SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
Download to read offline
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา 040105
อาจารย์มัลลิกา ผ่องแผ้ว
บทที่ 2 การฟัง
รายละเอียดเนื้อหาวิชาภาษาไทย บทที่ 2 การฟัง
• ความรู้พื้นฐานของการฟัง
• ความหมายของการฟัง
• ความสาคัญของการฟัง
• ระดับการฟัง
• ลักษณะการฟัง
• ขั้นตอนและกระบวนการฟัง
• จุดมุ่งหมายทั่วไปของการฟัง
• โอกาสของการฟัง
• ระดับของการฟังให้สัมฤทธิ์ผล
• มารยาทในการฟัง
• อุปสรรคและปัญหาในการฟัง
ความรู้พื้นฐานของการฟัง
การพัฒนาทักษะการฟังให้มีประสิทธิภาพนั้น ผู้ฟังต้องมีความรู้พื้นฐาน
เกี่ยวกับการฟังเพราะจะทาให้เข้าใจลักษณะทั่วไปของการฟัง ซึ่งจะเป็นพื้นฐาน
ความเข้าใจอันจะช่วยให้การพัฒนาทักษะการฟังรวดเร็วและมีคุณภาพขึ้น
การเรียนรู้พื้นฐานของการฟังจึงเป็นขั้นตอนแรกของการพัฒนาทักษะการฟัง
ความหมายของการฟัง
การฟังเป็นทักษะทางภาษาที่มนุษย์ใช้มากที่สุด บางครั้งอาจมีผู้เข้าใจว่า การฟังมี
ความหมายเหมือนการได้ยิน แต่ในความเป็นจริงแล้วการฟังกับการได้ยินมีความหมาย
แตกต่างกัน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (2546, หน้า 811) ให้
ความหมายของคาว่า “ฟัง” ไว้ว่า “ตั้งใจสดับ คอยรับเสียงด้วยหู” ส่วนการได้ยิน (2546,
หน้า 419) หมายถึง “รับรู้เสียงด้วยหู” จากทั้งสองความหมายนี้เป็นที่น่าสังเกตว่า การฟัง
มีความเกี่ยวข้องกับการตั้งใจฟังต่างจากการได้ยินซึ่งเป็นเพียงการรับรู้เสียงด้วยหูเท่านั้น
ความหมายของการฟัง (ต่อ)
ปรีชา ช้างขวัญยืน กล่าวว่า การฟัง คือ พฤติกรรมการใช้ภาษาที่เกิดขึ้นภายในตัว
บุคคลของบุคคลหนึ่งหลังจากได้ยินเสียงพูดหรือเสียงอ่าน ซึ่งเป็นพฤติกรรมการใช้ภาษา
ภายนอกตัวบุคคลจากอีกบุคคลหนึ่ง เมื่อเสียงนั้นมากระทบโสตประสาทของผู้รับ คือ ผู้ฟัง
แล้ว ผู้ฟังก็จะนาเสียงพูดเหล่านั้น เข้าสู่กระบวนการทางสมอง คือ การคิด ด้วยการแปล
ความ ตีความจนเกิดความเข้าใจ ทั้งนี้ถ้าเสียงดังกล่าวเป็นเสียงในภาษาเดียวกันของทั้ง
ผู้พูดและผู้ฟัง การฟังก็จะเกิดผลได้ง่าย ถูกต้องและชัดเจน (ปรีชา ช้างขวัญยืน, 2525,
หน้า 4-5)
สรุป ความหมายของการฟัง
จากที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปความหมายของการฟังได้ว่า การฟัง
หมายถึง พฤติกรรมการรับสารผ่านโสตประสาทอย่างตั้งใจเชื่อมโยงกับ
กระบวนการคิดในสมอง โดยสมองแปลความหมายของเสียงจนเกิดความเข้าใจ
และมีปฏิกิริยาตอบสนอง การฟังจึงเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล
ความสาคัญของการฟัง
42%
32%
15%
11%
แผนภูมิอัตราส่วนของการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
แต่ละทักษะ
การฟัง
การพูด
การอ่าน
การเขียน
ผู้ที่มีการสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล
มีอัตราสัดส่วนของการใช้ทักษะภาษา
คือ ใช้เวลาในการพูด 32 % การฟัง
42 % การอ่าน 15 % และการเขียน
11 %
ความสาคัญของการฟัง (ต่อ)
จากแผนภูมิจะเห็นว่าการสื่อสารในชีวิตประจาวันของคนเราใช้การฟัง
มากกว่าทักษะอย่างอื่น การฟังเป็นความสามารถในการรับรู้สิ่งที่ได้ยินแล้ว
สามารถตีความหรือจับใจความสิ่งที่รับรู้นั้น สามารถเข้าใจและจดจาไว้ได้ ซึ่งเป็น
ความสามารถทางสติปัญญาที่ต้องอาศัยการฝึกฝนบ่อยๆ ผู้ที่ผ่านการฝึกทักษะ
การฟัง จะมีทักษะสูงกว่าผู้ที่ไม่ได้ฝึกและทักษะการฟังจะเพิ่มพูนขึ้นโดยการฝึก
ซึ่งจะต้องทาเป็นเวลานาน อาจกล่าวได้ว่าต้องฝึกตลอดชีวิต
ความสาคัญของการฟัง (ต่อ)
การฟังเป็นกระบวนการสื่อสารที่มนุษย์ใช้ก่อนทักษะอื่น ดังนั้นทักษะ
การฟังจึงมีความสาคัญมากในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งสามารถจาแนกความสาคัญ
เป็นประเด็น หลักๆ 6 ประเด็น ดังนี้
ความสาคัญของการฟัง
1. การฟังเป็นกระบวนการรับสารที่เราใช้มากที่สุดในชีวิตประจาวัน เช่น
การติดต่อสื่อสารในชีวิตประจาวันของมนุษย์ มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารการฟัง
โดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ โทรศัพท์ วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ จากสถิติการวิจัย
ของวิลเลียม เอฟ แมคคี เขียนไว้ในหนังสือ “Language Teaching Analysis”
ว่า วันหนึ่งๆ ของคนเราจะมีการฟัง 48% การพูด 23% การอ่าน 16% และการ
เขียน 13% (อ้างถึงใน สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. 2539: 6)
ความสาคัญของการฟัง (ต่อ)
2. การฟังเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการแสวงหาความรู้ทุกสาขาวิชา ไม่ว่าจะ
เป็นความรู้ทางด้านการเรียนทุกระดับ ทุกวิชาชีพ ซึ่งเป็นความรู้ที่มนุษย์ต้องการ
มากที่สุด
3. การฟังเป็นทักษะส่งเสริมความคิดและความฉลาดรอบรู้ เป็นพหูสูต ( ผู้
สดับตรับฟังมาก ) ทาให้ประสบความสาเร็จและก้าวหน้าในหน้าที่การงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสาคัญของการฟัง (ต่อ)
4. การฟังช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์สิ่งที่แปลกใหม่โดยการวิเคราะห์
ตีความ นามาประยุกต์ปรับเปลี่ยนได้อย่างเหมาะสม เกิดความงอกงามทาง
ความรู้ ความคิด และสติปัญญา
5. การฟังเป็นทักษะที่ก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน เช่น การฟังเพลง
นิทาน วรรณคดี เป็นต้น
ความสาคัญของการฟัง (ต่อ)
6. การฟังช่วยให้ผู้รับสารเป็นผู้พูดและผู้เขียนที่มีประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผล เพราะการฟังช่วยให้ผู้ฟังได้รับความรู้ ประสบการณ์ด้านเนื้อหา
สาระ ภาษาถ้อยคาทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง เพื่อเป็นข้อมูลในการพูดและ
การเขียนต่อไป
ระดับการฟัง
แผนผังแสดงระดับของการฟัง
ระดับการฟัง
การได้ยิน
การฟังปกติ
การฟังอย่างมีวิจารณญาณ
รับรู้
เข้าใจ
วิเคราะห์
ใคร่ครวญ
วินิจฉัย
ประเมินค่า
ใช้ประโยชน์
ได้ยิน
แผนผังแสดงระดับของการฟัง
จากแผนภูมิข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่า การฟังทั้ง 3 ระดับนี้ มีความเกี่ยวโยง
กันอย่างเป็นลาดับเป็นการพัฒนาจากระดับของการได้ยินจากอวัยวะรับเสียง
จากนั้นเข้าสู่การฟังตามปกติคือผ่านกระบวนการตีความและแปลความทางสมอง
แล้วจึงเข้าสู่ระดับการฟังอย่างมีวิจารณญาณที่เริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์
การใคร่ครวญ การวินิจฉัย การประเมินค่าและการใช้ประโยชน์
ระดับของการฟัง
การฟังสามารถจาแนกได้หลายระดับ โดยระดับของการฟังที่มักใช้ใน
ชีวิตประจาวันสรุปได้เป็น 3 ระดับ ดังต่อไปนี้
1. ระดับการได้ยิน การได้ยินเป็นกระบวนการขั้นแรกของการฟัง เป็นการรับรู้
โดยใช้ อวัยวะในการรับรู้หรือการได้ยินคือ หูและอวัยวะภายในหู เมื่อหูรับคลื่น
เสียงแล้วก็จะส่งไปยังสมอง สมองจะรับรู้ว่าเรื่องที่ได้ยินนั้นคืออะไรโดยไม่มี
การแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง
ระดับของการฟัง (ต่อ)
2. ระดับการฟังตามปกติ เป็นระดับการได้ยินที่สูงขึ้นต่อจากการได้ยิน ผู้ฟัง
ต้องใช้สมรรถภาพทางสมองเชื่อมโยงเสียงที่ได้ยินกับประสบการณ์และความรู้
เกี่ยวกับความหมายของเสียง เพื่อให้เกิดการแปลความและตีความเสียงนั้น
จนเข้าใจสารที่ฟังและแสดงปฏิกิริยาตอบสนองสารนั้นอย่างถูกต้องและ
เหมาะสม
ระดับของการฟัง (ต่อ)
3. ระดับการฟังอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระดับการฟังที่สูงขึ้นอีกต้องอาศัย
สมรรถภาพทางด้านการคิดวิเคราะห์ การประเมินค่า การวินิจฉัย และการ
นาไปใช้ในชีวิตจริงได้ การฟังระดับนี้ต้องอาศัยการฝึกฝนและพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง หากสามารถพัฒนาจนเกิดทักษะแล้ว ผู้ฟังจะได้ประโยชน์สูงสุดจากการ
ฟังสารนั้นๆ
ลักษณะการฟัง
การฟังสามารถแบ่งได้หลากหลายลักษณะ สรุปได้ดังนี้
1. การฟังอย่างเข้าใจ เป็นการฟังขั้นพื้นฐานที่ใช้ได้ทุกสถานการณ์ เช่น ฟังเพื่อให้
สามารถรับรู้เข้าใจเรื่องราว เข้าใจความคิดของบุคคล เข้าใจความหมายของสารแล้ว
สามารถนาสิ่งที่ได้ฟังไปปฏิบัติได้ ฯลฯ การฟังลักษณะนี้ผู้ฟังควรฟังโดยตลอด
ใช้ความคิดพิจารณาด้วยใจที่เป็นกลางและยอมรับความรู้ความคิดหรือมุมมองต่างๆ ของ
ผู้ส่งสาร อาจมีการจดบันทึกประเด็นสาคัญๆ ไปด้วยก็ได้
ลักษณะการฟัง (ต่อ)
2. การฟังอย่างมีจุดมุ่งหมาย เป็นการฟังที่ผู้ฟังตั้งวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์
หนึ่งไว้ล่วงหน้า เช่น ต้องการฟังเพื่อความรู้ เพื่อความบันเทิง เพื่อการตัดสินใจ
เป็นต้น การฟังอย่างไม่ได้ตั้งจุดมุ่งหมายจัดว่าเป็นการฟังแบบผ่านๆ ผู้ฟังจะไม่ได้
ประโยชน์จากสิ่งที่ได้ฟัง การฟังอย่างมีจุดมุ่งหมายจึงเป็นพื้นฐานสาคัญของการ
ฟังอย่างมีประสิทธิภาพ
ลักษณะการฟัง (ต่อ)
3. การฟังอย่างมีวิจารณญาณ จัดเป็นการฟังที่ต้องใช้ความคิดวิเคราะห์สารที่
ได้ฟัง มักดาเนินควบคู่ไปกับการวิเคราะห์สาร จัดเป็นการฟังขั้นสูง ผู้ฟังต้องจับ
ประเด็นว่าจุดมุ่งหมายของผู้พูดคืออะไร และแยกแยะว่าส่วนใดที่เป็นข้อเท็จจริง
และเป็นข้อคิดเห็น โดยใช้กระบวนการคิดใคร่ครวญด้วยเหตุผล จนนาไปสู่การ
ตอบสนองที่ถูกต้องเหมาะสม การฟังอย่างมีวิจารณญาณจะทาให้ผู้ฟังได้รับ
ประโยชน์และได้ข้อมูลที่เป็นจริง
ลักษณะการฟัง (ต่อ)
4. การฟังอย่างประเมินคุณค่า เป็นการฟังในระดับสูงต่อมาจากการฟังอย่างมี
วิจารณญาณ เป็นการฟังที่ผู้ฟังต้องประเมินหรือตัดสินคุณค่าของสารที่ฟังว่าดี
หรือไม่ มีประโยชน์หรือไม่ เหมาะแก่การนาไปปฏิบัติหรือไม่ ผู้ฟังควรฟังอย่าง
ตั้งใจและสามารถวิพากษ์วิจารณ์สิ่งที่ฟังได้อย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือ การฟังอย่าง
ประเมินคุณค่าทาให้ผู้ฟังตระหนักได้ว่าข้อมูลนั้นน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
การฟังที่ดีมีประสิทธิภาพคือ การฟังอย่าง
มีวิจารณญาณ คือ การฟังที่มีประสิทธิภาพ นอกจาก
การฟังเพื่อการรับสารแล้ว ต้องมีการวิเคราะห์
ใคร่ครวญ วินิจฉัย ประเมินค่า และเพื่อใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจาวันอย่างแท้จริงตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
ทุกประการ
ขั้นตอนและ
กระบวนการฟัง
ขั้นตอนและกระบวนการ
การฟังเพื่อรับสาร มีดังนี้
ได้ยิน รับฟัง ทาความเข้าใจ นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
(รับสาร)
ขั้นตอนและกระบวนการฟัง
จากความหมายของการฟัง เราสามารถนามาเขียนเป็นกระบวนการฟัง
ได้ 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นได้ยินเสียง กระบวนการฟังจะเริ่มต้นตั้งแต่การได้ยินเสียงจากแหล่งของเสียง
ซึ่งแพร่คลื่นเสียงที่มีลักษณะเป็นคลื่นไฟฟ้าผ่านอากาศเข้ามา ประสาทสัมผัสทางหู
หรือโสตประสาทจะรับเสียงเหล่านั้นผ่านเข้าไปยังสอง
ขั้นตอนและกระบวนการฟัง (ต่อ)
2. ขั้นรับรู้ เมื่อเสียงผ่านเข้าไปยังสมองแล้ว สมองจะจาแนกเสียงพยางค์ไปตาม
ลักษณะโครงสร้างทางไวยากรณ์ของแต่ละภาษา หากเป็นเสียงในภาษาที่ผู้ฟังรู้จัก
และเข้าใจจะเกิดการรับรู้ แต่หากผู้ฟังไม่รู้จักเสียงที่ผ่านเข้ามาก็จะไม่เกิด
ความหมายใด
ขั้นตอนและกระบวนการฟัง (ต่อ)
3. ขั้นตีความ เป็นขั้นที่ผู้ฟังแปลความหมาย หรือตีความหมายของประโยคหรือ
สิ่งที่ได้ยิน ได้ฟัง
4. ขั้นเข้าใจ เป็นขั้นการฟังซึ่งผู้ฟังสามารถเข้าใจความหมายของใจความสาคัญ
ของผู้พูดได้อย่างถูกต้อง
ขั้นตอนและกระบวนการฟัง (ต่อ)
5. ขั้นพิจารณาหรือขั้นเชื่อ เป็นขั้นที่ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ฟังที่จะตัดสิน
ว่าเรื่องที่ได้ยินมานั้น เป็นความจริงเพียงใด น่าเชื่อถือได้หรือไม่ ยอมรับได้หรือไม่
และเป็นประโยชน์ต่อตนเองหรือไม่
ขั้นตอนและกระบวนการฟัง (ต่อ)
6. ขั้นการนาไปใช้ เมื่อพิจารณาสารเรียบร้อยแล้ว ผู้ฟังจะนาความรู้ความเข้าใจ
ที่ได้จากการฟังไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมต่อไป
จุดมุ่งหมายทั่วไปของการฟัง
แบ่งได้ออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. การฟังเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจาวัน การฟังชนิดนี้เป็นพฤติกรรมปกติ
ของมนุษย์ การฟังคนอื่นที่เราติดต่อเกี่ยวข้องมีความสาคัญมิใช่น้อย เพราะทาให้
มนุษย์คงความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันได้ตลอดไป อันทาให้ดารงชีวิตได้อย่างปกติสุข
จุดมุ่งหมายทั่วไปของการฟัง (ต่อ)
2. การฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ได้แก่ การฟังเพลงและดนตรี ฟังเรื่องราว
สนุกสนาน เบาสมองหรือเรื่องที่ชวนให้ใช้ความนึกฝันหรือจินตนาการเป็น
การผ่อนคลายความตึงเครียดอันเนื่องมาจากกิจกรรมงานและภาวะแวดล้อม
สิ่งที่ทาให้เกิดความเพลิดเพลินได้คือเสียงของผู้พูดหรือผู้อ่านที่ชักนาให้ผู้ฟังรับรู้
ถึงความน่าสนใจของเนื้อเรื่องและแก่เรื่องในนิทานนวนิยาย ความไพเราะ
ของถ่อยคาและท่วงทานองหรือเหตุการณ์ที่เล่ามีความขาขันสบอารมณ์ของเรา
จุดมุ่งหมายทั่วไปของการฟัง (ต่อ)
3. การฟังเพื่อรับความรู้ ได้แก่ การฟังเรื่องราวเกี่ยวกับวิชาการ ข่าวสาร และ
ข้อเสนอแนะต่างๆ จะต้องฟังให้เข้าใจ และจดจาสาระสาคัญ ใช้ความคิด
วิเคราะห์ ตีความ และประเมินคุณค่าได้ตามลาดับ
อย่างไรก็ดี เราควรรู้จักจับเฉพาะสารประโยชน์ แล้วนามาประพฤติปฏิบัติให้
ได้ ก็จะเกิดผลแก่ชีวิตของเรา นั่นคือการฟังครั้งนั้นก็ว่าได้ผลคุ้มกับเวลาที่เสียไป
จุดมุ่งหมายทั่วไปของการฟัง (ต่อ)
4. การฟังเพื่อได้คติชีวิตและความจรรโลงใจ ได้แก่ การฟังพระธรรมเทศนา
คาสอนหรือโอวาทต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดสติปัญญา และช่วยเป็นแนวทาง
ในการดาเนินชีวิตที่ดีงาม
การฟังให้สัมฤทธิ์ผล
การฟังให้สัมฤทธิ์ผล หมายถึง การฟังให้ได้รับความสาเร็จ การฟังให้สัมฤทธิ์ผล
จะมีระดับสูงหรือต่า มากน้อย ขึ้นอยู่กับปัจจัยสาคัญคือ โอกาสของการฟังและ
ระดับขั้นของการฟัง ดังนั้นขั้นแรกผู้ฟังจึงควรวิเคราะห์โอกาสที่ฟังก่อน
โอกาสของการฟัง
ประกอบด้วย 4 ลักษณะ ดังนี้
1. การฟังระหว่างบุคคล มีทั้งการฟังระหว่างที่ไม่เป็นทางการ เช่น ฟังในขณะ
ที่ทักทายกัน ระหว่างสนทนาปราศรัย การสอบถาม การขอคาแนะนาในเรื่อง
ทั่วๆ ไป และการฟังที่เป็นทางการ เช่น ฟังในระหว่างการสัมภาษณ์ การแนะนา
ตัว การแนะนาบุคคลให้รู้จักกัน
โอกาสของการฟัง (ต่อ)
2. การฟังในกลุ่มขนาดเล็ก ส่วนใหญ่มักเป็นการสื่อสารกึ่งทางการหรือค่อนข้าง
ไม่เป็นทางการ เช่น ในกลุ่มที่ใช้ความคิดร่วมกัน ปรึกษาหารือกัน ช่วยกันหาวิธี
ปฏิบัติหรือวิธีแก้ปัญหา
โอกาสของการฟัง (ต่อ)
3. การฟังในที่ประชุมหรือในที่ชุมนุม มักค่อนข้างเป็นทางการหรือเป็นทางการ
มาก เช่น ฟังบรรยายประกอบการสาธิตวิธีใช้เครื่องมือ จะมีลักษณะค่อนข้างเป็น
ทางการ ฟังคาบรรยายของผู้ทรงคุณวุฒิ ฟังโอวาท ฟังคากล่าวรายงาน ย่อมมี
ลักษณะเป็นทางการมาก
โอกาสของการฟัง (ต่อ)
4. การฟังวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นการ
ฟังอย่างไม่เป็นทางการ เช่น ฟังข่าวประจาวัน ฟังรายการความรู้ ฟัง
ประกาศของทางราชการแม้รายการที่ส่งมาจะมีลักษณะเป็นทางการก็ตาม
ยิ่งเป็นรายการที่ไม่เป็นทางการ เช่น รายการสนทนาพาเพลิน รายการ
หรรษา การฟังรายการประเภทนี้ย่อมเป็นการฟังอย่างไม่เป็นทางการมาก
ยิ่งขึ้น
ระดับของการฟังให้สัมฤทธิ์ผล
1. ทราบจุดประสงค์ของผู้พูดหรือไม่ ถ้าทราบแล้ว สามารถบอกได้ว่า
จุดประสงค์นั้นคืออะไร ก็แสดงว่าสาเร็จผลในขั้นที่ 1
2. ทราบว่าข้อความที่ผู้พูดพูดมานั้นครบถ้วนหรือไม่ ถ้าทราบก็แสดงว่า
การฟังสัมฤทธิ์ผลสูงขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง
ระดับของการฟังให้สัมฤทธิ์ผล (ต่อ)
3. สามารถบอกได้ว่าเนื้อความที่ได้ฟังนั้น น่าเชื่อถือหรือไม่ อย่างไร ถ้าบอกได้
ชัดเจน แสดงว่าการฟังสัมฤทธิ์ผลในระดับสูงขึ้นไปอีก
ระดับของการฟังให้สัมฤทธิ์ผล (ต่อ)
4. สามารถบอกได้ว่าสารที่ได้ฟังนั้นมีคุณค่า เป็นประโยชน์หรือไม่ อย่างไร
ถ้าบอกได้หรือประเมินได้ การฟังนั้นก็สัมฤทธิ์ผลในขั้นสูงขึ้นไปอีก
สรุป ระดับของการฟังให้สัมฤทธิ์ผล
ในการที่เราจะทราบเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับสาร ทั้งจุดประสงค์ ความน่าเชื่อถือ
ความมีคุณค่า เราต้องรู้จักใช้ดุลพินิจของตน ซึ่งก็คือ การใช้ปัญญาพิจารณาด้วย
ความไม่เอนเอียง ปราศจากอคติเป็นความสามารถที่ค่อยๆ เจริญขึ้นในตัวบุคคล
หากเราใช้สม่าเสมอ ฝึกฝน ได้เห็นแบบอย่างจากผู้อื่น
มารยาทในการฟัง
ในการฟังให้สัมฤทธิ์ผลนั้น เราต้องคานึงถึงมารยาทในสังคมด้วย เพราะมารยาทเป็น
เครื่องกากับพฤติกรรมของคนในสังคมให้เรียบร้อยงดงาม ซึ่งจะแสดงถึงความเป็นมนุษย์
ที่เจริญแล้ว มารยาทที่เราควรจะรักษาไว้มี 3 ลักษณะดังนี้
มารยาทในการฟัง (ต่อ)
1. การฟังเฉพาะหน้าผู้ใหญ่ ผู้ฟังต้องสารวมกิริยาอาการ พยายามสบตากับ
ผู้พูดให้พอเหมาะ แต่ไม่ถึงกับจ้องหน้า ไม่ชิงพูดก่อนที่คู่สนทนาพูดจบความ
ถ้าฟังไม่เข้าใจ ควรถามเมื่อผู้พูดพูดจบแล้ว
2. การฟังในที่ประชุม จาเป็นต้องตั้งใจฟัง อาจจดความสาคัญไว้ ไม่ควรพูด
กระซิบกับคนที่อยู่ข้างเคียง ไม่ทากิจธุระส่วนตัวอย่างอื่น ไม่ควรพูดแซงขึ้น
ต้องฟังจนจบแล้วจึงให้สัญญาณขออนุญาตพูด เช่น ยกมือ
มารยาทในการฟัง (ต่อ)
3. การฟังในที่สาธารณะ เช่น ในโรงภาพยนตร์หรือโรงละคร หรือในที่ชุมนุมชน
ไม่ควรก่อความราคาญให้กับคนที่ฟังอยู่ ข้อควรระวังคือ
3.1 รักษาความสงบ ไม่พูดคุย ไม่วิพากษ์วิจารณ์เรื่องที่กาลังดูหรือฟังอยู่
ไม่ส่งเสียงดัง เพราะจะรบกวนผู้อื่น
3.2 ไม่นาอาหารหรือวัตถุที่มีกลิ่นแรง หรือที่น่ารังเกียจเข้าไปในสถานที่นั้น
มารยาทในการฟัง (ต่อ)
3.3 ไม่เดินเข้าออกบ่อยๆ ถ้าจาเป็นต้องทาเช่นนั้น ควรเลือกที่นั่งที่อยู่ริม
หรือใกล้ประตูทางเดิน
3.4 ไม่ควรแสดงกิริยาอาการที่ไม่สมควรระหว่างเพื่อนต่างเพศในโรงมหรสพ
อุปสรรคและปัญหาในการฟัง
อุปสรรคและปัญหาในการฟังเกิดได้จากหลายสาเหตุ ส่งผลให้การสื่อสาร
ไม่สัมฤทธิ์ผล เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง และอาจทาให้
ผู้ฟังไม่สามารถวิเคราะห์สิ่งที่ฟังได้ สาเหตุของอุปสรรคและปัญหาที่ทาให้การฟัง
ไม่สัมฤทธิ์ผลสรุปได้ 5 สาเหตุใหญ่ๆ ดังนี้
อุปสรรคและปัญหาในการฟัง (ต่อ)
1. สาเหตุจากผู้ฟัง สาเหตุจากผู้ฟังส่วนใหญ่เกิดมาการขาดความพร้อมของผู้ฟัง
และนิสัยการฟังที่ไม่ดี เช่น ทนฟังนานๆ ไม่ได้ ขาดสมาธิ เชื่อคนง่าย ไม่มีความรู้
เกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง ขาดทักษะการจับใจความสาคัญ ไม่ชอบบันทึกข้อมูล มีปัญหา
สุขภาพ เป็นต้น ผู้ฟังที่ดีควรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและนิสัยดังกล่าว และ
พยายามพัฒนาทักษะการฟังอยู่เสมอ อุปสรรคและปัญหาเหล่านี้ ผู้ฟังสามารถ
ปรับให้ดีขึ้นได้เพราะเกิดมาจากตัวผู้ฟังเอง
อุปสรรคและปัญหาในการฟัง (ต่อ)
2. สาเหตุจากผู้พูด ผู้พูดเป็นอีกฝ่ายหนึ่งที่มีส่วนสาคัญต่อกระบวนการฟังที่มี
ประสิทธิภาพ การฟังที่มีประสิทธิภาพนอกจากผู้ฟังจะต้องมีทักษะการฟังที่ดีแล้ว
ผู้พูดควรมีทักษะการพูดที่ดีด้วยเช่นกัน หากผู้พูดมีข้อบกพร่องเกี่ยวกับวิธีการพูด
การนาเสนอสาร หรือบุคลิกภาพอาจจะทาให้ผู้ฟังเข้าใจประเด็นผิด ไม่เชื่อถือ
และไม่สนใจฟังก็เป็นได้ สาเหตุจากผู้พูดพอสรุปได้ดังนี้
อุปสรรคและปัญหาในการฟัง (ต่อ)
2.1 ผู้พูดขาดทักษะการส่งสาร เช่น ไม่สามารถถ่ายทอดความคิดหรือ
ความรู้เป็นคาพูดได้ ไม่คุ้นเคยต่อการนาเสนอต่อหน้าที่ประชุมชน ฯลฯ
2.2 ผู้พูดรู้สึกประหม่า ตื่นเต้น หรือกลัวจนพูดไม่ออกหรือพูดติดขัด
ซึ่งอาจ ทาให้ฟังแล้วเข้าใจยากและอาจทาให้ไม่อยากฟัง
อุปสรรคและปัญหาในการฟัง (ต่อ)
2.3 ผู้พูดกังวลเรื่องเนื้อหาที่จะพูดยังไม่สมบูรณ์ ปัญหานี้อาจทาให้
ผู้พูดขาดความมั่นใจจนทาให้การถ่ายทอดสารขาดประสิทธิภาพ ส่วนผู้ฟังจะ
ได้รับสารไม่ครบถ้วนหรืออาจเข้าใจสารผิดไปได้
2.4 ขาดบุคลิกภาพที่ดีขณะพูด บุคลิกภาพที่ดีจะช่วยสร้างความ
น่าเชื่อถือให้แก่ผู้พูดได้ การขาดบุคลิกภาพจะทาให้ผู้ฟังรู้สึกสงสัยและไม่เชื่อถือ
สิ่งที่ผู้พูดพูด
อุปสรรคและปัญหาในการฟัง (ต่อ)
3. สาเหตุจากสาร สาเหตุจากสารส่วนใหญ่มักเกิดจากการที่ผู้ฟังไม่เข้าใจสาร
โดยเกิดได้จากหลายสาเหตุ พอสรุปสาเหตุจากสารคร่าวๆ เป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
3.1 สาเหตุจากเนื้อหา ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่มาจากเนื้อหาของสาร
มักจะเกิดจากสารที่เข้าใจยาก สารที่มีความซับซ้อนและลึกซึ้งมาก หรือมีตาราง
แผนภูมิ กราฟที่เข้าใจยาก ซึ่งปัญหาเหล่านี้อาจทาให้ฟังไม่เข้าใจหรือเข้าใจสาร
ผิดก็ได้
อุปสรรคและปัญหาในการฟัง (ต่อ)
3.2 สาเหตุจากภาษา ภาษาที่ปรากฏในสารนั้นอาจทาให้เกิดปัญหา
ได้ โดยสารนั้นมีคาศัพท์เฉพาะมากเกินไป เป็นศัพท์ที่ไม่ได้ใช้อยู่ทั่วไป หรือใช้
ศัพท์ภาษาต่างประเทศมากเกินไปหรือบทกวีที่เข้าใจยากซึ่งอาจทาให้ผู้ฟังไม่
เข้าใจสาร เกิดความรู้สึกงุนงงก็เป็นได้
อุปสรรคและปัญหาในการฟัง (ต่อ)
4. สาเหตุจากสื่อ สื่อ คือ วิธีทางหรือช่องทางการนาเสนอสารของผู้ส่งสารไปยัง
ผู้รับสาร สื่อมีหลายประเภท เช่น สื่อที่เป็นบุคคล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อทาง
ธรรมชาติ เป็นต้น หากสื่อเกิดขัดข้องหรือด้อยคุณภาพ เช่น ไมโครโฟนเสียงขาด
หายเป็นช่วงๆ หรือโทรทัศน์พร่ามัว สัญญาณไม่ดี หรือบุคคลที่ที่ฝากสารไปส่งต่อ
เข้าใจสารผิด ฯลฯ จะทาให้ผู้ฟังหรือผู้รับสารไม่เข้าใจสาร ส่งผลให้การสื่อสาร
ขาดประสิทธิภาพ
อุปสรรคและปัญหาในการฟัง (ต่อ)
5. สาเหตุจากสภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมเป็นส่วนที่ช่วยสร้างบรรยากาศใน
การฟัง แต่หากสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออานวยอาจเป็นอุปสรรคต่อการฟังได้ เช่น
แสงสว่างน้อยเกินไป อยู่ในบริเวณที่มีเสียงดังเกินไป ร้อนหรือหนาวเกินไป
เป็นต้น
สรุป อุปสรรคและปัญหาในการฟัง
อุปสรรคและปัญหาในการฟังข้างต้น อาจทาให้ประสิทธิภาพในการฟัง
ลดน้อยลง ทั้งนี้ปัญหาบางปัญหาไม่ได้เกิดมาจากผู้ฟัง ทว่าผู้ฟังควรเตรียม
ความพร้อมในทุกสถานการณ์ อย่างไรก็ตาม ปัญหาของการฟังที่มาจากผู้ฟังเอง
เป็นสิ่งที่ผู้ฟังควรแก้ไขและเป็นสิ่งที่แก้ไขได้เพราะเกิดจากตัวผู้ฟังเอง
จบการบรรยาย
บทที่ 2 การฟัง

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
kruthirachetthapat
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
Nun'Top Lovely LoveLove
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
KruBowbaro
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
สาระ การฟัง
สาระ  การฟังสาระ  การฟัง
สาระ การฟัง
Maeying Thai
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 

What's hot (20)

เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
สาระ การฟัง
สาระ  การฟังสาระ  การฟัง
สาระ การฟัง
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 

Similar to บทที่ 2 การฟัง

หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
Pignoi Chimpong
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
Namfon Wannapa
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สปายด์ 'ดื้อ
 
ภาไทยวันนี้
ภาไทยวันนี้ภาไทยวันนี้
ภาไทยวันนี้
guest6b907e
 
ภาษาไทยที่ควรรู้
ภาษาไทยที่ควรรู้ภาษาไทยที่ควรรู้
ภาษาไทยที่ควรรู้
guestf40fdd
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
Pitima Boonprasit
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
Aoyly Aoyly
 

Similar to บทที่ 2 การฟัง (20)

หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้นเทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
ภาไทยวันนี้
ภาไทยวันนี้ภาไทยวันนี้
ภาไทยวันนี้
 
ภาษาไทยที่ควรรู้
ภาษาไทยที่ควรรู้ภาษาไทยที่ควรรู้
ภาษาไทยที่ควรรู้
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Train for the new trainer 2014
Train for the new trainer 2014Train for the new trainer 2014
Train for the new trainer 2014
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
Web
WebWeb
Web
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
 
1
11
1
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 

More from Aj.Mallika Phongphaew

More from Aj.Mallika Phongphaew (12)

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 

บทที่ 2 การฟัง