพิ่มเกิด multilayerได
การดูดซับบนผิวของแข็ง และกาซ
การดูดซับบนผิวของแข็ง และกาซ เกิดขึนเนื่องจากการไมสมดุลของ
                                        ้
 พันธะยึดเหนียว ระหวางอะตอมหรือโมเลกุล
                ่
ที่สัมผัสกับอากาศไมมีพันธะ จึงทําใหเกิดแรงดึงดูดโมเลกุลของสาร
 อื่นๆที่อยูใกลเขามาภายในเนื้อของสาร ในทิศทางที่ตั้งฉากกับพื้นผิว
การดูดซับทางกายภาพ
ปจจัยที่เกี่ยวของกับการดูดซับกาซบนของแข็ง

การเกิด interaction ระหวาง adsorbent และ adsorbate
พื้นที่ผิว
อุณหภูมิ - ขึ้นกับวาดูดหรือคายพลังงาน
ความดันของกาซ - ความดันสูง ดูดซับมาก
  Adsorption isotherm
Adsorption isotherm
 ความสัมพั นธ ระหวางปริมาณกาซทีถูก ดูดซึ ม บนของแข็ ง
                                     ่
  (X/m) และความดัน ณ อุณหภูมิคงที่คาหนึ่ง
Freundlich isotherm

                 X
                   = Kp1/n
                 m

 X = น้ําหนักของกาซที่ถูกดูดซับ
 m = น้ําหนักของของแข็ง
 p = ความดันของกาซ
 K, n = คาคงที่
Langmuir isotherm
                 P    1     P
                   =     +
                 Y   bYm   Ym

 P = ความดัน
 Ym = ปริมาณกาซที่เกดเปน monolayer
                        ิ 
 b = คาคงที่
 y = ปริมาณกาซที่ถูกดูดซับ
BET isotherm

       P        1    b −1 P
             =     +     ⋅
 y ( P0 − P)   Ymb   Ymb P0


 ใชในการอธิบายการดูดซับแบบ multilayer
การดูดซับในระบบของแข็ง-ของเหลว
ประสิทธิภาพของกระบวนการดูดซับในระบบของแข็ง-ของเหลว

1. ความปนปวน
2. ขนาดและพื้นที่ผิวของวัสดุดูดซับ
3. ความสามารถในการละลายน้าของสารที่ถกดูดซับไวที่ผิวของวัสดุดูดซับ
                               ํ           ู
4. ขนาดของสารทีถกดูดซับ
                  ่ ู
5. คาความเปนกรดเปนดาง
6. อุณหภูมิของน้ํา มีผลตอความเร็วของกระบวนการดูดซับ และความสามารถ
   ของวัสดุดูดซับในการดูดซับมลสารที่มีอยูในน้ําหรือกาซ
7. ชนิดของวัสดุดูดซับ
                                                              50
ประโยชนของตัวดูดซับ

เปนตัวยาสําคัญ เชน Kaolin, Activated charcoal
เปนสารชวยในตํารับ เชน การเตรียมยาน้ําแขวนตะกอน
อื่นๆ เชน สารฟอกสี สารดูดกลิ่น สารดูดความชื้น
Activated charcoal
ถานกัมมันตมรูเล็กๆ จํานวนมาก จึงมีพนทีผิวมากกวาสารชนิดอื่นที่มี
                ี                     ื้ ่
 น้ําหนักเทากัน




  http://www.cee.vt.edu/program_areas/environmental/teach/wtprimer/carbon/sketcarb.html#C
Slide interfacial phenomena pdf

More Related Content

What's hot

Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]kaoijai
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลChanthawan Suwanhitathorn
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
Extraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from CoffeeExtraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from CoffeeBELL N JOYE
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นadriamycin
 

What's hot (20)

Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
Extraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from CoffeeExtraction of Caffeine from Coffee
Extraction of Caffeine from Coffee
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
ตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็น
 

Viewers also liked

Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555adriamycin
 
น้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนน้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนadriamycin
 
การบำบัดของเสียในอุตสาหกรรม 31 03 59
การบำบัดของเสียในอุตสาหกรรม 31 03 59การบำบัดของเสียในอุตสาหกรรม 31 03 59
การบำบัดของเสียในอุตสาหกรรม 31 03 59BPpiangruetai
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
แนวทางการทดสอบความคงสภาพของยาและผลิตภัณฑ์ยา
แนวทางการทดสอบความคงสภาพของยาและผลิตภัณฑ์ยาแนวทางการทดสอบความคงสภาพของยาและผลิตภัณฑ์ยา
แนวทางการทดสอบความคงสภาพของยาและผลิตภัณฑ์ยาadriamycin
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์adriamycin
 
Introduction to Polymer Chemistry
Introduction to Polymer ChemistryIntroduction to Polymer Chemistry
Introduction to Polymer ChemistryIndra Yudhipratama
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
Method of Determination of CMC
Method of Determination of CMCMethod of Determination of CMC
Method of Determination of CMCMadiha Mushtaque
 
Surface chemistry ppt CLASS 12 CBSE CHAPTER 5
Surface chemistry ppt CLASS 12 CBSE CHAPTER 5Surface chemistry ppt CLASS 12 CBSE CHAPTER 5
Surface chemistry ppt CLASS 12 CBSE CHAPTER 5ritik
 
Chapter 5 surface chemistry
Chapter 5 surface chemistryChapter 5 surface chemistry
Chapter 5 surface chemistrysuresh gdvm
 

Viewers also liked (20)

Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555
 
น้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนน้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอน
 
Stability
StabilityStability
Stability
 
การบำบัดของเสียในอุตสาหกรรม 31 03 59
การบำบัดของเสียในอุตสาหกรรม 31 03 59การบำบัดของเสียในอุตสาหกรรม 31 03 59
การบำบัดของเสียในอุตสาหกรรม 31 03 59
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
แนวทางการทดสอบความคงสภาพของยาและผลิตภัณฑ์ยา
แนวทางการทดสอบความคงสภาพของยาและผลิตภัณฑ์ยาแนวทางการทดสอบความคงสภาพของยาและผลิตภัณฑ์ยา
แนวทางการทดสอบความคงสภาพของยาและผลิตภัณฑ์ยา
 
กฎของสโตกส์
กฎของสโตกส์กฎของสโตกส์
กฎของสโตกส์
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
Surface chemistry
Surface chemistrySurface chemistry
Surface chemistry
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
 
Surface and interfacial tension
Surface and interfacial tensionSurface and interfacial tension
Surface and interfacial tension
 
Interface
InterfaceInterface
Interface
 
Introduction to Polymer Chemistry
Introduction to Polymer ChemistryIntroduction to Polymer Chemistry
Introduction to Polymer Chemistry
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
Method of Determination of CMC
Method of Determination of CMCMethod of Determination of CMC
Method of Determination of CMC
 
Surface chemistry ppt CLASS 12 CBSE CHAPTER 5
Surface chemistry ppt CLASS 12 CBSE CHAPTER 5Surface chemistry ppt CLASS 12 CBSE CHAPTER 5
Surface chemistry ppt CLASS 12 CBSE CHAPTER 5
 
Adsorption
AdsorptionAdsorption
Adsorption
 
Chapter 5 surface chemistry
Chapter 5 surface chemistryChapter 5 surface chemistry
Chapter 5 surface chemistry
 
Adsorption
AdsorptionAdsorption
Adsorption
 
Adsorption presentation
Adsorption  presentationAdsorption  presentation
Adsorption presentation
 

Similar to Slide interfacial phenomena pdf

Similar to Slide interfacial phenomena pdf (8)

Sc1362
Sc1362Sc1362
Sc1362
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
น้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวน้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
ใบความรู้ 3
ใบความรู้ 3ใบความรู้ 3
ใบความรู้ 3
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 

More from adriamycin

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
Complexation2555
Complexation2555Complexation2555
Complexation2555adriamycin
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555adriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matteradriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matteradriamycin
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage formadriamycin
 
ปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกadriamycin
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าadriamycin
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกadriamycin
 
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายสเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายadriamycin
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวadriamycin
 
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำการทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำadriamycin
 
คะแนน รุ่น11
คะแนน รุ่น11คะแนน รุ่น11
คะแนน รุ่น11adriamycin
 
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาคคะแนนสอบกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาคadriamycin
 

More from adriamycin (19)

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
Complexation2555
Complexation2555Complexation2555
Complexation2555
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
ปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตก
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
 
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายสเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
 
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำการทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
 
คะแนน รุ่น11
คะแนน รุ่น11คะแนน รุ่น11
คะแนน รุ่น11
 
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาคคะแนนสอบกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาค
 

Slide interfacial phenomena pdf