SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
กรวรรณ สังขกร
          สถาบันวิจยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
                   ั


หลักสูตรอบรม “การจัดการทีพักแบบโฮมสเตย์ (Homestay)” รุ่นที่ 2
                           ่
  สาขาวิชาการท่องเทียว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
                    ่
                   วันที่ 25 มิถุนายน 2555
ลำดับกำรนำเสนอ
ควำมหมำยของโฮมสเตย์
ประวัติโฮมสเตย์
กำรจัดกำรโฮมสเตย์เบื้องต้น
กรอบคิดในกำรประเมินมำตรฐำนโฮมสเตย์
มำตรฐำนโฮมสเตย์ไทย
โฮใสเตย์ไทยที่ได้รับรองมำตรฐำนโฮมสเตย์ไทย
การท่องเที่ยว
                เชิงนิเวศ



การท่องเที่ยว               Home
   ชุมชน                    stay
ควำมหมำยของโฮมสเตย์
การท่องเที่ยวรูปแบบหนึ่ ง ที่นักท่องเที่ยวจะต้องพักรวมกับเจ้าของบ้าน
ชายคาเดี ย วกั น โดยมี ห ้อ งพั ก หรื อ พื้ นที่ ใ ช้ส อยภายในบ้า นเหลื อ
สามารถนามาดัดแปลงให้นักท่องเที่ยวพักได้ชวคราว ซึ่งมีจานวนไม่เกิน
                                                   ั่
4 ห้อง มีผพกรวมกันไม่เกิน 20 คน โดยมีค่าตอบแทน และจัดบริการ
            ู้ ั
สิ่ ง อ านวยความสะดวกตามสมควร อัน มี ลัก ษณะเป็ นการประกอบ
กิจการเพื่อหารายได้เสริม ซึ่งเป็ นไปตามบทนิ ยามคาว่า “โรงแรม”
แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ โ รงแรม พ.ศ. 2547 และได้ขึ้ นทะเบี ย นกับ
กรมการท่องเที่ยว ตามหลักเกณฑ์ที่กรมการท่องเที่ยวกาหนด
                                              ราชกิจจานุ เบกษา, 2555
ควำมหมำยของโฮมสเตย์
บ้านพักประเภทหนึ่ งที่นักท่องเที่ยวพักร่วมกับเจ้าของบ้าน
และมีวตถุประสงค์ที่จะเรียนรูวฒนธรรมและวิถีชีวตของ
        ั                       ้ั               ิ
ชาวบ้าน ซึ่งเต็มใจที่จะถ่ายทอดวัฒนธรรม แลกเปลี่ยนความรู ้
ซึ่งกันและกัน พร้อมทั้งจัดที่พกและอาหารให้กบนักท่องเที่ยว
                              ั               ั
โดยได้รบค่าตอบแทนตามความเหมาะสม
          ั
                      การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2545
ควำมหมำยของโฮมสเตย์
บ้า นพั ก ที่ อ ยู่ ใ นชุ ม ชนชนบทที่ มี ป ระชาชนเป็ นเจ้า ของบ้า น และ
ประชาชน หรื อสมาชิกในครัวเรื อนอาศัยอยู่ประจา และบ้านนั้ นเป็ น
สมาชิ ก ของกลุ่ ม /ชมรม หรื อ สหกรณ์ที่ ร่ ว มจัด กัน เป็ นโฮมสเตย์ใ น
ชุมชน โดยนักท่องเที่ยวสามารถเข้าพักร่วมกับเจ้าของบ้านได้ ซึ่งสมาชิก
ในบ้านมีความยินดี และเต็ มใจที่จะรับนั กท่องเที่ ยว พร้อมทั้งถ่ายทอด
ประเพณี วัฒ นธรรมอัน ดี ง ามของท้อ งถิ่ น แก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วและพา
นั กท่องเที่ ยว เที่ ยวชมแหล่งท่องเที่ ยวและทากิจกรรมต่างๆเช่น เล่น
น้ าตก ขี่จกรยาน นังเรือ เดินป่ าศึกษาธรรมชาติ
           ั              ่
                    สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ควำมหมำยของโฮมสเตย์
                โฮมสเตย์
             เป็ นบ้านที่มีความพร้อม
สาหรับการแบ่งพื้ นที่ของบ้านพักอาศัยเพื่อให้บริการ
  กับนักท่องเที่ยว เสมือนเป็ นสมาชิกหรือญาติของ
                   เจ้าของบ้านพัก
โดยมีความพร้อมภายใต้การบริหารจัดการของชุมชน
ประวัติของโฮมสเตย์ในไทย
ยุคเริ่มต้น (ปี 2503 – 2525)
  กระจายอยู่ในกลุ่มนิ สิต นั กศึกษา กลุ่มออกค่ายอาสาพัฒนาชนบท
  ต้องเรียนรูวิถีชีวิต รับทราบปั ญหาในชนบท เพื่อนามาพัฒนาสังคม
             ้
  ตามอุดมคติ
  กระจายอยู่ ใ นกลุ่ ม นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวต่ า งชาติ ที่ นิ ยมทั ว ร์ ป่ า
  โดยเฉพาะในแถบภาคเหนื อของประเทศไทย นั กท่ องเที่ ยวจะพัก
  ตามบ้านชาวเขา โดยจุดพักนั้นจะขึ้ นอยูกบเส้นทางการเดินป่ า
                                            ่ ั
ประวัติของโฮมสเตย์ในไทย

ยุคกลาง (ปี 2526 – 2536)
  กลุ่มนั กท่องเที่ ยวชาวต่า งชาติ ที่นิยมทัวร์ป่า เริ่ มได้รับความนิ ยม
  มากขึ้ น Homestay ได้รบการพัฒนารูปแบบและกิจกรรม
                                       ั
  โดยกระจายไปยังหมูบานชาวเขา
                       ่ ้
  เริ่มสร้างปั ญหาสังคม อาทิ ปั ญหายาเสพติด ปั ญหาโสเภณี ปั ญหา
  การปล้น ขโมย และปั ญหาการฆ่าชิงทรัพย์
ประวัติของโฮมสเตย์ในไทย
ยุคตั้งแต่ปี 2527 – ปั จจุบน
                           ั
  เน้นกระแสการพัฒนาสังคมสิ่งแวดล้อม มีแนวโน้มที่เป็ นการท่องเที่ยวเชิงอนุ รกษ์              ั
  ในช่วงแรกกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวไทย กลุ่มนาร่องคือ กลุ่มที่เป็ นนักกิจกรรมสังคม
  พื้ นที่ที่ดาเนิ นการเรื่อง Homestay เป็ นพื้ นที่ที่องค์กรพัฒนาเอกชนไทย
  เข้าไปดาเนิ นการ
  ปี 2539 เป็ นต้นมา ได้มีการเคลื่อนไหวในกลุ่มนักธุรกิจ ผูประกอบการ ด้านการ
                                                                        ้
  ท่ อ ง เ ที่ ย ว โ ด ย น า เ ส น อ รู ป แ บ บ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ผ ส ม ผ ส า น ร ะ ห ว่ า ง
  Adventure Ecotourism และ Homestay
  ปี 2541 – 2542 รัฐบาลได้ประกาศให้เป็ นปี ท่องเที่ยวไทย (Amazing
  Thailand) สนั บสนุ นกิจกรรมทางการท่องเที่ยว ทาให้เกิดการจัดการ
  ท่องเที่ยวในแหล่งชุมชน และขยายกิจกรรม Homestay เพิ่มมมากขึ้ น
กำรจัดกำรโฮมสเตย์เบื้องต้น
 โฮมสเตย์ไม่จาเป็ นต้องเกิด ขึ้ นในทุ กๆ หมู่บาน แต่ตองคานึ งถึ งความพร้อม
                                              ้      ้
 ความรู ้ ความเข้าใจของชุมชนเป็ นสาคัญ
 ชุมชนต้องมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ
 เน้นจุดขายที่วิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน ภายในบรรยากาศแบบธรรมชาติ ภูมิ-
 ปั ญญาท้องถิ่นที่น่าสนใจ
 การท่องเที่ยวเป็ นเพียงรายได้เสริมมิใช่รายได้หลักของชุมชน
 บริการที่ควรเสนอให้กบนักท่องเที่ยว: วิถีการดาเนิ นชีวิตของชุมชนที่เรียบง่าย
                     ั
 แบบสัง คมชนบท วัฒ นธรรมท้อ งถิ่ น ที่ มี เ อกลัก ษณ์ ความปลอดภัย ความ
 สะอาด ห้อ งพัก พร้อ มอาหาร กิ จ กรรมทางการท่ อ งเที่ ย วที่ เ กี่ ย วข้อ งและ
 สอดคล้องกับชุมชน
กำรจัดกำร (Management)


ควรมีการรวมกลุ่มจัดตั้งในรูปของกลุ่ม/ชมรม/
 สหกรณ์ ซึ่งสมาชิกและคนในชุมชนจะต้องมีความ
 เข้าใจ และมีส่วนร่วมในด้านการจัดการ
บ้ำนพัก (Accommodation)

 สมาชิกในครอบครัวต้องเต็มใจต่อการรับผูมาเยือน บ้านพักมี
                                          ้
  โครงสร้างที่ดี ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดี ไม่ไกลจากเมืองหรือพื้ นที่
  เทศกาล หรือสถานที่ท่องเที่ยว การจัดเตรียมที่พก จะหมายรวมถึง
                                                  ั
  การจัดเตรียมห้องพัก ห้องอาบน้ า ห้องส้วม และห้องนังเล่น ไว้
                                                       ่
  สาหรับรองรับนักท่องเที่ยว ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้
 เป็ นบ้านที่มีอากาศท่ายเทได้สะดวก ไม่มีกลิ่นอับ
 มีการจัดเตรียมสถานที่พบปะกัน (สถานที่นังเล่น)
                                              ่
  เพื่อเป็ นสถานที่นังพูดคุยแลกเปลี่ยนความรูระหว่างเจ้าของบ้าน
                     ่                      ้
  กับนักท่องเที่ยว เป็ นการสร้างมิตรภาพและเรียนรูซึ่งกันและกัน
                                                    ้
ห้องพัก (Room)
 ห้องพัก สาหรับนักท่องเที่ยวต้องมีความเป็ นส่วนตัวและเรียบ
  ง่าย
 มีเครื่องนอน (ที่นอน/หมอน/ผ้าปู/ผ้าห่ม/มุง) ที่สะอาด
                                                     ้
 ทาความสะอาดเครื่องนอนทุกครั้งที่นักท่องเที่ยวออกจากที่พก    ั
  และจัดปูใหม่อย่างเรียบร้อยเมื่อมีนักท่องเที่ยวรายใหม่เข้าพัก
 มีไฟฟ้ า/ ตะเกียง ให้แสงสว่างเพียงพออย่างเหมาะสม
 อาจจัดให้มีเครื่องเรือน เครื่องใช้อื่นๆ เพื่อเพิ่มความสะดวก
  ให้แก่ผมาพักค้างแรม เช่น ไม้แขวนเสื้ อ ราวพาดผ้าเช็ดตัว
          ู้
  โต๊ะเล็กๆ สาหรับวางของ อ่านหรือเขียนหนังสือ
กำรดูแลที่พัก (Home Keeping Produce)

ความสะอาดเป็ นสิ่งสาคัญมากสาหรับนักท่องเที่ยว
 ควรมีการทาความสะอาดที่พกและบริเวณโดยรอบ
                          ั
 บ้านพักอยูเสมอ โดยเฉพาะการเปลี่ยนผ้าปูที่นอน
             ่
 อุปกรณ์สาหรับการนอนส่วนตัวทุกครั้งเมื่อมี
 นักท่องเที่ยวเข้าพัก
ควำมสะอำดของบ้ำน
 บ้านพักควรมีอากาศที่สามารถถ่ายเทได้สะดวก
 แสงสว่างสามารถส่องเข้ามาถึง ปราศจากความชื้ น ไม่มีกลิ่นอับ
 มีหลังคาที่สามารถกันน้ าได้ดี
 ทาความสะอาดภายในห้องพักเป็ นประจา
 ต้องเปลี่ยนผ้าปูที่นอน และอุปกรณ์ส่วนตัวสาหรับผูมาเยือนทุก
                                                  ้
  ครั้ง
 หมันกาจัดแมลงที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพอยูเสมอ
     ่                                    ่
ห้องน้ำ (The Bathroom)
 ห้องน้ าจะเป็ นห้องที่ผมาเยือนจะมาร่วมใช้กบเจ้าของบ้าน สิ่งสาคัญ
                         ู้                 ั
  ก็คือความสะอาด จะต้องมีการทาความสะอาดอยูเป็ นประจาและ
                                                  ่
  สมาเสมอ
      ่
 ควรมีการจัดเตรียมเครื่องใช้สาหรับอาบน้ าเพื่อบริการแก่ผมาพัก
                                                         ู้
  ค้างแรม
  เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าขาวม้า รวมทั้ง อุปกรณ์ในห้องน้ า
 ควรอธิบายวีธีการใช้อุปกรณ์ในห้องน้ า การตักน้ าอาบ เพื่อปองกัน
                                                           ้
  การใช้อุปกรณ์ไม่ถกต้อง
                   ู
ควำมปลอดภัยของชุมชน
 ควรมีการจัดเวรยามเฝ้ าระวังและดูแลความปลอดภัย โดยมีตารางเวรยามที่ชดเจน
                                                                    ั
 มีอุปกรณ์สื่อสาร เช่น โทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ โทรสาร วิทยุสื่อสาร สาหรับติดต่อเจ้าหน้าที่
  ตารวจ ทหาร พยาบาล สาธารณสุข พนักงานดับเพลิง
 จัดเก็บเบอร์โทรศัพท์ และที่อยู่ สาหรับติดต่อในกรณีฉุกเฉิน และต้องแจ้งให้สมาชิกกลุ่มทุกคน
  ทราบ โดยเฉพาะสมาชิกกลุ่มที่มีภารกิจรับผิดชอบด้านการรักษาความปลอดภัยในชุมชน
 ควรจัดฝึ กอบรมสมาชิกให้สามารถปฐมพยาบาลเบื้ องต้นได้
 มีการแจ้งเตือนให้นักท่องเที่ยวระวังรักษาทรัพย์สินมีค่า
 ต้องมีการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับโรคประจาตัวของนักท่องเที่ยวในเอกสารใบสมัครการเข้าพัก
  โฮมสเตย์ และหากนักท่องเที่ยวมีโรคประจาตัว ควรแจ้งเตือนนักท่องเที่ยวให้เตรียมยาไว้ติดตัว
  มาด้วย
ควำมปลอดภัยของที่พัก

 ต้องสร้างความคุนเคยกับผูมาเยือน เสมือนญาติสนิ ท
                 ้        ้
 หมันตรวจตรา ดูแลความเป็ นระเบียบเรียบร้อยภายในบ้าน
      ่
  ว่ามีความปลอดภัยหรือไม่
 แจ้งให้เก็บทรัพย์สิน เงินสดต่างๆ ไว้ในที่ที่ปลอดภัย
ทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว

 ต้องมีการดูแลและซ่อมแซมล็อค และกลอน อยูตลอดเวลา
                                         ่
 เตือนนักท่องเที่ยวให้เก็บทรัพย์สินอย่างปลอดภัย
 ถ้านักท่องเที่ยวลืมทรัพย์สินไว้เจ้าของบ้านควรเก็บไว้ในที่ที่
  ปลอดภัย และพยายามติดต่อเจ้าของเพื่อมารับคืน
กำรกำหนดระเบียบและข้อปฏิบัติสำหรับนักท่องเที่ยว
 วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และความเชื่อ ของแต่ละชุมชนอาจแตกต่าง
  กัน
 การกาหนดระเบียบและข้อปฏิบติสาหรับนักท่องเที่ยว อาทิ การแต่งกาย
                                ั
  การนอน การกาหนดเวลาการเข้าออกบ้านพัก จึงเป็ นสิ่งสาคัญเพื่อมิ
  ก่อให้เกิดปั ญหาที่ขดต่อวัฒนธรรม จารีต ประเพณีและความเชื่อของ
                      ั
  ชุมชน
 นักท่องเที่ยวจะต้องยอมรับและปฏิบติตาม
                                     ั
 ควรมีการชี้ แจงตั้งแตขั้นตอนการจองหรือลงทะเบียนการเข้าพัก กรณีที่
  นักท่องเที่ยวไม่สามารถปฏิบติได้ ก็สามารถที่จะปฏิเสธการเข้าพักได้
                              ั
  เช่นเดียวกัน
กำรต้อนรับ (Reception)
 การต้อนรับนักท่องเที่ยวดุจญาติมิตรจะทาให้นักท่องเที่ยวเกิดความรูสึกอบอุ่น
                                                                  ้
 มีการจัดพื้ นที่ตอนรับที่จุดศูนย์กลางของชุมชน เพื่อดาเนิ นการต้อนรับ
                   ้
  ลงทะเบียนการเข้าพัก หรือการให้ขอมูลด้านการท่องเที่ยว
                                      ้
 อาจให้การต้อนรับนักท่องเที่ยวด้วยวัฒนธรรมประจาถิ่นเพื่อสร้างความ
  ประทับใจ เช่น ภาคอีสานและเหนื อ ต้อนรับด้วยการบายศรีส่ขวัญ หรืออาจจะ
                                                          ู
  เป็ นช่อดอกไม้ พวงมาลัยเล็กๆ ที่สามารถหาได้จากท้องถิ่นมอบให้กบั
  นักท่องเที่ยว
กำรจองที่พัก (Reservation)

 การจองที่พกสามารถทาได้หลายวิธี อาทิ การจองทางไปรษณีย์ การจองทาง
            ั
  โทรศัพท์ การจองทางแฟกซ์ การจองผ่านเครือข่าย Internet
 การจองที่พกควรได้รบการตอบสนองโดยทันที
            ั       ั
 มีการยืนยันการเข้าพักของนักท่องเที่ยว
ขั้นตอนของกำรจัดกำรระบบกำรจองทีพัก
                               ่

 จัดลาดับบ้านพักที่จะให้บริการ
 ตอบรับการจอง
 อาจเรียกเก็บค่าบริการบางส่วน เพื่อปองกันการยกเลิกของ
                                     ้
  นักท่องเที่ยว
 เก็บบันทึกข้อมูลการจองสาหรับการลงทะเบียนเข้าพัก
กำรลงทะเบียน (Registration)
 แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับค่าธรรมเนี ยมการเข้าพักและ
  บริการต่างๆ ที่จดเตรียมไว้สาหรับนักท่องเที่ยว
                   ั
 ให้นักท่องเที่ยวกรอกรายละเอียดและลงชื่อในใบลงทะเบียน
  การเข้าพัก
 แจ้งรายละเอียดข้อมูลที่เป็ นประโยชน์เกี่ยวกับชุมชนและ
  สภาพทัวไป
          ่
 นานักท่องเที่ยวไปยังบ้านพัก
ควำมสำคัญของกำรลงทะเบียน

 ทาให้เจ้าของบ้านทราบข้อมูลเกี่ยวกับนักท่องเที่ยว
 ช่วยในการจัดเตรียมบ้านพัก
 ทาให้ทราบวันออกจากที่พกของนักท่องเที่ยวแต่ละคน
                        ั
  นาวางแผนการเข้าพักของแขกในลาดับต่อๆ ไป
 เป็ นข้อมูลการเข้าพักให้ผดแลรักษาความปลอดภัย
                           ู้ ู
กำรบริกำรอำหำร
 มีการวางแผนในการจัดเตรียมอาหาร พิจารณาถึง เชื้ อชาติและการนับถือศาสนาของนักท่องเที่ยว
  งบประมาณในการจัดทาอาหาร ปั จจัยด้านฤดูกาล อาหารประจาท้องถิ่น และจานวนนักท่องเที่ยว
 ชนิ ดของอาหาร ควรเป็ นอาหารพื้ นบ้านซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่น
 วัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงอาหาร ควรเป็ นสิ่งที่หาได้ในพื้ นที่เป็ นหลัก
 ควรมีการสอบถามข้อมูลความชอบในรสชาติของอาหารและประเภทของอาหารที่กินไม่ได้จากนักท่องเที่ยว
  ตั้งแต่ในขั้นตอนของการจองที่พก
                               ั
 ภาชนะที่ใช้ในการปรุงและรับประทานอาหารต้องมีความสะอาดและปราศจากกลิ่น
 ควรแยกล้างภาชนะที่ใส่อาหารกับแก้วน้ าดื่ม โดยให้ลางแก้วน้ าก่อน
                                                   ้
 มีอุปกรณ์ที่จาเป็ นพื้ นฐานในการประกอบอาหาร เช่น เตา ซึ่งอาจเป็ นเตาแก๊สหรือเตาถ่านก็ได้ ตูกบข้าว
                                                                                             ้ั
  กระทะ หม้อ ตะหลิว
 เจ้าของบ้านและนักท่องเที่ยวควรรับประทานอาหารพร้อมกัน เป็ นการเรียนรูวฒนธรรมการกินอาหาร
                                                                      ้ั
  ร่วมกัน
 เชิญให้นักท่องเที่ยวเข้าร่วมในกิจกรรมการจัดการประกอบอาหาร หากนักท่องเที่ยวสนใจ
กรอบคิดในกำรประเมินมำตรฐำน Homestay
มุมมองเกี่ยวกับ Homestay
 การจัดทา Homestay ต้องประกอบด้วยคน และจิตใจวิญญาณของ
  ชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาจะต้องสร้างฐานของชุมชนให้แน่ นและพร้อม
  ก่อน ในแต่ละชุมชนจะต้องมีจุดยืนที่ชดเจน มีวิถีชีวิต วัฒนธรรม
                                     ั
  ประเพณีที่แสดงออกถึงท้องถิ่นและความเป็ นไทย สิ่งสาคัญคือการ
  เต็มใจรับผูมาเยือน การให้ชุมชนเป็ นเจ้าของกิจการเอง และมีการ
              ้
   แบ่งปั นผลประโยชน์อย่างเป็ นธรรม
กรอบคิดในกำรประเมินมำตรฐำน Homestay
Homestay กับการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวรูปแบบอื่น
 การจัดการ Homestay มักจะมีการนาเอากิจกรรมท่องเที่ยวอื่นเข้ามา
  เชื่อมโยงด้วย เช่น การท่องเที่ยวที่มุงความยังยืนของชุมชน
                                       ่      ่
  (Sustainable Tourism) การท่องเที่ยวสีเขียว
  (Green Tourism) ที่คานึ งถึงการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
  และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมการท่องเที่ยว
  เชิงนิ เวศ กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิง
  สุขภาพ กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงประวัตศาสตร์ เป็ นต้น
                                                ิ
เกณฑ์กำหนดแหล่งท่องเที่ยวเพื่อกำรจัดกำรที่ยั่งยืน
       (Criteria for tourism destination)
 มีเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ของคนท้องถิ่นดั้งเดิม มีความสะอาด ร่มรื่น
 มีความพร้อมในการบริหารจัดการ และการบริการ เช่น มีสุขาสะอาด มีความปลอดภัย สะดวกต่อการ
  เดินทางของนักท่องเที่ยวทุกระดับ
 มีการจัดทาเส้นทางศึกษาแหล่งท่องเที่ยว มีปายสื่อความหมาย หรือแผนที่บนเส้นทางท่องเที่ยวเป็ นระยะๆ
                                           ้
 มีการกาหนดขีดความสามารถในการรองรับของพื้ นที่ จานวนนักท่องเที่ยวที่รบได้ต่อครั้งต่อวัน
                                                                      ั
 มีมคคุเทศก์ หรือนักสื่อความหมายท้องถิ่น ที่รอบรูนาชม เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ความรู ้ มีความเข้าใจ มี
     ั                                            ้
  ความทรงจา ได้รบประสบการณ์เพิ่มขึ้ น
                  ั
 มีการประสานงานความร่วมมือในท้องถิ่น เช่น ชุมชน องค์กรภาค องค์กรเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน
  (NGO) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแบ่งปั นผลประโยชน์อย่างโปร่งใส ยุติธรรม
 มีแผนงานพัฒนา เช่น แผนการส่งเสริมการท่องเที่ยว แผนรักษาสภาพแวดล้อม แผนภูมิปัญญาท้องถิ่น
มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย
ด้านที่พก
        ั
ลักษณะบ้านพัก     เป็ นบ้านของเจ้าของที่แบ่งปั นที่
ที่เป็ นสัดส่วน    นอน หรือห้องนอน อย่างเป็ น
                   สัดส่วน หรืออาจปรับปรุงต่อเติม
                   ที่พก ที่ติดกับบ้านเดิมเพื่อใช้เป็ น
                       ั
                   ที่นอนหรือห้องนอน
มีที่นอนสาหรับนักท่องเที่ยว อาจ
ด้านที่พก
        ั      เป็ นเตียง ฟูก หรือเสื่อ และมีมุง
                                               ้
               หรือมุงลวดเพื่อปองกันยุงและแมลง
                       ้        ้
ที่พกที่นอน
    ั         มีเครื่องนอน อุปกรณ์ที่ใช้นอน ผ้าปู
สะอาด และ      หมอน ปลอกหมอน ผ้าห่ม และ
               ได้รบการทาความสะอาดทุกครั้งที่มี
                    ั
สบาย           การเปลี่ยนนักท่องเที่ยวกลุ่มใหม่
               และเปลี่ยนเครื่องนอนตามความ
               เหมาะสมในกรณีที่นักท่องเที่ยวพัก
               หลายวัน
              มีราวตากผ้าหรือที่เก็บเสื้ อผ้า
มีความปลอดภัย มีที่ล็อคประตูอยู่
ด้านที่พก
        ั         ในสภาพใช้งานได้ดี มีความมิดชิด
ห้องอาบน้ าและ   มีขนาดของห้องน้าที่เหมาะสม มี
ห้องส้วมที่       อากาศถ่ายเทได้สะดวก
                 มีการแยกขันสาหรับตักอาบน้ า
สะอาดมิดชิด
                 น้ าที่ใช้สะอาด อาจเป็ นประปา
                  หมู่บาน ประปาภูเขา หรือน้ าดิบที่
                         ้
                  ปล่อยไว้ระยะหนึ่ งและแกว่งสารส้ม
                 มีถงขยะในห้องน้ า
                     ั
ด้านที่พก
        ั       มีมุมพักผ่อน ที่สงบ สบายภายใน
มีมุมพักผ่อน     บ้านหรือบริเวณโดยรอบที่
                 สามารถนัง นอนและมี
                            ่
ภายในบ้านหรือ    บรรยากาศผ่อนคลาย เช่น ลาน
ในชุมชน          บ้าน ใต้ตนไม้ ศาลาหน้าบ้าน
                          ้
                มีการดูแลบริเวณรอบบ้าน เช่น
                 สวนครัว ต้นไม้ ไม้ดอกไม้ประดับ
                 ร่องน้ า ให้สะอาด ปราศจากขยะ
ด้านอาหารและ
โภชนาการ
                    มีปริมาณ และประเภทอาหารที่
ชนิ ดของอาหาร        เหมาะสม
และวัตถุดิบที่ใช้   ผลิตโดยใช้วตถุดิบในท้องถิ่น ไม่
                                 ั
ประกอบอาหาร          ซื้ ออาหารหรือกับข้าวถุง
                    มีการปรุงอาหารอย่างถูก
                     สุขอนามัย
ด้านอาหารและ
โภชนาการ
มีน้ าดื่มที่
                มีที่เก็บน้ า/ภาชนะเก็บน้ าที่
สะอาด            สะอาดไม่มีตะกอน มีฝาปิ ดมิดชิด
                มีน้ าดื่มที่สะอาด ผ่าน
                 กระบวนการทาความสะอาด
ด้านอาหารและ
โภชนาการ
ภาชนะที่บรรจุ
                มีภาชนะที่เกี่ยวข้องกับอาหาร
อาหารที่สะอาด    เช่น ถ้วย ชาม จาน ช้อน ช้อน
                 กลาง ทัพพี โถข้าวที่สะอาดไม่มี
                 คราบ และกลิ่นคาว กลิ่นอับ
ด้านอาหารและ
                  ครัวอาจอยูในบ้าน หรือแยกจาก
                               ่
โภชนาการ           ตัวบ้านก็ได้ และมีการดูแลความ
ห้องครัว และ       สะอาดอยูเสมอ
                             ่
อุปกรณ์ที่ใช้ใน   มีอุปกรณ์การเก็บเครื่องปรุง
                   วัตถุดิบ ที่สะอาดสามารถปองกัน
                                               ้
ครัวที่ถูก         เชื้ อโรคและสิ่งสกปรก มีที่เก็บ
สุขลักษณะ          มิดชิด ที่แขวน หรือมีฝาชีครอบ
                   หรือคลุมผ้า
                  มีการจัดการขยะที่ถูกสุขอนามัย
ด้านความ
ปลอดภัย        มีแนวทางปฏิบติเพื่อการช่วยเหลือ
                                  ั
มีการเตรียม     เบื้ องต้น เมื่อนักท่องเที่ยวเกิดเจ็บป่ วย
                หรือได้รบอุบติเหตุ
                          ั ั
ความพร้อม      มียาสามัญประจาบ้าน ที่อยูในสภาพ
                                         ่
เกี่ยวกับการ    ใช้ได้ทนที (ยังไม่หมดอายุ)
                       ั
ปฐมพยาบาล      เจ้าของบ้านควรซักถามถึงโรค
                ประจาตัวหรือบุคคลที่ติดต่อได้ทนทีใน
                                               ั
เบื้ องต้น      กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินกับนักท่องเที่ยว
ด้านความ
              มีการแจ้งให้ผใหญ่บานหรือกานัน
                            ู้   ้
ปลอดภัย        รับทราบ ขณะมีนักท่องเที่ยวในบ้าน
มีการจัดเวร    เพื่อขอความร่วมมือในการดูแลรักษา
               ความสงบ ความปลอดภัย
ยามดูแลความ   มีการจัดเวรยามดูแลรักษาความ
ปลอดภัย        ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เช่น
               รถยนต์
              เมื่อมีเหตุรายต้องมีเครื่องมือสื่อสาร
                           ้
               ติดต่อกับหน่ วยงานที่รบผิดชอบ
                                      ั
               โดยตรงได้
ด้านอัธยาศัยไมตรีของ
เจ้าบ้านและสมาชิก      มีการแนะนานักท่องเที่ยวกับ
                        สมาชิกในครัวเรือนทุกคนที่
การต้อนรับและ
                        อยูในขณะนั้น เพื่อรูจกและ
                            ่               ้ั
การสร้าง                เรียนรูวถีชีวตของเจ้าของบ้าน
                               ้ิ ิ
ความคุนเคย
       ้                ผ่านกิจกรรมต่างๆ ภายใน
                        บ้าน เช่น เก็บผักสวนครัว
                        ร่วมกัน ทากับข้าวร่วมกัน
                        รับประทานอาหารร่วมกัน
ด้านอัธยาศัยไมตรีของ   เจ้าของบ้านมีการแลกเปลี่ยนให้
เจ้าบ้านและสมาชิก       ข้อมูล อาจเป็ นเอกสารภาพถ่าย
                        หรือการพูดคุยในเรื่องเกี่ยวกับ
การสร้าง                วิถีชีวต สังคม และวัฒนธรรมใน
                               ิ
กิจกรรม                 ชุมชนอย่างเหมาะสม
แลกเปลี่ยน             เจ้าของบ้านเปิ ดโอกาสให้
                        นักท่องเที่ยวเรียนรูวถีชีวตของ
                                               ้ิ ิ
ความรูในวิถี
      ้                 ตนเอง เช่น ไปดูไร่-นา ออก
ของชุมชน                ทะเล เก็บใบชา ทอผ้า จักสาน
                        เป็ นต้น ซึ่งจะเป็ นโอกาสของการ
                        แลกเปลี่ยนเรียนรูวถีชีวต
                                             ้ิ ิ
ด้านกิจกรรมการ
ท่องเที่ยว         มีการวางแผนโปรแกรมการ
                    ท่องเที่ยวร่วมกันของชุมชนและ
มีรายการนาเที่ยว    กลุ่มโฮมสเตย์ เพื่อการกระจาย
ที่ชดเจนซึ่งต้อง
    ั               รายได้ให้เกิดขึ้ นในแต่ละหมูบาน
                                               ่ ้
ผ่านการยอมรับ       หรือแต่ละกลุ่มกิจกรรม
จากชุมชน         มีโปรแกรมการท่องเที่ยวที่
                      เผยแพร่ส่สาธารณะและ
                               ู
                      นักท่องเที่ยวที่ชดเจน สอดคล้อง
                                       ั
                      กับสภาพความเป็ นจริงของชุมชน
ด้านกิจกรรมการ
ท่องเที่ยว
ข้อมูลกิจกรรม    มีขอมูลรายละเอียดกิจกรรมใน
                       ้
การท่องเที่ยว     โปรแกรมการท่องเที่ยวที่
                  หลากหลายแตกต่างกันตาม
                  ภูมิศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม
                  เพื่อให้นักท่องเที่ยวตัดสินใจเลือก
                  ได้
ด้านกิจกรรมการ
ท่องเที่ยว            กลุ่มหรือเจ้าของบ้านเป็ นผูนา
                                                  ้
                       เที่ยวเพื่อให้ความรูความเข้าใจ
                                           ้
เจ้าของบ้านเป็ น       เกี่ยวกับทรัพยากร สิ่งแวดล้อม
มัคคุเทศก์ทองถิ่น
            ้          วัฒนธรรม ศิลปะ สถาปั ตยกรรม
หรือประสานงาน          การแสดง ความเชื่อ ค่านิ ยม
                       ภายในชุมชนแก่นักท่องเที่ยว
ให้มคคุเทศก์
     ั
                  มีการจัดทาสื่อ เช่น สิ่งพิมพ์ รูป
ท้องถิ่นนาเที่ยว
                        ถ่าย ภาพวาด เพื่อการเรียนรูของ
                                                   ้
                        นักท่องเที่ยว
ด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติ
                    มีแหล่งดึงดูดความสนใจของ
และสภาพแวดล้อม
                     นักท่องเที่ยวซึ่งอาจเป็ นแหล่ง
มีแหล่งท่องเที่ยว    ธรรมชาติ เช่น แม่น้ า ภูเขา หรือ
ภายในชุมชน           แหล่งท่องเที่ยวที่มนุ ษย์สร้างขึ้ น
หรือบริเวณ           เช่น วัดเจดีย ์ เป็ นต้น หรือใช้
                     แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียงเป็ นส่วน
ใกล้เคียง            หนึ่ งของโปรแกรมการท่องเที่ยว
ชุมชนมีกฎ กติกา การใช้
ด้าน                ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ชดเจน
                                               ั
ทรัพยากรธรรมชาติ    เพื่อให้การใช้ประโยชน์เป็ นไป
และสภาพแวดล้อม      อย่างยังยืน เช่น ปริมาณ
                            ่
                    นักท่องเที่ยวที่ชุมชนรองรับได้
มีการดูแลแหล่ง      การไม่เก็บพันธุพืชออกจากป่ า
                                     ์
ท่องเที่ยว          เป็ นต้น
                   มีกิจกรรมที่สมพันธ์กบงานการ
                                   ั       ั
                    ฟื้ นฟู อนุ รกษ์แหล่งท่องเที่ยวใน
                                 ั
                    หลากหลายรูปแบบ เช่น การปลูก
                    ป่ า การจัดค่ายอนุ รกษ์
                                         ั
                    สิ่งแวดล้อมสาหรับเยาวชน
ธรรมชาติและ
สภาพแวดล้อม
มีแผนงาน หรือ      องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรการอนุ รกษ์
              ั     ชุมชนและกลุ่มโฮมสเตย์มี
ทรัพยากรธรรมชา      แผนงาน มาตรการ และ
ติ เพื่อลด          แนวทางปฏิบติในการจัดการ
                                ั
                    ขยะอย่างถูกวิธี เช่น การแยก
ผลกระทบจากการ
                    ขยะ ไม่เผาขยะ
ท่องเที่ยว และลด
สภาวะโลกร้อน
ธรรมชาติและ
สภาพแวดล้อม           เน้นใช้ทรัพยากรธรรมชาติใน
มีกิจกรรมในการ         ท้องถิ่น เช่น ห่อข้าวด้วยวัสดุที่มา
ลดผลกระทบจาก           จากธรรมชาติ
การท่องเที่ยว เพื่อ   มีกิจกรรมที่ลดการใช้ทรัพยากร
การอนุ รกษ์
         ั             อย่างสิ้ นเปลือง เช่น ใช้จกรยาน
                                                 ั
ทรัพยากรธรรมชา         แทนการใช้รถ ใช้เรือพายแทน
ติและสิ่งแวดล้อม       การใช้เครื่องยนต์ หรือการใช้
และลดสภาวะโลก          หลอดประหยัดไฟในครัวเรือน
ร้อน
 มีบานเก่า หรือบ้านที่แสดงถึงวัฒนธรรม
                         ้
ด้านวัฒนธรรม        ดั้งเดิม เพื่อสร้างความสนใจแก่นักท่องเที่ยว
การดารงรักษาไว้    มีการรวบรวมองค์ความรูดานวัฒนธรรม
                                              ้ ้
                    ท้องถิ่น เพื่อนาสู่การเผยแพร่ที่ถกต้องแก่
                                                     ู
ซึ่งวัฒนธรรม        นักท่องเที่ยว
ประเพณีทองถิ่น
          ้        ชุมชนและโรงเรียนมีแผนงานฟื้ นฟู อนุ รกษ์
                                                         ั
                    และถ่ายทอดวัฒนธรรม ศิลปะ และ
                    การละเล่นพื้ นบ้าน
                   ผูแสดงทางวัฒนธรรม และผูที่เกี่ยวข้องมี
                      ้                       ้
                    ส่วนร่วมในการวางแผนเนื้ อหา รูปแบบ และ
                    การนาเสนออย่างภาคภูมิใจ
ด้านวัฒนธรรม
การรักษาวิถีชุมชน   มีการดาเนิ นวิถีชีวิตที่เป็ นปกติ
คงไว้เป็ นกิจวัตร    เช่น การตักบาตร การทาบุญที่วด     ั
ปกติ                 การไหว้ศาลปู่ ตา เป็ นต้น ไม่ควร
                     เปลี่ยนหรือจัดทาใหม่ เพื่อ
                     ตอบสนองความต้องการของ
                     นักท่องเที่ยว
ด้านการสร้างคุณค่า
                      มีบานเก่า หรือบ้านที่แสดงถึงวัฒนธรรม
                            ้
และมูลค่าของ           ดั้งเดิม เพื่อสร้างความสนใจแก่นักท่องเที่ยว
ผลิตภัณฑ์ชุมชน        มีการรวบรวมองค์ความรูดานวัฒนธรรม
                                                 ้ ้
ผลิตภัณฑ์จาก           ท้องถิ่น เพื่อนาสู่การเผยแพร่ที่ถกต้องแก่
                                                        ู
                       นักท่องเที่ยว
ชุมชนเพื่อเป็ นของ
                      ชุมชนและโรงเรียนมีแผนงานฟื้ นฟู อนุ รกษ์
                                                            ั
ที่ระลึก ของฝาก        และถ่ายทอดวัฒนธรรม ศิลปะ และ
หรือจาหน่ ายแก่        การละเล่นพื้ นบ้าน
                      ผูแสดงทางวัฒนธรรม และผูที่เกี่ยวข้องมี
                         ้                       ้
นักท่องเที่ยว          ส่วนร่วมในการวางแผนเนื้ อหา รูปแบบ และ
                       การนาเสนออย่างภาคภูมิใจ
ด้านการสร้างคุณค่า
และมูลค่าของ          มีการนาเอาความรู/ภูมิปัญญา
                                          ้
ผลิตภัณฑ์ชุมชน         ท้องถิ่นมาจัดกิจกรรมการเรียนรู ้
                       เพื่อให้คนในชุมชนเกิดความ
มีผลิตภัณฑ์ที่สร้าง
                       ภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน
คุณค่า และมูลค่าที่    พร้อมกันนั้นก็สามารถจัดทาเป็ น
เป็ นเอกลักษณ์ของ      กิจกรรมการท่องเที่ยวได้ เช่น
ชุมชน                  การสอนทอผ้า การจักสาน
                       การละเล่นต่างๆ และการแสดง
                       พื้ นบ้าน
ด้านการบริหารของ
กลุมโฮมสเตย์
   ่               การบริหารจัดการต้องเป็ นการ
มีการรวมกลุ่มของ    รวมกลุ่มโดยการมีส่วนร่วมของ
ชาวบ้าน             ชุมชน สมาชิกกลุ่ม และชุมชน
                    ต้องมีความรู ้ ความเข้าใจ แนวคิด
                    หลักการ วัตถุประสงค์ วิธีการของ
                    โฮมสเตย์
ด้านการบริหารของ   มีการเลือกตั้งคณะกรรมการ
                    บริหารงาน ได้แก่ ประธาน รอง
กลุมโฮมสเตย์
   ่
                    ประธาน เหรัญญิก และกรรมการฝ่ าย
มีคณะกรรมการ        ต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของแต่ละ
                    ชุมชน
บริหารกลุ่มโฮมส
                   คณะกรรมการทุกคน ต้องมีความรู ้
เตย์                ความเข้าใจในปรัชญา หลักการ
                    ขั้นตอน วิธีการทางานของโฮมสเตย์
                    ตามบทบาทหน้าที่ ที่แต่ละคนได้รบ
                                                  ั
                    มอบหมาย
 มีกฎ กติกา วาระการทางาน การทางาน
                     ร่วมกันของคณะกรรมการ เช่น การจัด
ด้านการบริหารของ     ประชุมอย่างต่อเนื่ อง ก่อนจะรับนักท่องเที่ยว
กลุมโฮมสเตย์
   ่                 และหลังรับนักท่องเที่ยวหรือ จัดประชุม
                     ประจาเดือน
กฎ กติกา การ        มีการจัดสรรเงินรายได้เข้าส่วนกลางของ
ทางานของ             ชุมชนเพื่อสาธารณะประโยชน์ของชุมชน
คณะกรรมการ          มีแนวปฏิบติของกลุ่ม เช่น การต้อนรับ
                               ั
                     ร่วมกัน การให้ขอมูล การจัดลาดับกิจกรรม
                                    ้
                     การดูแลความปลอดภัย การติดตาม และ
                     ประเมินผล
                    มีแนวปฏิบติในการจองบ้านพัก และการ
                                ั
                     ชาระเงินล่วงหน้า
ด้านการบริหารของ   มีแนวทางในการทางานของ
กลุมโฮมสเตย์
   ่                คณะกรรมการตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้
กฎ กติกา การ       มีหลักเกณฑ์การเปิ ดรับสมาชิกโฮมส
                    เตย์
ทางานของ
                   มีการกาหนดขีดความสามารถในการ
คณะกรรมการ          รองรับนักท่องเที่ยว
                   มีรายละเอียดกิจกรรมการท่องเที่ยว
                    การให้บริการ และราคา
ด้านการบริหารของ
                   มีแนวปฏิบติหมุนเวียนการ
                               ั
กลุมโฮมสเตย์
   ่
                    ให้บริการ เช่น บ้าน รถ เรือ
มีการกระจาย         มัคคุเทศก์ เป็ นต้น
และผลประโยชน์      มีระบบการคิดราคาที่เป็ นที่
อย่างเป็ นธรรม      ยอมรับของกลุ่ม
                   มีการจัดสรรรายได้เข้ากองทุน
                    ชุมชน
ด้านการบริหารของ
กลุมโฮมสเตย์
   ่                มีระบบการจองล่วงหน้า
ระบบการจอง       มีการลงทะเบียนนักท่องเที่ยวเพื่อ
ล่วงหน้า          เป็ นข้อมูลในการเตรียมการและ
                  ให้บริการแก่นักท่องเที่ยว
ลงทะเบียน และ
                 มีการชาระเงินล่วงหน้า ใน
ชาระเงินล่วงหน้า
                       อัตราส่วนที่ทางกลุ่มเป็ นผูกาหนด
                                                  ้
ด้านการบริหารของ
กลุมโฮมสเตย์
   ่                มีการระบุค่าธรรมเนี ยมและ
                     ค่าบริการอย่างชัดเจนและเป็ น
รายละเอียด           ปั จจุบนไว้ในข้อมูลการ
                            ั
ค่าธรรมเนี ยม        ประชาสัมพันธ์ เช่น ค่าที่พก
                                               ั
และบริการต่างๆ       ค่าอาหาร ค่านาเที่ยว อาจจะคิด
ที่ชดเจน และเป็ น
    ั                เป็ นรายคนหรือคิดในลักษณะ
                     เหมาจ่าย
ปั จจุบน
       ั
ด้านการบริหารของ
กลุมโฮมสเตย์
   ่                มีระบบการจองล่วงหน้า
ระบบการจอง       มีการลงทะเบียนนักท่องเที่ยวเพื่อ
ล่วงหน้า          เป็ นข้อมูลในการเตรียมการและ
                  ให้บริการแก่นักท่องเที่ยว
ลงทะเบียน และ
                 มีการชาระเงินล่วงหน้า ใน
ชาระเงินล่วงหน้า
                       อัตราส่วนที่ทางกลุ่มเป็ นผูกาหนด
                                                  ้
ด้านการ
ประชาสัมพันธ์
มีเอกสาร         มีค่มือ แผ่นพับ แผนที่การ
                      ู
สิ่งพิมพ์         เดินทาง โปรแกรมการท่องเที่ยว
                  กิจกรรมการท่องเที่ยว ราคาและ
ประชาสัมพันธ์     สถานที่ติดต่อ
การท่องเที่ยวของ
ชุมชน
ด้านการ
ประชาสัมพันธ์
มีการเผยแพร่    มีเปาหมาย แผนงาน การ
                     ้
ประชาสัมพันธ์    เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์กบ
                                       ั
                 กลุ่มเปาหมายที่ชดเจน
                        ้        ั
IT & Homestay
 เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) และการตลาดออนไลน์
  (e-Marketing) เป็ นเครื่องมือในการพัฒนา
  ศักยภาพและส่งเสริมชุมชนที่ดาเนิ นการท่องเที่ยว
การทาการตลาดออนไลน์ (e-Marketing) เป็ น
 เครื่องมือสาคัญในการขยายโอกาสทางธุรกิจ ช่วยเพิ่ม
 รายได้ ลดค่าใช้จาย และสามารถเข้าสู่กลุ่มลูกค้าได้อย่าง
                 ่
 รวดเร็วในวงกว้าง
โฮมสเตย์ ท่ ได้ รับการรั บรอง
            ี
  มาตรฐานโฮมสเตย์ ไทย

More Related Content

What's hot

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน Manisa Piuchan
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)Manisa Piuchan
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยวchickyshare
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
มารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขกมารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขกsongsri
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการpraphol
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9Nurat Puankhamma
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 

What's hot (20)

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
Ch 0 intro to mice
Ch 0 intro to miceCh 0 intro to mice
Ch 0 intro to mice
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
3.นทท.
3.นทท.3.นทท.
3.นทท.
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
มารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขกมารยาทการต้อนรับแขก
มารยาทการต้อนรับแขก
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
 

Similar to ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay

แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)Manisa Piuchan
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorSomyot Ongkhluap
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาsuperglag
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาsuperglag
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาsuperglag
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพวSircom Smarnbua
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่งtie_weeraphon
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
เสน่ห์ที่ท่องเที่ยวไทย
เสน่ห์ที่ท่องเที่ยวไทยเสน่ห์ที่ท่องเที่ยวไทย
เสน่ห์ที่ท่องเที่ยวไทยChutima Su
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2tongsuchart
 
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวเศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวPare Liss
 

Similar to ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay (20)

แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behavior
 
112547
112547112547
112547
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
1
11
1
 
ก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทรายก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทราย
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
บท 1
บท 1บท 1
บท 1
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหา
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหา
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหา
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
บทที่ 1.docx
บทที่ 1.docxบทที่ 1.docx
บทที่ 1.docx
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
เสน่ห์ที่ท่องเที่ยวไทย
เสน่ห์ที่ท่องเที่ยวไทยเสน่ห์ที่ท่องเที่ยวไทย
เสน่ห์ที่ท่องเที่ยวไทย
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวเศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
 

More from Korawan Sangkakorn

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่Korawan Sangkakorn
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาKorawan Sangkakorn
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)Korawan Sangkakorn
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayKorawan Sangkakorn
 
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติอนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ Korawan Sangkakorn
 
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุKorawan Sangkakorn
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กKorawan Sangkakorn
 
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวLong stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวKorawan Sangkakorn
 

More from Korawan Sangkakorn (20)

Lanna longstay
Lanna longstayLanna longstay
Lanna longstay
 
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
 
LPB city plan
LPB city planLPB city plan
LPB city plan
 
Tourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPBTourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPB
 
CNX Tourism Situation
CNX Tourism SituationCNX Tourism Situation
CNX Tourism Situation
 
LPB Tourism Situation
LPB Tourism SituationLPB Tourism Situation
LPB Tourism Situation
 
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
 
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติอนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
 
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang mai
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
 
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวLong stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
 

ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay

  • 1. กรวรรณ สังขกร สถาบันวิจยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ั หลักสูตรอบรม “การจัดการทีพักแบบโฮมสเตย์ (Homestay)” รุ่นที่ 2 ่ สาขาวิชาการท่องเทียว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ่ วันที่ 25 มิถุนายน 2555
  • 3. การท่องเที่ยว เชิงนิเวศ การท่องเที่ยว Home ชุมชน stay
  • 4. ควำมหมำยของโฮมสเตย์ การท่องเที่ยวรูปแบบหนึ่ ง ที่นักท่องเที่ยวจะต้องพักรวมกับเจ้าของบ้าน ชายคาเดี ย วกั น โดยมี ห ้อ งพั ก หรื อ พื้ นที่ ใ ช้ส อยภายในบ้า นเหลื อ สามารถนามาดัดแปลงให้นักท่องเที่ยวพักได้ชวคราว ซึ่งมีจานวนไม่เกิน ั่ 4 ห้อง มีผพกรวมกันไม่เกิน 20 คน โดยมีค่าตอบแทน และจัดบริการ ู้ ั สิ่ ง อ านวยความสะดวกตามสมควร อัน มี ลัก ษณะเป็ นการประกอบ กิจการเพื่อหารายได้เสริม ซึ่งเป็ นไปตามบทนิ ยามคาว่า “โรงแรม” แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ โ รงแรม พ.ศ. 2547 และได้ขึ้ นทะเบี ย นกับ กรมการท่องเที่ยว ตามหลักเกณฑ์ที่กรมการท่องเที่ยวกาหนด ราชกิจจานุ เบกษา, 2555
  • 5. ควำมหมำยของโฮมสเตย์ บ้านพักประเภทหนึ่ งที่นักท่องเที่ยวพักร่วมกับเจ้าของบ้าน และมีวตถุประสงค์ที่จะเรียนรูวฒนธรรมและวิถีชีวตของ ั ้ั ิ ชาวบ้าน ซึ่งเต็มใจที่จะถ่ายทอดวัฒนธรรม แลกเปลี่ยนความรู ้ ซึ่งกันและกัน พร้อมทั้งจัดที่พกและอาหารให้กบนักท่องเที่ยว ั ั โดยได้รบค่าตอบแทนตามความเหมาะสม ั การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2545
  • 6. ควำมหมำยของโฮมสเตย์ บ้า นพั ก ที่ อ ยู่ ใ นชุ ม ชนชนบทที่ มี ป ระชาชนเป็ นเจ้า ของบ้า น และ ประชาชน หรื อสมาชิกในครัวเรื อนอาศัยอยู่ประจา และบ้านนั้ นเป็ น สมาชิ ก ของกลุ่ ม /ชมรม หรื อ สหกรณ์ที่ ร่ ว มจัด กัน เป็ นโฮมสเตย์ใ น ชุมชน โดยนักท่องเที่ยวสามารถเข้าพักร่วมกับเจ้าของบ้านได้ ซึ่งสมาชิก ในบ้านมีความยินดี และเต็ มใจที่จะรับนั กท่องเที่ ยว พร้อมทั้งถ่ายทอด ประเพณี วัฒ นธรรมอัน ดี ง ามของท้อ งถิ่ น แก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วและพา นั กท่องเที่ ยว เที่ ยวชมแหล่งท่องเที่ ยวและทากิจกรรมต่างๆเช่น เล่น น้ าตก ขี่จกรยาน นังเรือ เดินป่ าศึกษาธรรมชาติ ั ่ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
  • 7. ควำมหมำยของโฮมสเตย์ โฮมสเตย์ เป็ นบ้านที่มีความพร้อม สาหรับการแบ่งพื้ นที่ของบ้านพักอาศัยเพื่อให้บริการ กับนักท่องเที่ยว เสมือนเป็ นสมาชิกหรือญาติของ เจ้าของบ้านพัก โดยมีความพร้อมภายใต้การบริหารจัดการของชุมชน
  • 8. ประวัติของโฮมสเตย์ในไทย ยุคเริ่มต้น (ปี 2503 – 2525) กระจายอยู่ในกลุ่มนิ สิต นั กศึกษา กลุ่มออกค่ายอาสาพัฒนาชนบท ต้องเรียนรูวิถีชีวิต รับทราบปั ญหาในชนบท เพื่อนามาพัฒนาสังคม ้ ตามอุดมคติ กระจายอยู่ ใ นกลุ่ ม นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวต่ า งชาติ ที่ นิ ยมทั ว ร์ ป่ า โดยเฉพาะในแถบภาคเหนื อของประเทศไทย นั กท่ องเที่ ยวจะพัก ตามบ้านชาวเขา โดยจุดพักนั้นจะขึ้ นอยูกบเส้นทางการเดินป่ า ่ ั
  • 9. ประวัติของโฮมสเตย์ในไทย ยุคกลาง (ปี 2526 – 2536) กลุ่มนั กท่องเที่ ยวชาวต่า งชาติ ที่นิยมทัวร์ป่า เริ่ มได้รับความนิ ยม มากขึ้ น Homestay ได้รบการพัฒนารูปแบบและกิจกรรม ั โดยกระจายไปยังหมูบานชาวเขา ่ ้ เริ่มสร้างปั ญหาสังคม อาทิ ปั ญหายาเสพติด ปั ญหาโสเภณี ปั ญหา การปล้น ขโมย และปั ญหาการฆ่าชิงทรัพย์
  • 10. ประวัติของโฮมสเตย์ในไทย ยุคตั้งแต่ปี 2527 – ปั จจุบน ั เน้นกระแสการพัฒนาสังคมสิ่งแวดล้อม มีแนวโน้มที่เป็ นการท่องเที่ยวเชิงอนุ รกษ์ ั ในช่วงแรกกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวไทย กลุ่มนาร่องคือ กลุ่มที่เป็ นนักกิจกรรมสังคม พื้ นที่ที่ดาเนิ นการเรื่อง Homestay เป็ นพื้ นที่ที่องค์กรพัฒนาเอกชนไทย เข้าไปดาเนิ นการ ปี 2539 เป็ นต้นมา ได้มีการเคลื่อนไหวในกลุ่มนักธุรกิจ ผูประกอบการ ด้านการ ้ ท่ อ ง เ ที่ ย ว โ ด ย น า เ ส น อ รู ป แ บ บ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ผ ส ม ผ ส า น ร ะ ห ว่ า ง Adventure Ecotourism และ Homestay ปี 2541 – 2542 รัฐบาลได้ประกาศให้เป็ นปี ท่องเที่ยวไทย (Amazing Thailand) สนั บสนุ นกิจกรรมทางการท่องเที่ยว ทาให้เกิดการจัดการ ท่องเที่ยวในแหล่งชุมชน และขยายกิจกรรม Homestay เพิ่มมมากขึ้ น
  • 11. กำรจัดกำรโฮมสเตย์เบื้องต้น โฮมสเตย์ไม่จาเป็ นต้องเกิด ขึ้ นในทุ กๆ หมู่บาน แต่ตองคานึ งถึ งความพร้อม ้ ้ ความรู ้ ความเข้าใจของชุมชนเป็ นสาคัญ ชุมชนต้องมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ เน้นจุดขายที่วิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน ภายในบรรยากาศแบบธรรมชาติ ภูมิ- ปั ญญาท้องถิ่นที่น่าสนใจ การท่องเที่ยวเป็ นเพียงรายได้เสริมมิใช่รายได้หลักของชุมชน บริการที่ควรเสนอให้กบนักท่องเที่ยว: วิถีการดาเนิ นชีวิตของชุมชนที่เรียบง่าย ั แบบสัง คมชนบท วัฒ นธรรมท้อ งถิ่ น ที่ มี เ อกลัก ษณ์ ความปลอดภัย ความ สะอาด ห้อ งพัก พร้อ มอาหาร กิ จ กรรมทางการท่ อ งเที่ ย วที่ เ กี่ ย วข้อ งและ สอดคล้องกับชุมชน
  • 12. กำรจัดกำร (Management) ควรมีการรวมกลุ่มจัดตั้งในรูปของกลุ่ม/ชมรม/ สหกรณ์ ซึ่งสมาชิกและคนในชุมชนจะต้องมีความ เข้าใจ และมีส่วนร่วมในด้านการจัดการ
  • 13. บ้ำนพัก (Accommodation)  สมาชิกในครอบครัวต้องเต็มใจต่อการรับผูมาเยือน บ้านพักมี ้ โครงสร้างที่ดี ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดี ไม่ไกลจากเมืองหรือพื้ นที่ เทศกาล หรือสถานที่ท่องเที่ยว การจัดเตรียมที่พก จะหมายรวมถึง ั การจัดเตรียมห้องพัก ห้องอาบน้ า ห้องส้วม และห้องนังเล่น ไว้ ่ สาหรับรองรับนักท่องเที่ยว ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้  เป็ นบ้านที่มีอากาศท่ายเทได้สะดวก ไม่มีกลิ่นอับ  มีการจัดเตรียมสถานที่พบปะกัน (สถานที่นังเล่น) ่ เพื่อเป็ นสถานที่นังพูดคุยแลกเปลี่ยนความรูระหว่างเจ้าของบ้าน ่ ้ กับนักท่องเที่ยว เป็ นการสร้างมิตรภาพและเรียนรูซึ่งกันและกัน ้
  • 14. ห้องพัก (Room)  ห้องพัก สาหรับนักท่องเที่ยวต้องมีความเป็ นส่วนตัวและเรียบ ง่าย  มีเครื่องนอน (ที่นอน/หมอน/ผ้าปู/ผ้าห่ม/มุง) ที่สะอาด ้  ทาความสะอาดเครื่องนอนทุกครั้งที่นักท่องเที่ยวออกจากที่พก ั และจัดปูใหม่อย่างเรียบร้อยเมื่อมีนักท่องเที่ยวรายใหม่เข้าพัก  มีไฟฟ้ า/ ตะเกียง ให้แสงสว่างเพียงพออย่างเหมาะสม  อาจจัดให้มีเครื่องเรือน เครื่องใช้อื่นๆ เพื่อเพิ่มความสะดวก ให้แก่ผมาพักค้างแรม เช่น ไม้แขวนเสื้ อ ราวพาดผ้าเช็ดตัว ู้ โต๊ะเล็กๆ สาหรับวางของ อ่านหรือเขียนหนังสือ
  • 15. กำรดูแลที่พัก (Home Keeping Produce) ความสะอาดเป็ นสิ่งสาคัญมากสาหรับนักท่องเที่ยว ควรมีการทาความสะอาดที่พกและบริเวณโดยรอบ ั บ้านพักอยูเสมอ โดยเฉพาะการเปลี่ยนผ้าปูที่นอน ่ อุปกรณ์สาหรับการนอนส่วนตัวทุกครั้งเมื่อมี นักท่องเที่ยวเข้าพัก
  • 16. ควำมสะอำดของบ้ำน  บ้านพักควรมีอากาศที่สามารถถ่ายเทได้สะดวก  แสงสว่างสามารถส่องเข้ามาถึง ปราศจากความชื้ น ไม่มีกลิ่นอับ  มีหลังคาที่สามารถกันน้ าได้ดี  ทาความสะอาดภายในห้องพักเป็ นประจา  ต้องเปลี่ยนผ้าปูที่นอน และอุปกรณ์ส่วนตัวสาหรับผูมาเยือนทุก ้ ครั้ง  หมันกาจัดแมลงที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพอยูเสมอ ่ ่
  • 17. ห้องน้ำ (The Bathroom)  ห้องน้ าจะเป็ นห้องที่ผมาเยือนจะมาร่วมใช้กบเจ้าของบ้าน สิ่งสาคัญ ู้ ั ก็คือความสะอาด จะต้องมีการทาความสะอาดอยูเป็ นประจาและ ่ สมาเสมอ ่  ควรมีการจัดเตรียมเครื่องใช้สาหรับอาบน้ าเพื่อบริการแก่ผมาพัก ู้ ค้างแรม เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าขาวม้า รวมทั้ง อุปกรณ์ในห้องน้ า  ควรอธิบายวีธีการใช้อุปกรณ์ในห้องน้ า การตักน้ าอาบ เพื่อปองกัน ้ การใช้อุปกรณ์ไม่ถกต้อง ู
  • 18. ควำมปลอดภัยของชุมชน  ควรมีการจัดเวรยามเฝ้ าระวังและดูแลความปลอดภัย โดยมีตารางเวรยามที่ชดเจน ั  มีอุปกรณ์สื่อสาร เช่น โทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ โทรสาร วิทยุสื่อสาร สาหรับติดต่อเจ้าหน้าที่ ตารวจ ทหาร พยาบาล สาธารณสุข พนักงานดับเพลิง  จัดเก็บเบอร์โทรศัพท์ และที่อยู่ สาหรับติดต่อในกรณีฉุกเฉิน และต้องแจ้งให้สมาชิกกลุ่มทุกคน ทราบ โดยเฉพาะสมาชิกกลุ่มที่มีภารกิจรับผิดชอบด้านการรักษาความปลอดภัยในชุมชน  ควรจัดฝึ กอบรมสมาชิกให้สามารถปฐมพยาบาลเบื้ องต้นได้  มีการแจ้งเตือนให้นักท่องเที่ยวระวังรักษาทรัพย์สินมีค่า  ต้องมีการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับโรคประจาตัวของนักท่องเที่ยวในเอกสารใบสมัครการเข้าพัก โฮมสเตย์ และหากนักท่องเที่ยวมีโรคประจาตัว ควรแจ้งเตือนนักท่องเที่ยวให้เตรียมยาไว้ติดตัว มาด้วย
  • 19. ควำมปลอดภัยของที่พัก  ต้องสร้างความคุนเคยกับผูมาเยือน เสมือนญาติสนิ ท ้ ้  หมันตรวจตรา ดูแลความเป็ นระเบียบเรียบร้อยภายในบ้าน ่ ว่ามีความปลอดภัยหรือไม่  แจ้งให้เก็บทรัพย์สิน เงินสดต่างๆ ไว้ในที่ที่ปลอดภัย
  • 20. ทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว  ต้องมีการดูแลและซ่อมแซมล็อค และกลอน อยูตลอดเวลา ่  เตือนนักท่องเที่ยวให้เก็บทรัพย์สินอย่างปลอดภัย  ถ้านักท่องเที่ยวลืมทรัพย์สินไว้เจ้าของบ้านควรเก็บไว้ในที่ที่ ปลอดภัย และพยายามติดต่อเจ้าของเพื่อมารับคืน
  • 21. กำรกำหนดระเบียบและข้อปฏิบัติสำหรับนักท่องเที่ยว  วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และความเชื่อ ของแต่ละชุมชนอาจแตกต่าง กัน  การกาหนดระเบียบและข้อปฏิบติสาหรับนักท่องเที่ยว อาทิ การแต่งกาย ั การนอน การกาหนดเวลาการเข้าออกบ้านพัก จึงเป็ นสิ่งสาคัญเพื่อมิ ก่อให้เกิดปั ญหาที่ขดต่อวัฒนธรรม จารีต ประเพณีและความเชื่อของ ั ชุมชน  นักท่องเที่ยวจะต้องยอมรับและปฏิบติตาม ั  ควรมีการชี้ แจงตั้งแตขั้นตอนการจองหรือลงทะเบียนการเข้าพัก กรณีที่ นักท่องเที่ยวไม่สามารถปฏิบติได้ ก็สามารถที่จะปฏิเสธการเข้าพักได้ ั เช่นเดียวกัน
  • 22. กำรต้อนรับ (Reception)  การต้อนรับนักท่องเที่ยวดุจญาติมิตรจะทาให้นักท่องเที่ยวเกิดความรูสึกอบอุ่น ้  มีการจัดพื้ นที่ตอนรับที่จุดศูนย์กลางของชุมชน เพื่อดาเนิ นการต้อนรับ ้ ลงทะเบียนการเข้าพัก หรือการให้ขอมูลด้านการท่องเที่ยว ้  อาจให้การต้อนรับนักท่องเที่ยวด้วยวัฒนธรรมประจาถิ่นเพื่อสร้างความ ประทับใจ เช่น ภาคอีสานและเหนื อ ต้อนรับด้วยการบายศรีส่ขวัญ หรืออาจจะ ู เป็ นช่อดอกไม้ พวงมาลัยเล็กๆ ที่สามารถหาได้จากท้องถิ่นมอบให้กบั นักท่องเที่ยว
  • 23. กำรจองที่พัก (Reservation)  การจองที่พกสามารถทาได้หลายวิธี อาทิ การจองทางไปรษณีย์ การจองทาง ั โทรศัพท์ การจองทางแฟกซ์ การจองผ่านเครือข่าย Internet  การจองที่พกควรได้รบการตอบสนองโดยทันที ั ั  มีการยืนยันการเข้าพักของนักท่องเที่ยว
  • 24. ขั้นตอนของกำรจัดกำรระบบกำรจองทีพัก ่  จัดลาดับบ้านพักที่จะให้บริการ  ตอบรับการจอง  อาจเรียกเก็บค่าบริการบางส่วน เพื่อปองกันการยกเลิกของ ้ นักท่องเที่ยว  เก็บบันทึกข้อมูลการจองสาหรับการลงทะเบียนเข้าพัก
  • 25. กำรลงทะเบียน (Registration)  แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับค่าธรรมเนี ยมการเข้าพักและ บริการต่างๆ ที่จดเตรียมไว้สาหรับนักท่องเที่ยว ั  ให้นักท่องเที่ยวกรอกรายละเอียดและลงชื่อในใบลงทะเบียน การเข้าพัก  แจ้งรายละเอียดข้อมูลที่เป็ นประโยชน์เกี่ยวกับชุมชนและ สภาพทัวไป ่  นานักท่องเที่ยวไปยังบ้านพัก
  • 26. ควำมสำคัญของกำรลงทะเบียน  ทาให้เจ้าของบ้านทราบข้อมูลเกี่ยวกับนักท่องเที่ยว  ช่วยในการจัดเตรียมบ้านพัก  ทาให้ทราบวันออกจากที่พกของนักท่องเที่ยวแต่ละคน ั นาวางแผนการเข้าพักของแขกในลาดับต่อๆ ไป  เป็ นข้อมูลการเข้าพักให้ผดแลรักษาความปลอดภัย ู้ ู
  • 27. กำรบริกำรอำหำร  มีการวางแผนในการจัดเตรียมอาหาร พิจารณาถึง เชื้ อชาติและการนับถือศาสนาของนักท่องเที่ยว งบประมาณในการจัดทาอาหาร ปั จจัยด้านฤดูกาล อาหารประจาท้องถิ่น และจานวนนักท่องเที่ยว  ชนิ ดของอาหาร ควรเป็ นอาหารพื้ นบ้านซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่น  วัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงอาหาร ควรเป็ นสิ่งที่หาได้ในพื้ นที่เป็ นหลัก  ควรมีการสอบถามข้อมูลความชอบในรสชาติของอาหารและประเภทของอาหารที่กินไม่ได้จากนักท่องเที่ยว ตั้งแต่ในขั้นตอนของการจองที่พก ั  ภาชนะที่ใช้ในการปรุงและรับประทานอาหารต้องมีความสะอาดและปราศจากกลิ่น  ควรแยกล้างภาชนะที่ใส่อาหารกับแก้วน้ าดื่ม โดยให้ลางแก้วน้ าก่อน ้  มีอุปกรณ์ที่จาเป็ นพื้ นฐานในการประกอบอาหาร เช่น เตา ซึ่งอาจเป็ นเตาแก๊สหรือเตาถ่านก็ได้ ตูกบข้าว ้ั กระทะ หม้อ ตะหลิว  เจ้าของบ้านและนักท่องเที่ยวควรรับประทานอาหารพร้อมกัน เป็ นการเรียนรูวฒนธรรมการกินอาหาร ้ั ร่วมกัน  เชิญให้นักท่องเที่ยวเข้าร่วมในกิจกรรมการจัดการประกอบอาหาร หากนักท่องเที่ยวสนใจ
  • 28. กรอบคิดในกำรประเมินมำตรฐำน Homestay มุมมองเกี่ยวกับ Homestay  การจัดทา Homestay ต้องประกอบด้วยคน และจิตใจวิญญาณของ ชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาจะต้องสร้างฐานของชุมชนให้แน่ นและพร้อม ก่อน ในแต่ละชุมชนจะต้องมีจุดยืนที่ชดเจน มีวิถีชีวิต วัฒนธรรม ั ประเพณีที่แสดงออกถึงท้องถิ่นและความเป็ นไทย สิ่งสาคัญคือการ เต็มใจรับผูมาเยือน การให้ชุมชนเป็ นเจ้าของกิจการเอง และมีการ ้ แบ่งปั นผลประโยชน์อย่างเป็ นธรรม
  • 29. กรอบคิดในกำรประเมินมำตรฐำน Homestay Homestay กับการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวรูปแบบอื่น  การจัดการ Homestay มักจะมีการนาเอากิจกรรมท่องเที่ยวอื่นเข้ามา เชื่อมโยงด้วย เช่น การท่องเที่ยวที่มุงความยังยืนของชุมชน ่ ่ (Sustainable Tourism) การท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) ที่คานึ งถึงการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมการท่องเที่ยว เชิงนิ เวศ กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิง สุขภาพ กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงประวัตศาสตร์ เป็ นต้น ิ
  • 30. เกณฑ์กำหนดแหล่งท่องเที่ยวเพื่อกำรจัดกำรที่ยั่งยืน (Criteria for tourism destination)  มีเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ของคนท้องถิ่นดั้งเดิม มีความสะอาด ร่มรื่น  มีความพร้อมในการบริหารจัดการ และการบริการ เช่น มีสุขาสะอาด มีความปลอดภัย สะดวกต่อการ เดินทางของนักท่องเที่ยวทุกระดับ  มีการจัดทาเส้นทางศึกษาแหล่งท่องเที่ยว มีปายสื่อความหมาย หรือแผนที่บนเส้นทางท่องเที่ยวเป็ นระยะๆ ้  มีการกาหนดขีดความสามารถในการรองรับของพื้ นที่ จานวนนักท่องเที่ยวที่รบได้ต่อครั้งต่อวัน ั  มีมคคุเทศก์ หรือนักสื่อความหมายท้องถิ่น ที่รอบรูนาชม เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ความรู ้ มีความเข้าใจ มี ั ้ ความทรงจา ได้รบประสบการณ์เพิ่มขึ้ น ั  มีการประสานงานความร่วมมือในท้องถิ่น เช่น ชุมชน องค์กรภาค องค์กรเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแบ่งปั นผลประโยชน์อย่างโปร่งใส ยุติธรรม  มีแผนงานพัฒนา เช่น แผนการส่งเสริมการท่องเที่ยว แผนรักษาสภาพแวดล้อม แผนภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 32. ด้านที่พก ั ลักษณะบ้านพัก เป็ นบ้านของเจ้าของที่แบ่งปั นที่ ที่เป็ นสัดส่วน นอน หรือห้องนอน อย่างเป็ น สัดส่วน หรืออาจปรับปรุงต่อเติม ที่พก ที่ติดกับบ้านเดิมเพื่อใช้เป็ น ั ที่นอนหรือห้องนอน
  • 33. มีที่นอนสาหรับนักท่องเที่ยว อาจ ด้านที่พก ั เป็ นเตียง ฟูก หรือเสื่อ และมีมุง ้ หรือมุงลวดเพื่อปองกันยุงและแมลง ้ ้ ที่พกที่นอน ั มีเครื่องนอน อุปกรณ์ที่ใช้นอน ผ้าปู สะอาด และ หมอน ปลอกหมอน ผ้าห่ม และ ได้รบการทาความสะอาดทุกครั้งที่มี ั สบาย การเปลี่ยนนักท่องเที่ยวกลุ่มใหม่ และเปลี่ยนเครื่องนอนตามความ เหมาะสมในกรณีที่นักท่องเที่ยวพัก หลายวัน มีราวตากผ้าหรือที่เก็บเสื้ อผ้า
  • 34. มีความปลอดภัย มีที่ล็อคประตูอยู่ ด้านที่พก ั ในสภาพใช้งานได้ดี มีความมิดชิด ห้องอาบน้ าและ มีขนาดของห้องน้าที่เหมาะสม มี ห้องส้วมที่ อากาศถ่ายเทได้สะดวก มีการแยกขันสาหรับตักอาบน้ า สะอาดมิดชิด น้ าที่ใช้สะอาด อาจเป็ นประปา หมู่บาน ประปาภูเขา หรือน้ าดิบที่ ้ ปล่อยไว้ระยะหนึ่ งและแกว่งสารส้ม มีถงขยะในห้องน้ า ั
  • 35. ด้านที่พก ั มีมุมพักผ่อน ที่สงบ สบายภายใน มีมุมพักผ่อน บ้านหรือบริเวณโดยรอบที่ สามารถนัง นอนและมี ่ ภายในบ้านหรือ บรรยากาศผ่อนคลาย เช่น ลาน ในชุมชน บ้าน ใต้ตนไม้ ศาลาหน้าบ้าน ้ มีการดูแลบริเวณรอบบ้าน เช่น สวนครัว ต้นไม้ ไม้ดอกไม้ประดับ ร่องน้ า ให้สะอาด ปราศจากขยะ
  • 36. ด้านอาหารและ โภชนาการ มีปริมาณ และประเภทอาหารที่ ชนิ ดของอาหาร เหมาะสม และวัตถุดิบที่ใช้ ผลิตโดยใช้วตถุดิบในท้องถิ่น ไม่ ั ประกอบอาหาร ซื้ ออาหารหรือกับข้าวถุง มีการปรุงอาหารอย่างถูก สุขอนามัย
  • 37. ด้านอาหารและ โภชนาการ มีน้ าดื่มที่ มีที่เก็บน้ า/ภาชนะเก็บน้ าที่ สะอาด สะอาดไม่มีตะกอน มีฝาปิ ดมิดชิด มีน้ าดื่มที่สะอาด ผ่าน กระบวนการทาความสะอาด
  • 38. ด้านอาหารและ โภชนาการ ภาชนะที่บรรจุ มีภาชนะที่เกี่ยวข้องกับอาหาร อาหารที่สะอาด เช่น ถ้วย ชาม จาน ช้อน ช้อน กลาง ทัพพี โถข้าวที่สะอาดไม่มี คราบ และกลิ่นคาว กลิ่นอับ
  • 39. ด้านอาหารและ ครัวอาจอยูในบ้าน หรือแยกจาก ่ โภชนาการ ตัวบ้านก็ได้ และมีการดูแลความ ห้องครัว และ สะอาดอยูเสมอ ่ อุปกรณ์ที่ใช้ใน มีอุปกรณ์การเก็บเครื่องปรุง วัตถุดิบ ที่สะอาดสามารถปองกัน ้ ครัวที่ถูก เชื้ อโรคและสิ่งสกปรก มีที่เก็บ สุขลักษณะ มิดชิด ที่แขวน หรือมีฝาชีครอบ หรือคลุมผ้า มีการจัดการขยะที่ถูกสุขอนามัย
  • 40. ด้านความ ปลอดภัย มีแนวทางปฏิบติเพื่อการช่วยเหลือ ั มีการเตรียม เบื้ องต้น เมื่อนักท่องเที่ยวเกิดเจ็บป่ วย หรือได้รบอุบติเหตุ ั ั ความพร้อม มียาสามัญประจาบ้าน ที่อยูในสภาพ ่ เกี่ยวกับการ ใช้ได้ทนที (ยังไม่หมดอายุ) ั ปฐมพยาบาล เจ้าของบ้านควรซักถามถึงโรค ประจาตัวหรือบุคคลที่ติดต่อได้ทนทีใน ั เบื้ องต้น กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินกับนักท่องเที่ยว
  • 41. ด้านความ มีการแจ้งให้ผใหญ่บานหรือกานัน ู้ ้ ปลอดภัย รับทราบ ขณะมีนักท่องเที่ยวในบ้าน มีการจัดเวร เพื่อขอความร่วมมือในการดูแลรักษา ความสงบ ความปลอดภัย ยามดูแลความ มีการจัดเวรยามดูแลรักษาความ ปลอดภัย ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เช่น รถยนต์ เมื่อมีเหตุรายต้องมีเครื่องมือสื่อสาร ้ ติดต่อกับหน่ วยงานที่รบผิดชอบ ั โดยตรงได้
  • 42. ด้านอัธยาศัยไมตรีของ เจ้าบ้านและสมาชิก มีการแนะนานักท่องเที่ยวกับ สมาชิกในครัวเรือนทุกคนที่ การต้อนรับและ อยูในขณะนั้น เพื่อรูจกและ ่ ้ั การสร้าง เรียนรูวถีชีวตของเจ้าของบ้าน ้ิ ิ ความคุนเคย ้ ผ่านกิจกรรมต่างๆ ภายใน บ้าน เช่น เก็บผักสวนครัว ร่วมกัน ทากับข้าวร่วมกัน รับประทานอาหารร่วมกัน
  • 43. ด้านอัธยาศัยไมตรีของ เจ้าของบ้านมีการแลกเปลี่ยนให้ เจ้าบ้านและสมาชิก ข้อมูล อาจเป็ นเอกสารภาพถ่าย หรือการพูดคุยในเรื่องเกี่ยวกับ การสร้าง วิถีชีวต สังคม และวัฒนธรรมใน ิ กิจกรรม ชุมชนอย่างเหมาะสม แลกเปลี่ยน เจ้าของบ้านเปิ ดโอกาสให้ นักท่องเที่ยวเรียนรูวถีชีวตของ ้ิ ิ ความรูในวิถี ้ ตนเอง เช่น ไปดูไร่-นา ออก ของชุมชน ทะเล เก็บใบชา ทอผ้า จักสาน เป็ นต้น ซึ่งจะเป็ นโอกาสของการ แลกเปลี่ยนเรียนรูวถีชีวต ้ิ ิ
  • 44. ด้านกิจกรรมการ ท่องเที่ยว มีการวางแผนโปรแกรมการ ท่องเที่ยวร่วมกันของชุมชนและ มีรายการนาเที่ยว กลุ่มโฮมสเตย์ เพื่อการกระจาย ที่ชดเจนซึ่งต้อง ั รายได้ให้เกิดขึ้ นในแต่ละหมูบาน ่ ้ ผ่านการยอมรับ หรือแต่ละกลุ่มกิจกรรม จากชุมชน มีโปรแกรมการท่องเที่ยวที่ เผยแพร่ส่สาธารณะและ ู นักท่องเที่ยวที่ชดเจน สอดคล้อง ั กับสภาพความเป็ นจริงของชุมชน
  • 45. ด้านกิจกรรมการ ท่องเที่ยว ข้อมูลกิจกรรม มีขอมูลรายละเอียดกิจกรรมใน ้ การท่องเที่ยว โปรแกรมการท่องเที่ยวที่ หลากหลายแตกต่างกันตาม ภูมิศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม เพื่อให้นักท่องเที่ยวตัดสินใจเลือก ได้
  • 46. ด้านกิจกรรมการ ท่องเที่ยว กลุ่มหรือเจ้าของบ้านเป็ นผูนา ้ เที่ยวเพื่อให้ความรูความเข้าใจ ้ เจ้าของบ้านเป็ น เกี่ยวกับทรัพยากร สิ่งแวดล้อม มัคคุเทศก์ทองถิ่น ้ วัฒนธรรม ศิลปะ สถาปั ตยกรรม หรือประสานงาน การแสดง ความเชื่อ ค่านิ ยม ภายในชุมชนแก่นักท่องเที่ยว ให้มคคุเทศก์ ั มีการจัดทาสื่อ เช่น สิ่งพิมพ์ รูป ท้องถิ่นนาเที่ยว ถ่าย ภาพวาด เพื่อการเรียนรูของ ้ นักท่องเที่ยว
  • 47. ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ มีแหล่งดึงดูดความสนใจของ และสภาพแวดล้อม นักท่องเที่ยวซึ่งอาจเป็ นแหล่ง มีแหล่งท่องเที่ยว ธรรมชาติ เช่น แม่น้ า ภูเขา หรือ ภายในชุมชน แหล่งท่องเที่ยวที่มนุ ษย์สร้างขึ้ น หรือบริเวณ เช่น วัดเจดีย ์ เป็ นต้น หรือใช้ แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียงเป็ นส่วน ใกล้เคียง หนึ่ งของโปรแกรมการท่องเที่ยว
  • 48. ชุมชนมีกฎ กติกา การใช้ ด้าน ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ชดเจน ั ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้การใช้ประโยชน์เป็ นไป และสภาพแวดล้อม อย่างยังยืน เช่น ปริมาณ ่ นักท่องเที่ยวที่ชุมชนรองรับได้ มีการดูแลแหล่ง การไม่เก็บพันธุพืชออกจากป่ า ์ ท่องเที่ยว เป็ นต้น มีกิจกรรมที่สมพันธ์กบงานการ ั ั ฟื้ นฟู อนุ รกษ์แหล่งท่องเที่ยวใน ั หลากหลายรูปแบบ เช่น การปลูก ป่ า การจัดค่ายอนุ รกษ์ ั สิ่งแวดล้อมสาหรับเยาวชน
  • 49. ธรรมชาติและ สภาพแวดล้อม มีแผนงาน หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรการอนุ รกษ์ ั ชุมชนและกลุ่มโฮมสเตย์มี ทรัพยากรธรรมชา แผนงาน มาตรการ และ ติ เพื่อลด แนวทางปฏิบติในการจัดการ ั ขยะอย่างถูกวิธี เช่น การแยก ผลกระทบจากการ ขยะ ไม่เผาขยะ ท่องเที่ยว และลด สภาวะโลกร้อน
  • 50. ธรรมชาติและ สภาพแวดล้อม เน้นใช้ทรัพยากรธรรมชาติใน มีกิจกรรมในการ ท้องถิ่น เช่น ห่อข้าวด้วยวัสดุที่มา ลดผลกระทบจาก จากธรรมชาติ การท่องเที่ยว เพื่อ มีกิจกรรมที่ลดการใช้ทรัพยากร การอนุ รกษ์ ั อย่างสิ้ นเปลือง เช่น ใช้จกรยาน ั ทรัพยากรธรรมชา แทนการใช้รถ ใช้เรือพายแทน ติและสิ่งแวดล้อม การใช้เครื่องยนต์ หรือการใช้ และลดสภาวะโลก หลอดประหยัดไฟในครัวเรือน ร้อน
  • 51.  มีบานเก่า หรือบ้านที่แสดงถึงวัฒนธรรม ้ ด้านวัฒนธรรม ดั้งเดิม เพื่อสร้างความสนใจแก่นักท่องเที่ยว การดารงรักษาไว้  มีการรวบรวมองค์ความรูดานวัฒนธรรม ้ ้ ท้องถิ่น เพื่อนาสู่การเผยแพร่ที่ถกต้องแก่ ู ซึ่งวัฒนธรรม นักท่องเที่ยว ประเพณีทองถิ่น ้  ชุมชนและโรงเรียนมีแผนงานฟื้ นฟู อนุ รกษ์ ั และถ่ายทอดวัฒนธรรม ศิลปะ และ การละเล่นพื้ นบ้าน  ผูแสดงทางวัฒนธรรม และผูที่เกี่ยวข้องมี ้ ้ ส่วนร่วมในการวางแผนเนื้ อหา รูปแบบ และ การนาเสนออย่างภาคภูมิใจ
  • 52. ด้านวัฒนธรรม การรักษาวิถีชุมชน มีการดาเนิ นวิถีชีวิตที่เป็ นปกติ คงไว้เป็ นกิจวัตร เช่น การตักบาตร การทาบุญที่วด ั ปกติ การไหว้ศาลปู่ ตา เป็ นต้น ไม่ควร เปลี่ยนหรือจัดทาใหม่ เพื่อ ตอบสนองความต้องการของ นักท่องเที่ยว
  • 53. ด้านการสร้างคุณค่า  มีบานเก่า หรือบ้านที่แสดงถึงวัฒนธรรม ้ และมูลค่าของ ดั้งเดิม เพื่อสร้างความสนใจแก่นักท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ชุมชน  มีการรวบรวมองค์ความรูดานวัฒนธรรม ้ ้ ผลิตภัณฑ์จาก ท้องถิ่น เพื่อนาสู่การเผยแพร่ที่ถกต้องแก่ ู นักท่องเที่ยว ชุมชนเพื่อเป็ นของ  ชุมชนและโรงเรียนมีแผนงานฟื้ นฟู อนุ รกษ์ ั ที่ระลึก ของฝาก และถ่ายทอดวัฒนธรรม ศิลปะ และ หรือจาหน่ ายแก่ การละเล่นพื้ นบ้าน  ผูแสดงทางวัฒนธรรม และผูที่เกี่ยวข้องมี ้ ้ นักท่องเที่ยว ส่วนร่วมในการวางแผนเนื้ อหา รูปแบบ และ การนาเสนออย่างภาคภูมิใจ
  • 54. ด้านการสร้างคุณค่า และมูลค่าของ มีการนาเอาความรู/ภูมิปัญญา ้ ผลิตภัณฑ์ชุมชน ท้องถิ่นมาจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ เพื่อให้คนในชุมชนเกิดความ มีผลิตภัณฑ์ที่สร้าง ภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน คุณค่า และมูลค่าที่ พร้อมกันนั้นก็สามารถจัดทาเป็ น เป็ นเอกลักษณ์ของ กิจกรรมการท่องเที่ยวได้ เช่น ชุมชน การสอนทอผ้า การจักสาน การละเล่นต่างๆ และการแสดง พื้ นบ้าน
  • 55. ด้านการบริหารของ กลุมโฮมสเตย์ ่ การบริหารจัดการต้องเป็ นการ มีการรวมกลุ่มของ รวมกลุ่มโดยการมีส่วนร่วมของ ชาวบ้าน ชุมชน สมาชิกกลุ่ม และชุมชน ต้องมีความรู ้ ความเข้าใจ แนวคิด หลักการ วัตถุประสงค์ วิธีการของ โฮมสเตย์
  • 56. ด้านการบริหารของ มีการเลือกตั้งคณะกรรมการ บริหารงาน ได้แก่ ประธาน รอง กลุมโฮมสเตย์ ่ ประธาน เหรัญญิก และกรรมการฝ่ าย มีคณะกรรมการ ต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของแต่ละ ชุมชน บริหารกลุ่มโฮมส คณะกรรมการทุกคน ต้องมีความรู ้ เตย์ ความเข้าใจในปรัชญา หลักการ ขั้นตอน วิธีการทางานของโฮมสเตย์ ตามบทบาทหน้าที่ ที่แต่ละคนได้รบ ั มอบหมาย
  • 57.  มีกฎ กติกา วาระการทางาน การทางาน ร่วมกันของคณะกรรมการ เช่น การจัด ด้านการบริหารของ ประชุมอย่างต่อเนื่ อง ก่อนจะรับนักท่องเที่ยว กลุมโฮมสเตย์ ่ และหลังรับนักท่องเที่ยวหรือ จัดประชุม ประจาเดือน กฎ กติกา การ  มีการจัดสรรเงินรายได้เข้าส่วนกลางของ ทางานของ ชุมชนเพื่อสาธารณะประโยชน์ของชุมชน คณะกรรมการ  มีแนวปฏิบติของกลุ่ม เช่น การต้อนรับ ั ร่วมกัน การให้ขอมูล การจัดลาดับกิจกรรม ้ การดูแลความปลอดภัย การติดตาม และ ประเมินผล  มีแนวปฏิบติในการจองบ้านพัก และการ ั ชาระเงินล่วงหน้า
  • 58. ด้านการบริหารของ มีแนวทางในการทางานของ กลุมโฮมสเตย์ ่ คณะกรรมการตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ กฎ กติกา การ มีหลักเกณฑ์การเปิ ดรับสมาชิกโฮมส เตย์ ทางานของ มีการกาหนดขีดความสามารถในการ คณะกรรมการ รองรับนักท่องเที่ยว มีรายละเอียดกิจกรรมการท่องเที่ยว การให้บริการ และราคา
  • 59. ด้านการบริหารของ มีแนวปฏิบติหมุนเวียนการ ั กลุมโฮมสเตย์ ่ ให้บริการ เช่น บ้าน รถ เรือ มีการกระจาย มัคคุเทศก์ เป็ นต้น และผลประโยชน์ มีระบบการคิดราคาที่เป็ นที่ อย่างเป็ นธรรม ยอมรับของกลุ่ม มีการจัดสรรรายได้เข้ากองทุน ชุมชน
  • 60. ด้านการบริหารของ กลุมโฮมสเตย์ ่ มีระบบการจองล่วงหน้า ระบบการจอง มีการลงทะเบียนนักท่องเที่ยวเพื่อ ล่วงหน้า เป็ นข้อมูลในการเตรียมการและ ให้บริการแก่นักท่องเที่ยว ลงทะเบียน และ มีการชาระเงินล่วงหน้า ใน ชาระเงินล่วงหน้า อัตราส่วนที่ทางกลุ่มเป็ นผูกาหนด ้
  • 61. ด้านการบริหารของ กลุมโฮมสเตย์ ่ มีการระบุค่าธรรมเนี ยมและ ค่าบริการอย่างชัดเจนและเป็ น รายละเอียด ปั จจุบนไว้ในข้อมูลการ ั ค่าธรรมเนี ยม ประชาสัมพันธ์ เช่น ค่าที่พก ั และบริการต่างๆ ค่าอาหาร ค่านาเที่ยว อาจจะคิด ที่ชดเจน และเป็ น ั เป็ นรายคนหรือคิดในลักษณะ เหมาจ่าย ปั จจุบน ั
  • 62. ด้านการบริหารของ กลุมโฮมสเตย์ ่ มีระบบการจองล่วงหน้า ระบบการจอง มีการลงทะเบียนนักท่องเที่ยวเพื่อ ล่วงหน้า เป็ นข้อมูลในการเตรียมการและ ให้บริการแก่นักท่องเที่ยว ลงทะเบียน และ มีการชาระเงินล่วงหน้า ใน ชาระเงินล่วงหน้า อัตราส่วนที่ทางกลุ่มเป็ นผูกาหนด ้
  • 63. ด้านการ ประชาสัมพันธ์ มีเอกสาร มีค่มือ แผ่นพับ แผนที่การ ู สิ่งพิมพ์ เดินทาง โปรแกรมการท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว ราคาและ ประชาสัมพันธ์ สถานที่ติดต่อ การท่องเที่ยวของ ชุมชน
  • 64. ด้านการ ประชาสัมพันธ์ มีการเผยแพร่ มีเปาหมาย แผนงาน การ ้ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์กบ ั กลุ่มเปาหมายที่ชดเจน ้ ั
  • 65. IT & Homestay  เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) และการตลาดออนไลน์ (e-Marketing) เป็ นเครื่องมือในการพัฒนา ศักยภาพและส่งเสริมชุมชนที่ดาเนิ นการท่องเที่ยว การทาการตลาดออนไลน์ (e-Marketing) เป็ น เครื่องมือสาคัญในการขยายโอกาสทางธุรกิจ ช่วยเพิ่ม รายได้ ลดค่าใช้จาย และสามารถเข้าสู่กลุ่มลูกค้าได้อย่าง ่ รวดเร็วในวงกว้าง
  • 66. โฮมสเตย์ ท่ ได้ รับการรั บรอง ี มาตรฐานโฮมสเตย์ ไทย