SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
นางสาวกานต์ชนิด นิยมลาภ เลขที่ 18 รหัส 580162107
โรงเรียนเกตุพิชัยวิทยา สระบุรี
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
บรรยากาศในชั้นเรียนมีส่วนสาคัญในการส่งเสริมความสนใจใคร่รู้ใคร่เรียน
ให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนที่มีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเห็น
ใจ และความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกันและกันย่อมเป็นแรงจูงใจภายนอกที่กระตุ้นให้
ผู้เรียนรักการเรียน รักการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน และช่วยปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรม ความประพฤติอันดีงามให้แก่นักเรียน นอกจากนี้การมีห้องเรียนที่มี
บรรยากาศแจ่มใส สะอาด สว่าง กว้างขวางพอเหมาะ มีโต๊ะเก้าอี้ที่เป็นระเบียบ
เรียบร้อย มีมุมวิชาการส่งเสริมความรู้ มีการตกแต่งห้องให้สดใส ก็เป็นอีกสิ่ง
หนึ่งที่ส่งผลทาให้ผู้เรียนพอใจมาโรงเรียน เข้าห้องเรียนและพร้อมที่จะมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้น ผู้เป็นครูจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ ประเภทของบรรยากาศ หลักการจัดบรรยากาศ
ในชั้นเรียนและการจัดการเรียนรู้อย่างมีความสุข เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีลักษณะ
ตามที่หลักสูตรได้กาหนดไว้
ความสาคัญของการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น ที่ครูให้ความเอื้ออาทรต่อนักเรียน ที่นักเรียน
กับนักเรียนมีความสัมพันธ์ฉันท์มิตรต่อกันที่มีระเบียบ มีความสะอาด
เหล่านี้เป็นบรรยากาศที่นักเรียนต้องการ ทาให้นักเรียนมีความสุขที่ได้มา
โรงเรียนและในการเรียนร่วมกับเพื่อนๆ ถ้าครูผู้สอนสามารถสร้าง
ความรู้สึกนี้ให้เกิดขึ้นต่อนักเรียนได้ก็นับว่าครูได้ทาหน้าที่ในการพัฒนา
เยาว์ชนของประเทศชาติให้เติบโตขึ้นอย่างสมบรูณ์ทั้งทางด้าน
สติปัญญา ร่างกาย อารมณ์ และสังคม โดยแท้จริง ดังนั้น การสร้าง
บรรยากาศในชั้นเรียนจึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง ซึ่งประมวลได้ดังนี้
1.ช่วยส่งเสริมให้การเรียนการสอนดาเนินไปอย่างราบรื่น
2.ช่วยสร้างเสริมลักษณะนิสัยที่ดีงามและความมีระเบียบวินัยให้แก่ผู้เรียน
3.ช่วยส่งเสริมสุขภาพที่ดีให้แก่ผู้เรียน
4.ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ และสร้างความสนใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น
5.ช่วยส่งเสริมการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
6.ช่วยสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนและการมาโรงเรียน เพราะในชั้นเรียนมีครูที่
เข้าใจนักเรียน ให้ความเมตตาเอื้ออารีต่อนักเรียน และนักเรียนมีความสัมพันธ์
อันดีต่อกัน
นางสาวปัทมา บุญยืน เลขที่ 10 รหัส 580162099
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนอาเภอเฉลิมพระเกียรติ
บรรยากาศที่พึงปรารถนาในชั้นเรียน
จัดแบ่งได้6 ลักษณะ สรุปได้ดังนี้
1.บรรยากาศที่ท้าทาย (Challenge)
2.บรรยากาศที่มีอิสระ (Freedom)
3.บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ (Respect)
4.บรรยากาศที่มีความอบอุ่น (Warmth)
5.บรรยากาศแห่งการควบคุม (Control)
6.บรรยากาศแห่งความสาเร็จ (Success)
ประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียน
บรรยากาศในชั้นเรียนต้องมีลักษณะทางกายภาพที่อานวยความสะดวกต่อ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สร้างความสนใจใฝ่รู้และศรัทธาต่อการเรียน
นอกจากนี้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มนักเรียนและระหว่างครูกับนักเรียน
ความรักและศรัทธาที่ครูและนักเรียนมีต่อกัน การเรียนที่รื่นรมย์ปราศจาก
ความกลัวและวิตกกังวล สิ่งเหล่านี้จะช่วยสร้างบรรยากาศการเรียนได้ดี
ดังนั้นจึงสามารถแบ่งประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียนได้2 ประเภทคือ
1.บรรยากาศทางกายภาพ
2.บรรยากาศทางจิตวิทยา
บรรยากาศทั้ง 2 ประเภทนี้ มีส่วนส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งสิ้น
นางสาวปวีณ์สุดา ศรีสงคราม เลขที่ 26 รหัส 580162115
โรงเรียนน้าริดวิทยา
การจัดบรรยากาศทางด้านกายภาพ
การจัดบรรยากาศทางด้านกายภาพ เป็นการจัดวัสดุอุปกรณ์สิ่งอานวยความ
สะดวกต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน รวมตลอดไปถึงสิ่งต่าง ๆ ที่เสริม
ความรู้ เช่น ป้ายนิเทศ มุมวิชาการ ชั้นวางหนังสือ โต๊ะวางสื่อการสอน ฯลฯ
การจัดบรรยากาศทางด้ายกายภาพ ได้แก่ การจัดสิ่งต่อไปนี้
1.การจัดโต๊ะเรียนและเก้าอี้ของนักเรียน
2.การจัดโต๊ะครู
3 การจัดป้ายนิเทศ
4. การจัดสภาพห้องเรียน ต้องให้ถูกสุขลักษณะ
5. การจัดมุมต่าง ๆ ในห้องเรียน
การจัดบรรยากาศทางด้านจิตวิทยา
การจัดบรรยากาศทางด้านจิตวิทยาหรือทางด้านจิตใจ จะช่วยสร้าง
ความรู้สึกให้นักเรียนเกิดความสบายใจในการเรียน ปราศจากความกลัวและ
วิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยความสุข นักเรียนจะเกิดความรู้เช่นนี้ ขึ้นอยู่
กับ ครู เป็นสาคัญ ในข้อเหล่านี้
1.บุคลิกภาพ
2.พฤติกรรมการสอน
3.เทคนิคการปกครองชั้นเรียน
4.ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน
• กล่าวโดยสรุป การจัดบรรยากาศทางด้านจิตวิทยา มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียน
เกิดความรู้สึกที่ดีต่อการเรียนการสอนและเกิดความศรัทธาในครูผู้สอน
ดังนั้น ครูผู้สอนจึงควรตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างบรรยากาศ
ทางจิตวิทยา โดยปรับบุคลิกภาพความเป็นครูให้เหมาะสมปรับ
พฤติกรรมการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี มีเทคนิคในการปกครอง
ชั้นเรียน และสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
ว่าที่ร.ต.พงษ์พัฒน์ เกตุทิม เลขที่ 25 รหัส 580162114
โรงเรียนเทศบาลท่าอิฐ
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่ คือ ช่วงอายุ ๒๐ – ๖๐ ในช่วงต้นของวัยจะมีพัฒนาการทางด้าน
ร่างกายอย่างเต็มที่แต่ในช่วงท้ายของวัย หรือที่เรียกว่า วัยทอง ร่างกาย จะ
เริ่มเสื่อมสภาพลง ในวัยผู้ใหญ่ จะมีกระบวนการคิดที่ซับซ้อนมากขึ้น เริ่ม
รู้จักคิดไตร่ตรองมากขึ้น คนในวัยนี้มีบทบาทหน้าที่ของพ่อแม่ ทาให้มี
ความรับผิดชอบมากขึ้นและเมื่อถึงช่วงท้ายของวัย อาจกังวลกับความไม่
เที่ยงแท้ของชีวิตได้จนทาให้เกิดความแปรปรวนทางอารมณ์
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
1.พัฒนาการทางร่างกาย บุคคลในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นมีการพัฒนาทาง
ร่างกายอย่างเต็มที่ทั้งเพศหญิงและเพศชาย ร่างกายสมบูรณ์ มีการพัฒนา
ความสูงมาจากวัยรุ่นและจะมีความสูงที่สุดในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นนี้ รวมทั้ง
กล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อไขมัน มีการพัฒนาอย่างเต็มที่
2.พัฒนาการด้านอารมณ์ วัยผู้ใหญ่จะมีการควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น มีความ
มั่นคงทางจิตใจดีกว่าวัยรุ่น คานึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น รู้สึกยอมรับผู้อื่นได้
ดีขึ้น มีพัฒนาการด้านอารมณ์รัก (Love) ได้ในหลายรูปแบบ
3.พัฒนาการด้านสังคม ทฤษฎีพัฒนาบุคลิกภาพของอิริคสัน วัยผู้ใหญ่
ตอนต้นอยู่ในขั้นพัฒนาการขั้นที่ 6 คือความใกล้ชิดสนิทสนมหรือการ
แยกตัว สังคมของบุคคลวัยนี้คือ เพื่อนรัก คู่ครอง บุคคลจะพัฒนาความรัก
ความผูกพัน แสวงหามิตรภาพที่สนิทสนม หากสามารถสร้างมิตรภาพได้
มั่นคง
4.พัฒนาการทางสติปัญญา พัฒนาการทางความคิดตามแนวคิดของเพียเจท์
(Piaget’ s theory) (Papalia and Olds, 1995) กล่าวว่าวัยผู้ใหญ่มีพัฒนาการ
ทางความคิดสติปัญญาอยู่ในระดับ Formal operations ซึ่งเป็นขั้นสูงที่สุดของ
พัฒนาการ มีความสามารถทางสติปัญญาสมบูรณ์ที่สุดคือคุณภาพของ
ความคิดจะเป็นระบบ

More Related Content

What's hot

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือTeeraporn Pingkaew
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีSophinyaDara
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์krutitirut
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 

What's hot (20)

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียนข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 

Similar to การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน

การบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียนการบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียนphatcom10
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขN'Pop Intrara
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขN'Pop Intrara
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมJit Khasana
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานNongaoylove
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 07/58
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 07/58วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 07/58
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 07/58คมสัน คงเอี่ยม
 
Internal supervision
Internal supervisionInternal supervision
Internal supervisionpeter dontoom
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56คมสัน คงเอี่ยม
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638soawaphat
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 

Similar to การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน (20)

การบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียนการบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 07/58
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 07/58วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 07/58
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 07/58
 
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1
 
Supervision
SupervisionSupervision
Supervision
 
Internal supervision
Internal supervisionInternal supervision
Internal supervision
 
4ตาราง2.2.1
4ตาราง2.2.14ตาราง2.2.1
4ตาราง2.2.1
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ 3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 

การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน