SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Drug in Pregnancy and 
Lactation 
นศภ.ณัฐกรณ์ ชูช่วยและ นศภ.ณิชา หาแก้ว 
นักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
CONCEPT 
การใช้ยาในสตรีมีครรภ์เป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังอย่างยิ่ง เพราะยาบาง 
ชนิดสามารถผ่านรกไปถึงทารกในครรภ์ได้ โดยเฉพาะในระยะตั้งครรภ์ 3 เดือน 
แรก ซึ่งเป็นช่วงที่ทารกกา ลังมีการพัฒนารูปร่างอวัยวะต่าง ๆ ยาบางชนิดอาจมีผล 
ให้ทารก มีความพิการทางรูปร่าง เช่น แขนขากุด ปากแหว่ง เพดานโหว่ โดยปกติ 
สตรีมีครรภ์ไม่ควรใช้ยาเองเลย หากแต่เมื่อมีความ จา เป็นต้องใช้ยา ควรใช้ยาตาม 
คาแนะนาและการดูแลของแพทย์หรือเภสัชกรอย่างใกล้ชิด เพื่อให้เกิดความ 
ปลอดภัยต่อสตรี มีครรภ์และทารกในครรภ์มากที่สุด
Contents 
• หลักการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ 
• Pregnancy Risk Category 
• ยาทคี่วรหลีกเลยี่งระหว่างการตั้งครรภ์ 
• ยาที่ใช้ในการรักษาโรคหรือภาวะต่างๆสาหรับสตรีมีครรภ์ 
ยาทใี่ช้ในการรักษาโรคหรือภาวะ 
ต่างๆสาหรับสตรีมีครรภ์ 
• การใช้ยาในหญิงให้นมบุตร
หลักการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ 
Safety 
Low dose 
Monotherapy 
Gold standard
PREGNANCY RISK CATEGORY 
• Farmaceutiska Specialiteteri Sverige (FASS) : A,B1,B2,B3,C,D 
• The United States Food and Drug Administration ,FDA(US FDA) : 
A , B , C , D และ X 
• Australian Drug Evaluation Committee (ADEC) หรือ Therapeutic 
Goods Administration (TGA) category : A,B1,B2,B3,C,D และ X
PREGNANCY RISK CATEGORY(US FDA) 
A B C D X
PREGNANCY RISK CATEGORY(US FDA) 
Category A เป็นยากลุ่มที่มีความปลอดภัยมากที่สุดในการใช้ระหว่างการ 
ตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการศึกษาในมนุษย์ เป็นที่เรียบร้อยแล้วไม่พบว่ามีความเสี่ยง 
ของการเกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์ระหว่างช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ 
หรือโอกาสที่จะเกิดอันตรายเกิดได้ค่อนข้างน้อย เช่น วิตามินรวมชนิดต่างๆ 
(Multivitamins) 
Category B ผลการทดลองไม่พบความเสี่ยงของอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตัวอ่อน 
ในครรภ์ของสัตว์ทดลอง แต่ยังไม่มีการทา การทดลองในมนุษย์ หรือการทดลอง 
พบความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายต่อตัวอ่อน ในครรภ์ของสัตว์ทดลอง แต่ไม่พบ 
ความเสี่ยงในสตรีมีครรภ์ เช่น Amoxicillin, Cloxacillin, Cephalexine 
,Erythromycin
Category C การทดลองพบความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายต่อตัวอ่อนในครรภ์ของ 
สัตว์ทดลอง แต่การศึกษาในสตรีมีครรภ์ไม่พบความเสี่ยงดังกล่าว หรือยังไม่มี 
การศึกษาทดลองในมนุษย์และสัตว์ทดลองจึงยังไม่มีข้อมูลเพียงพอในการสรุปว่า 
ยาดังกล่าวมีผลเสียหรือไม่ ยาทั่วไปจะอยู่ในกลุ่มนี้ เช่น Norfloxacin, 
Ciprofloxacin, Hyoscine (Buscopan®) 
Category D ยาที่มีการพิสูจน์แน่นอนแล้วว่ามีผลเสียต่อทารกในครรภ์ทั้งใน 
มนุษย์ และสัตว์ทดลอง แต่มีความจา เป็นต้องใช้เพื่อรักษาอาการผิดปกติของ 
มารดาระหว่างตั้งครรภ์ และประโยชน์ที่ใช้ในการรักษาจากการใช้ยานั้นมี 
มากกว่าความเสี่ยงที่ทารกในครรภ์จะได้รับอันตรายจากยา เช่น Streptomycin, 
Neomycin, Tetracyclin, Phenytoin (Dilantin®)
Category X ยาที่มีข้อห้ามการใช้ในระหว่างการตั้งครรภ์ เนื่องจากมี 
การศึกษาที่แน่นอนทั้งในมนุษย์ และสัตว์ทดลองว่าทา ให้เกิดความ 
เสี่ยงหรืออันตรายต่อทารกในครรภ์ หรือมีรายงานการเกิดอันตรายต่อ 
ทารกในครรภ์ ของมนุษย์ที่ชัดเจนมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการ 
ใช้ยาเพื่อการรักษา เช่น Ergotamine (Cafergot®)
ยาหรือสารเคมีที่ไม่ควรใช้ตลอดระยะของการตั้งครรภ์ 
ยา ความผิดปกติ
ยาที่ไม่ควรใช้ในระยะไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
ยาที่ควรหลีกเลี่ยงการใช้ในช่วงหลังจากไตรมาสแรกของ 
การต้งัครรภ์ หรือช่วงใกล้คลอด
หลักการใช้ยาในการรักษาอาการผิดปกติที่มักพบในสตรีมคีรรภ์ 
• อาการที่มักพบในระยะแรกของการตั้งครรภ์ ได้แก่ 
▫ อาการคลื่นไส้ อาเจียน แสบยอดอก (heart burn) อาหารไม่ย่อย และ 
ปวดศีรษะ 
• อาการที่มักพบในระยะหลังของการตั้งครรภ์ ได้แก่ 
▫ ท้องผูก ริดสีดวงทวาร ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ คันช่องคลอด และ 
ตะคริวที่ขา 
• อาการที่พบได้ทั่วไปในระหว่างตั้งครรภ์ และโรคเรื้อรังต่างๆ ที่เป็นก่อน 
การตั้งครรภ์
อาการที่มักพบในระยะแรกของการต้งัครรภ์
คลื่นไส้/อาเจียน/เวียนศีรษะ 
Non-pharmacotherapy 
•เปลี่ยนแปลงการรับประทานอาหาร 
•หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้น 
Pharmacotherapy 
•Pyridoxime (Vit.B6) 50-200 mg/day (A) 
•Dimenhydrinate(B) ,Ondansetron(B), Metoclopramide (B)
แสบยอดอก อาหารไม่ย่อย 
Non-pharmacotherapy 
• เปลี่ยนแปลงการรับประทานอาหาร 
• หนุนด้านหัวเตียงให้สูงกว่าด้านเท้า 6 นิ้ว 
Pharmacotherapy 
• ยาลดกรด Sucrafate (B) 
• ยาอื่นๆ H2 –Blocker : Ranitidine (B) , Cimetidine(B) 
PPIs :Omeprazole(C) ,Lansoprazole(B) 
Simethicone 
• ห้ามใช้ Misoprostol(X)
ปวดศีรษะ 
Pharmacotherapy 
• Acetaminophen (B) 
• NSAIDs เป็น Cat B ในไตรมาสที่ 1 และ 2 
แต่เป็น D ในไตรมาสที่ 3 
• ไม่แนะนาให้ใช้ Cox-2 inhibitors ในสตรีมีครรภ์ 
• หากใช้ยา Acetaminophen ไม่ได้ผล อาจใช้ยา Acetaminophen+codeine (C) 
• ห้ามใช้ Ergotamine (X)
อาการที่มักพบในระยะหลังของการต้งัครรภ์
ริดสีดวงทวาร 
• Non-pharmacotherapy 
ทานอาหารที่มีกากใยมากๆ 
นอนยกขาสูง หรือ ใช้น้า แข็งประคบเพื่อบรรเทาอาการเจ็บและพอง 
Pharmacotherapy 
• ถ้าอาการไม่ดีส่งต่อแพทย์เฉพาะทางและยาที่ใช้ควรเป็นยาภายนอก 
เท่านั้น
ท้องผูก 
Non-pharmacotherapy 
•ดื่มน้า มากๆ ทานอาหารที่มีกากใยสูง 
•ออกกาลังกาย 
Pharmacotherapy 
•Bulking forming laxative (A) :Psylium 
•Bisacodyl(B),Lactulose(B) ,Senna(C) 
•หลีกเลี่ยงการใช้ castor oil (X )
ตะคริวที่ขา 
Non-pharmacotherapy 
• นวดคลึงบริเวณที่เป็น 
• ออกกา ลังกาย 
Pharmacotherapy 
• Magnesium citrate(A) (ADR: ท้องเสีย, ปวดท้อง)
การติดเชือ้ทางเดินปัสสาวะ 
Antibiotic 
• ควรเลือกใช่ยากลุ่ม Penicillinsและ Cephalosporins 
• Clindamycin(B) ,Azithromycin(B) ,Metronidazole(B) 
• หลีกเลี่ยงการใช้ trimetroprim และ cotrimoxazole 
• ห้ามใช้ Fluoroquinolone(C) โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสแรก 
• ห้ามใช้กลุ่ม Tetracycline (D) โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสที่ 2 และ 3
หวัด 
Non-pharmacotherapy 
• หลักเลี่ยงสิ่งกระตุ้น 
• พักผ่อนให้เพียงพอ 
Pharmacotherapy 
• CPM (C) 
• Dextrometrophan (C) 
• Guaifenesin (C) 
• หลีกเลี่ยงการใช้ BPM (C)
อาการคันช่องคลอด 
แยกเป็น 2 สาเหตุ 
• Candida albican 
Pharmacotherapy 
ยาทา Imidazole เช่น cotrimazole 
ยากิน เช่น Fluconazole (C/D), Itraconazole (C)ไม่แนะนาให้ใช้ 
• Trichomonas vaginalis 
Pharmacotherapy 
ยากิน เช่น Metronidazole (B) 200 mg tid 7 วัน 
หรือ Metronidazole 2 g sigle dose 
ไม่แนะนา ให้ใช้ไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์เนื่องจากอาจทา ให้ทารกพิการ
อาการที่มักพบในระหว่างของการต้งัครรภ์
ความดันโลหิตสูง 
• First line : Methyldopa (B) 
• Second line : Hydralazine(C) 
• หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม β-blockers ในช่วงไตรมาสแรกและไตรมาสที่ 
สอง 
• ACEIs : การใช้ในหญิงตั้งครรภ์เพิ่มความเสี่ยงในการเกิด major 
congenital malformations ไตรมาสแรกจัดเป็น Cat C ไตรมาส 2/3 
จัดเป็น Cat D
โรคลมชัก 
• ยังไม่มียาตัวใดในโรคนี้ที่ปลอดภัยในหญิงตั้งครรภ์ 
• การวางแผลนการตั้งครรภ์ ต้องพิจารณา Risk/Benefits 
• Phenytoin(D) พบรายงานอันตรายต่อทารกมากที่สุด 
▫ Fetal Hydantoin Syndrome(FHS) ร้อยละ 7-11 
▫ Congenital heart disease พบมากในไตรมาส 3 
▫ กระตุ้น Metabolism Vit K [ให้ Vit.K1 10 mg/day plus Folic acid] 
• Carbamazepine(D) : ง่วงซึม เดินเซ เม็ดเลือดขาวต่า พิษต่อตับ 
• Phenobarbital(D) : ง่วงซึม เดินเซ ความผิดปกติของเลือด 
• Valproic acid(D) : ง่วงซึม เดินเซ ผมร่วง พิษต่อตับ ผิดปกติในการ 
พัฒนาสมอง
การใช้ยา 
ในหญิงให้นมบุตร
หลักการทั่วไปในการใช้ยาในมารดาที่ให้นมบุตร 
พิจารณา 
ปลอดภัย Half-life สั้น 
วันละครั้ง 
เลี่ยงกินยาบ้าง
การใช้ยาในหญิงให้นมบุตร 
• ยาส่วนใหญ่ผ่านสู่น้า นมได้ 
• ทารกที่ได้รับน้า นมจากมารดามีเพียงร้อยละ 10 ที่เกิดอาการไม่พึง 
ประสงค์ขึ้น 
• ปัจจุบันมีเพียงยาไม่กี่ชนิดที่ห้ามใช้ระหว่างให้นมบุตรเนื่องจากมี 
หลักฐานว่าก่อให้เกิด ADR ที่รุนแรงต่อทารก 
• การจา แนกกลุ่มยาตามความเสี่ยงสาหรับการใช้ยาในสตรีให้นมบุตร 
WHO 
Hale : L1 (safest) ,L2 (safer) ,L3 (moderately safe) , L4 (possibly 
hazardous) ,L5 (contraindicated)
การแบ่งกลุ่มยาตามความเสี่ยงสาหรับการใช้ 
ในสตรีให้นมบุตร
ตารางสรุปยาท่ใีช้ในหญิงต้งัครรภ์ และหญิงให้นมบุตร 
กลุ่มยา ระหว่างตั้งครรภ์ระหว่างให้นมบุตร 
ยาที่ควรใช้ (Drug of choice) ในสตรีมีครรภ์ และมารดาที่ให้นมบุตร 
Analgesics Acetaminophen Acetaminophen 
Anticoagulants Heparin, preferable LMWH Heparin, Warfarin 
Anticonwulsants Phenobarbital Carbemazepine, Ethosuximide or 
Valproic acid 
Antidiatetics Insulin Insulin, Tolbutamide 
Antihypertensives Methyldopa ACEI or CCB 
Anti-infectives Penicillin, cephalosporin Penicillin , cephalosporin 
Corticosteriods Prednisolone Prednisolone 
Decongestants Oxymetolazine drops/ spray Oxymetolazine drops/ spray 
Gl protectants Magnesium hydroxide, Calcum 
carbonate, Aluminium hydroxide, 
Ranitidine, Sucralfate 
Sucralfate or Famotidine 
Laxatives / Stool softeners Psyllium or docusate Psyllium or docusate
ภาคผนวก
Antibacterials (β-lactam drugs) Pregnancy Risk Category 
Amoxicillin B 
Amoxicillin+clavulanic (Augmentin®) B 
Ampicillin B 
Ampicillin sodium + Sulbactam (Unasyn®) B 
Cloxacillin B 
Cephalexine B 
Cefazolin B 
Cefuroxime (Zinnat ®) B 
Ceftazidime B
Antibacterials (β-lactam drugs) Pregnancy Risk Category 
Ceftriaxone B 
Cefdinir (Omnicef®) B 
Cefditoren (Meiact®) B 
Cefixime (cefspan®) B 
Cefoperazone + sulbactam (sulperazone®) B 
Imipenem + cilastatin (Tienam®) c 
Meropenem (Meronem) ® B 
Ertapenem (Invanz®) B
Quinolone Pregnancy Risk Category 
Norfloxacin C 
, 
Ciprofloxacin C 
Ofloxacin C 
Levofloxacin (Cravit®) C 
Moxifloxacin (Avelox®) C 
Macrolide Pregnancy Risk Category 
Erythromycin B 
Roxithromycin (Rulid®) B 
Clarithromycin (Klacid®, Crixan®) C 
Azithromycin (Zithromax®) B
Other antibacterial Pregnancy Risk Category 
Tetracyclin D 
Doxycyclin D 
Clindamycin (Dalacin C®) B 
Metronidazole (Flagyl®) B 
Chloramphenicol C 
Trimethoprim-Sulfamethoxazole (Bactrim®) C 
Aminoglycoside Pregnancy Risk Category 
Gentamycin C 
Amikacin D 
Netilmycin D 
Streptomycin D 
Neomycin C
Antiviral drugs Pregnancy Risk Category 
Acyclovir B 
Valacyclovir B 
Ganciclovir C 
Oseltamivir (Tamiflu®) C 
Antifungal drugs Pregnancy Risk Category 
Itraconazole (Sporal®) C 
Fluconazole (Diflucan®) C 
Ketoconazole C 
Clotrimazole V.T (Fungiderm®)B/C(Troches) C 
Griseofulvin C 
Nystatin C
Anthelminthics Pregnancy Risk Category 
Albendazole C 
Mebendazole C 
Praziquantel B 
Analgesics Pregnancy Risk Category 
Paracetamol B 
Morphine C 
Pethidine (prolonged use or high doses at term) C/D 
Tramadol (Tramal®) C
Antimigraine Pregnancy Risk Category 
Ergotamine (Cafergot®) X 
Zolmitriptan(Zomig®) C 
Antiallergics and drugs used in anaphylaxis Pregnancy Risk Category 
Dexamethasone C 
Hydrocortisone C 
Prednisolone (prolong use) C/D
Antihistamine Pregnancy Risk Category 
Chlorpheniramine (CPM) B 
Diphenhydramine(Benadryl®) B 
Hydroxyzine (Atarax®) C 
Doxepine (Sinequan®) C 
Cetirizine (Zyrtec®) B 
Loratadine (Clarityne®) B 
Desloratadine (Aerius®) C 
Fexofenadine (Telfast®) C 
Triprolidine/Pseudoephedrine(Actifed®) C/C
Antitussives ; Expectorants Pregnancy Risk Category 
Acetylcysteine (Fluimucil®, Mysoven®, Nac long®) B 
Codeine/Guaifenesin (Ropect®) C/C 
Dextromethorphan (Romilar®) C 
Bromhexine(Bisolvon®) B 
Carbosysteine (Flemex®) B 
Antiasthmatic drugs Pregnancy Risk Category 
Salbutamol (Ventolin®) C 
Theophylline (Theo-dur®) C 
Procaterol hydrochloride 
C 
(Meptin)-Salmeterol + fluticasone (Seretide®) 
Montelukast sodium (Singulair®) B
Nonsteroidal Anti-Inflammatory Drugs 
(NSAIDs) 
Pregnancy Risk Category 
Diclofenac (Votaren®) B 
Ibuprofen (Brufen®) B/ D(in 3rd trimester or near delivery) 
Mefenamic (Ponstan®) C/ D(in 3rd trimester or near delivery) 
Meloxicam (Mobic®) C/ D(in 3rd trimester or near delivery) 
Piroxicam (Feldene®,Brexin®) C/ D(in 3rd trimester or near delivery) 
Naproxen (Synflex®) C/ D(in 3rd trimester or near delivery) 
Indomethacin(Indocid®) B/ D (3rd trimester) 
Sulindac (Clinoril®) B/D(in 3rd trimester or near delivery) 
Celecoxib (Celebrex®) C 
Parecoxib (Dynastat®) C
Dyspepsia Pregnancy Risk Category 
Alum milk (Aluminium + magnesium) C 
Cimetidine B 
Simeticone (Air-x®) C 
Ranitidine B 
Esomeprazole (Nexium®) B 
Pantoprazole (Controloc®) B 
Lantoprazole (Prevacid®) B 
Rabeprazole (Pariet®) B 
Omeprazole(Miracid®) C 
Sucrafate B
Anti-emetic Pregnancy Risk Category 
Dimenhydrinate B 
Domperidone (Motilium M®) C 
Metoclopramide (Plasil®) B 
Ondansetron (Onsia®) B 
Hyoscine (Buscopan®) C 
Anti –Diarrheals Pregnancy Risk Category 
Loperamide(Imodium®) B 
Diphenoxylate/atropine(Lomotil®) C/C 
Activated charcoal (Ultracarbon®) C 
Dioctahedral smectite (Smectra®) สามารถใช้ในหญิงตั้งครรภ์ได้ ยาไม่ 
ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
Antispasmodics Pregnancy Risk Category 
Hyoscine-N-butylbromide (Buscopan) C 
Mebeverine(Colofac) B 
Flavoxate (Urispas) B
Laxatives Pregnancy Risk Category= 
1.Bulk-forming laxative 
Psyllium (Mucillin®) 
B 
Macrogol (Forlax®) 
C 
2.Stimulant 
Senna (Senokot®) 
Bisacodyl (Dulcolax®) 
Castor oil (น้า มันละหุ่ง) 
C 
B/C 
3.Osmotic laxatives 
Glycerin suppositories 
Magnesium Hydroxide (Milk of magnesia®) 
Lactulose (Duphalac®) 
C 
B 
B 
4.Lubricants 
Mineral oil (Liquid paraffin) B 
5.Stool softener 
Docusate sodium C
Tranquilizers Pregnancy Risk Category 
Diazepam D 
Alprazolam (Xanax®) D 
Clonazepam (Rivotril®) D 
Anticonvulsants/Antiepileptics Pregnancy Risk Category 
Phenobarbital D 
Phenytoin (Dilantin®) D 
Valproic acid (Depakin®) D 
Carbamazepine (Tegretol®) D 
Gabapentin (Neurontin®) C
Antidepression Pregnancy Risk Category 
Amitriptyline C 
Doxepin (Sinequan®) C 
Duloxetine (Cymbalta®) C 
Fluoxetine (Prozac®) C 
NortriptylineCSertraline (Zoloft®) C 
Venlafaxine (Efexor XR®) C

More Related Content

What's hot

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injurySiwaporn Khureerung
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาUtai Sukviwatsirikul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
Drug in pregnancy and lactation 0
Drug in pregnancy and lactation 0Drug in pregnancy and lactation 0
Drug in pregnancy and lactation 0PichayaR
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Utai Sukviwatsirikul
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 

What's hot (20)

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Drug in pregnancy and lactation 0
Drug in pregnancy and lactation 0Drug in pregnancy and lactation 0
Drug in pregnancy and lactation 0
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
Drug for-int
Drug for-intDrug for-int
Drug for-int
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 

Viewers also liked

Drugs used in lactation and pregnacy
Drugs used in lactation and pregnacyDrugs used in lactation and pregnacy
Drugs used in lactation and pregnacyWezi Kaonga
 
Drugs safety in pregnancy
Drugs safety in pregnancyDrugs safety in pregnancy
Drugs safety in pregnancyDuraid Khalid
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
Medications and Lactation: Principles for Safe Practice for the Clinician
Medications and Lactation: Principles for Safe Practice for the Clinician Medications and Lactation: Principles for Safe Practice for the Clinician
Medications and Lactation: Principles for Safe Practice for the Clinician ErikaAGoyer
 
Drugs used in pregnancy and lactation
Drugs used in pregnancy and lactationDrugs used in pregnancy and lactation
Drugs used in pregnancy and lactationKoppala RVS Chaitanya
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Utai Sukviwatsirikul
 
drugs in pregnancy
 drugs in pregnancy drugs in pregnancy
drugs in pregnancymt53y8
 
Drugs in Pregnancy - Jaber Manasia
Drugs in Pregnancy - Jaber ManasiaDrugs in Pregnancy - Jaber Manasia
Drugs in Pregnancy - Jaber ManasiaJaber Manasia
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 

Viewers also liked (11)

Drugs used in lactation and pregnacy
Drugs used in lactation and pregnacyDrugs used in lactation and pregnacy
Drugs used in lactation and pregnacy
 
Drugs safety in pregnancy
Drugs safety in pregnancyDrugs safety in pregnancy
Drugs safety in pregnancy
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
Medications and Lactation: Principles for Safe Practice for the Clinician
Medications and Lactation: Principles for Safe Practice for the Clinician Medications and Lactation: Principles for Safe Practice for the Clinician
Medications and Lactation: Principles for Safe Practice for the Clinician
 
Drugs used in pregnancy and lactation
Drugs used in pregnancy and lactationDrugs used in pregnancy and lactation
Drugs used in pregnancy and lactation
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
 
Drugs in pregnancy
Drugs in pregnancyDrugs in pregnancy
Drugs in pregnancy
 
drugs in pregnancy
 drugs in pregnancy drugs in pregnancy
drugs in pregnancy
 
Drugs in Pregnancy - Jaber Manasia
Drugs in Pregnancy - Jaber ManasiaDrugs in Pregnancy - Jaber Manasia
Drugs in Pregnancy - Jaber Manasia
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 

Similar to Drug in pregnancy and lactation present

ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)Apichart Laithong
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014 Utai Sukviwatsirikul
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
Bleeding in first half of pregnancy
Bleeding in first half of pregnancyBleeding in first half of pregnancy
Bleeding in first half of pregnancynessasup nessasup
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนduangkaew
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 

Similar to Drug in pregnancy and lactation present (18)

Abortion
AbortionAbortion
Abortion
 
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
 
Bleeding in first half
Bleeding in first halfBleeding in first half
Bleeding in first half
 
Drug use in pregnancy breastfeeding
Drug use in pregnancy  breastfeedingDrug use in pregnancy  breastfeeding
Drug use in pregnancy breastfeeding
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
Bleeding in first half of pregnancy
Bleeding in first half of pregnancyBleeding in first half of pregnancy
Bleeding in first half of pregnancy
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
Pih
PihPih
Pih
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 

Drug in pregnancy and lactation present

  • 1. Drug in Pregnancy and Lactation นศภ.ณัฐกรณ์ ชูช่วยและ นศภ.ณิชา หาแก้ว นักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • 2. CONCEPT การใช้ยาในสตรีมีครรภ์เป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังอย่างยิ่ง เพราะยาบาง ชนิดสามารถผ่านรกไปถึงทารกในครรภ์ได้ โดยเฉพาะในระยะตั้งครรภ์ 3 เดือน แรก ซึ่งเป็นช่วงที่ทารกกา ลังมีการพัฒนารูปร่างอวัยวะต่าง ๆ ยาบางชนิดอาจมีผล ให้ทารก มีความพิการทางรูปร่าง เช่น แขนขากุด ปากแหว่ง เพดานโหว่ โดยปกติ สตรีมีครรภ์ไม่ควรใช้ยาเองเลย หากแต่เมื่อมีความ จา เป็นต้องใช้ยา ควรใช้ยาตาม คาแนะนาและการดูแลของแพทย์หรือเภสัชกรอย่างใกล้ชิด เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยต่อสตรี มีครรภ์และทารกในครรภ์มากที่สุด
  • 3. Contents • หลักการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ • Pregnancy Risk Category • ยาทคี่วรหลีกเลยี่งระหว่างการตั้งครรภ์ • ยาที่ใช้ในการรักษาโรคหรือภาวะต่างๆสาหรับสตรีมีครรภ์ ยาทใี่ช้ในการรักษาโรคหรือภาวะ ต่างๆสาหรับสตรีมีครรภ์ • การใช้ยาในหญิงให้นมบุตร
  • 5. PREGNANCY RISK CATEGORY • Farmaceutiska Specialiteteri Sverige (FASS) : A,B1,B2,B3,C,D • The United States Food and Drug Administration ,FDA(US FDA) : A , B , C , D และ X • Australian Drug Evaluation Committee (ADEC) หรือ Therapeutic Goods Administration (TGA) category : A,B1,B2,B3,C,D และ X
  • 6. PREGNANCY RISK CATEGORY(US FDA) A B C D X
  • 7. PREGNANCY RISK CATEGORY(US FDA) Category A เป็นยากลุ่มที่มีความปลอดภัยมากที่สุดในการใช้ระหว่างการ ตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการศึกษาในมนุษย์ เป็นที่เรียบร้อยแล้วไม่พบว่ามีความเสี่ยง ของการเกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์ระหว่างช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ หรือโอกาสที่จะเกิดอันตรายเกิดได้ค่อนข้างน้อย เช่น วิตามินรวมชนิดต่างๆ (Multivitamins) Category B ผลการทดลองไม่พบความเสี่ยงของอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตัวอ่อน ในครรภ์ของสัตว์ทดลอง แต่ยังไม่มีการทา การทดลองในมนุษย์ หรือการทดลอง พบความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายต่อตัวอ่อน ในครรภ์ของสัตว์ทดลอง แต่ไม่พบ ความเสี่ยงในสตรีมีครรภ์ เช่น Amoxicillin, Cloxacillin, Cephalexine ,Erythromycin
  • 8. Category C การทดลองพบความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายต่อตัวอ่อนในครรภ์ของ สัตว์ทดลอง แต่การศึกษาในสตรีมีครรภ์ไม่พบความเสี่ยงดังกล่าว หรือยังไม่มี การศึกษาทดลองในมนุษย์และสัตว์ทดลองจึงยังไม่มีข้อมูลเพียงพอในการสรุปว่า ยาดังกล่าวมีผลเสียหรือไม่ ยาทั่วไปจะอยู่ในกลุ่มนี้ เช่น Norfloxacin, Ciprofloxacin, Hyoscine (Buscopan®) Category D ยาที่มีการพิสูจน์แน่นอนแล้วว่ามีผลเสียต่อทารกในครรภ์ทั้งใน มนุษย์ และสัตว์ทดลอง แต่มีความจา เป็นต้องใช้เพื่อรักษาอาการผิดปกติของ มารดาระหว่างตั้งครรภ์ และประโยชน์ที่ใช้ในการรักษาจากการใช้ยานั้นมี มากกว่าความเสี่ยงที่ทารกในครรภ์จะได้รับอันตรายจากยา เช่น Streptomycin, Neomycin, Tetracyclin, Phenytoin (Dilantin®)
  • 9. Category X ยาที่มีข้อห้ามการใช้ในระหว่างการตั้งครรภ์ เนื่องจากมี การศึกษาที่แน่นอนทั้งในมนุษย์ และสัตว์ทดลองว่าทา ให้เกิดความ เสี่ยงหรืออันตรายต่อทารกในครรภ์ หรือมีรายงานการเกิดอันตรายต่อ ทารกในครรภ์ ของมนุษย์ที่ชัดเจนมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการ ใช้ยาเพื่อการรักษา เช่น Ergotamine (Cafergot®)
  • 10.
  • 14. หลักการใช้ยาในการรักษาอาการผิดปกติที่มักพบในสตรีมคีรรภ์ • อาการที่มักพบในระยะแรกของการตั้งครรภ์ ได้แก่ ▫ อาการคลื่นไส้ อาเจียน แสบยอดอก (heart burn) อาหารไม่ย่อย และ ปวดศีรษะ • อาการที่มักพบในระยะหลังของการตั้งครรภ์ ได้แก่ ▫ ท้องผูก ริดสีดวงทวาร ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ คันช่องคลอด และ ตะคริวที่ขา • อาการที่พบได้ทั่วไปในระหว่างตั้งครรภ์ และโรคเรื้อรังต่างๆ ที่เป็นก่อน การตั้งครรภ์
  • 16. คลื่นไส้/อาเจียน/เวียนศีรษะ Non-pharmacotherapy •เปลี่ยนแปลงการรับประทานอาหาร •หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้น Pharmacotherapy •Pyridoxime (Vit.B6) 50-200 mg/day (A) •Dimenhydrinate(B) ,Ondansetron(B), Metoclopramide (B)
  • 17. แสบยอดอก อาหารไม่ย่อย Non-pharmacotherapy • เปลี่ยนแปลงการรับประทานอาหาร • หนุนด้านหัวเตียงให้สูงกว่าด้านเท้า 6 นิ้ว Pharmacotherapy • ยาลดกรด Sucrafate (B) • ยาอื่นๆ H2 –Blocker : Ranitidine (B) , Cimetidine(B) PPIs :Omeprazole(C) ,Lansoprazole(B) Simethicone • ห้ามใช้ Misoprostol(X)
  • 18. ปวดศีรษะ Pharmacotherapy • Acetaminophen (B) • NSAIDs เป็น Cat B ในไตรมาสที่ 1 และ 2 แต่เป็น D ในไตรมาสที่ 3 • ไม่แนะนาให้ใช้ Cox-2 inhibitors ในสตรีมีครรภ์ • หากใช้ยา Acetaminophen ไม่ได้ผล อาจใช้ยา Acetaminophen+codeine (C) • ห้ามใช้ Ergotamine (X)
  • 20. ริดสีดวงทวาร • Non-pharmacotherapy ทานอาหารที่มีกากใยมากๆ นอนยกขาสูง หรือ ใช้น้า แข็งประคบเพื่อบรรเทาอาการเจ็บและพอง Pharmacotherapy • ถ้าอาการไม่ดีส่งต่อแพทย์เฉพาะทางและยาที่ใช้ควรเป็นยาภายนอก เท่านั้น
  • 21. ท้องผูก Non-pharmacotherapy •ดื่มน้า มากๆ ทานอาหารที่มีกากใยสูง •ออกกาลังกาย Pharmacotherapy •Bulking forming laxative (A) :Psylium •Bisacodyl(B),Lactulose(B) ,Senna(C) •หลีกเลี่ยงการใช้ castor oil (X )
  • 22. ตะคริวที่ขา Non-pharmacotherapy • นวดคลึงบริเวณที่เป็น • ออกกา ลังกาย Pharmacotherapy • Magnesium citrate(A) (ADR: ท้องเสีย, ปวดท้อง)
  • 23. การติดเชือ้ทางเดินปัสสาวะ Antibiotic • ควรเลือกใช่ยากลุ่ม Penicillinsและ Cephalosporins • Clindamycin(B) ,Azithromycin(B) ,Metronidazole(B) • หลีกเลี่ยงการใช้ trimetroprim และ cotrimoxazole • ห้ามใช้ Fluoroquinolone(C) โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสแรก • ห้ามใช้กลุ่ม Tetracycline (D) โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสที่ 2 และ 3
  • 24. หวัด Non-pharmacotherapy • หลักเลี่ยงสิ่งกระตุ้น • พักผ่อนให้เพียงพอ Pharmacotherapy • CPM (C) • Dextrometrophan (C) • Guaifenesin (C) • หลีกเลี่ยงการใช้ BPM (C)
  • 25. อาการคันช่องคลอด แยกเป็น 2 สาเหตุ • Candida albican Pharmacotherapy ยาทา Imidazole เช่น cotrimazole ยากิน เช่น Fluconazole (C/D), Itraconazole (C)ไม่แนะนาให้ใช้ • Trichomonas vaginalis Pharmacotherapy ยากิน เช่น Metronidazole (B) 200 mg tid 7 วัน หรือ Metronidazole 2 g sigle dose ไม่แนะนา ให้ใช้ไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์เนื่องจากอาจทา ให้ทารกพิการ
  • 27. ความดันโลหิตสูง • First line : Methyldopa (B) • Second line : Hydralazine(C) • หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม β-blockers ในช่วงไตรมาสแรกและไตรมาสที่ สอง • ACEIs : การใช้ในหญิงตั้งครรภ์เพิ่มความเสี่ยงในการเกิด major congenital malformations ไตรมาสแรกจัดเป็น Cat C ไตรมาส 2/3 จัดเป็น Cat D
  • 28. โรคลมชัก • ยังไม่มียาตัวใดในโรคนี้ที่ปลอดภัยในหญิงตั้งครรภ์ • การวางแผลนการตั้งครรภ์ ต้องพิจารณา Risk/Benefits • Phenytoin(D) พบรายงานอันตรายต่อทารกมากที่สุด ▫ Fetal Hydantoin Syndrome(FHS) ร้อยละ 7-11 ▫ Congenital heart disease พบมากในไตรมาส 3 ▫ กระตุ้น Metabolism Vit K [ให้ Vit.K1 10 mg/day plus Folic acid] • Carbamazepine(D) : ง่วงซึม เดินเซ เม็ดเลือดขาวต่า พิษต่อตับ • Phenobarbital(D) : ง่วงซึม เดินเซ ความผิดปกติของเลือด • Valproic acid(D) : ง่วงซึม เดินเซ ผมร่วง พิษต่อตับ ผิดปกติในการ พัฒนาสมอง
  • 31. การใช้ยาในหญิงให้นมบุตร • ยาส่วนใหญ่ผ่านสู่น้า นมได้ • ทารกที่ได้รับน้า นมจากมารดามีเพียงร้อยละ 10 ที่เกิดอาการไม่พึง ประสงค์ขึ้น • ปัจจุบันมีเพียงยาไม่กี่ชนิดที่ห้ามใช้ระหว่างให้นมบุตรเนื่องจากมี หลักฐานว่าก่อให้เกิด ADR ที่รุนแรงต่อทารก • การจา แนกกลุ่มยาตามความเสี่ยงสาหรับการใช้ยาในสตรีให้นมบุตร WHO Hale : L1 (safest) ,L2 (safer) ,L3 (moderately safe) , L4 (possibly hazardous) ,L5 (contraindicated)
  • 33.
  • 34.
  • 35. ตารางสรุปยาท่ใีช้ในหญิงต้งัครรภ์ และหญิงให้นมบุตร กลุ่มยา ระหว่างตั้งครรภ์ระหว่างให้นมบุตร ยาที่ควรใช้ (Drug of choice) ในสตรีมีครรภ์ และมารดาที่ให้นมบุตร Analgesics Acetaminophen Acetaminophen Anticoagulants Heparin, preferable LMWH Heparin, Warfarin Anticonwulsants Phenobarbital Carbemazepine, Ethosuximide or Valproic acid Antidiatetics Insulin Insulin, Tolbutamide Antihypertensives Methyldopa ACEI or CCB Anti-infectives Penicillin, cephalosporin Penicillin , cephalosporin Corticosteriods Prednisolone Prednisolone Decongestants Oxymetolazine drops/ spray Oxymetolazine drops/ spray Gl protectants Magnesium hydroxide, Calcum carbonate, Aluminium hydroxide, Ranitidine, Sucralfate Sucralfate or Famotidine Laxatives / Stool softeners Psyllium or docusate Psyllium or docusate
  • 37. Antibacterials (β-lactam drugs) Pregnancy Risk Category Amoxicillin B Amoxicillin+clavulanic (Augmentin®) B Ampicillin B Ampicillin sodium + Sulbactam (Unasyn®) B Cloxacillin B Cephalexine B Cefazolin B Cefuroxime (Zinnat ®) B Ceftazidime B
  • 38. Antibacterials (β-lactam drugs) Pregnancy Risk Category Ceftriaxone B Cefdinir (Omnicef®) B Cefditoren (Meiact®) B Cefixime (cefspan®) B Cefoperazone + sulbactam (sulperazone®) B Imipenem + cilastatin (Tienam®) c Meropenem (Meronem) ® B Ertapenem (Invanz®) B
  • 39. Quinolone Pregnancy Risk Category Norfloxacin C , Ciprofloxacin C Ofloxacin C Levofloxacin (Cravit®) C Moxifloxacin (Avelox®) C Macrolide Pregnancy Risk Category Erythromycin B Roxithromycin (Rulid®) B Clarithromycin (Klacid®, Crixan®) C Azithromycin (Zithromax®) B
  • 40. Other antibacterial Pregnancy Risk Category Tetracyclin D Doxycyclin D Clindamycin (Dalacin C®) B Metronidazole (Flagyl®) B Chloramphenicol C Trimethoprim-Sulfamethoxazole (Bactrim®) C Aminoglycoside Pregnancy Risk Category Gentamycin C Amikacin D Netilmycin D Streptomycin D Neomycin C
  • 41. Antiviral drugs Pregnancy Risk Category Acyclovir B Valacyclovir B Ganciclovir C Oseltamivir (Tamiflu®) C Antifungal drugs Pregnancy Risk Category Itraconazole (Sporal®) C Fluconazole (Diflucan®) C Ketoconazole C Clotrimazole V.T (Fungiderm®)B/C(Troches) C Griseofulvin C Nystatin C
  • 42. Anthelminthics Pregnancy Risk Category Albendazole C Mebendazole C Praziquantel B Analgesics Pregnancy Risk Category Paracetamol B Morphine C Pethidine (prolonged use or high doses at term) C/D Tramadol (Tramal®) C
  • 43. Antimigraine Pregnancy Risk Category Ergotamine (Cafergot®) X Zolmitriptan(Zomig®) C Antiallergics and drugs used in anaphylaxis Pregnancy Risk Category Dexamethasone C Hydrocortisone C Prednisolone (prolong use) C/D
  • 44. Antihistamine Pregnancy Risk Category Chlorpheniramine (CPM) B Diphenhydramine(Benadryl®) B Hydroxyzine (Atarax®) C Doxepine (Sinequan®) C Cetirizine (Zyrtec®) B Loratadine (Clarityne®) B Desloratadine (Aerius®) C Fexofenadine (Telfast®) C Triprolidine/Pseudoephedrine(Actifed®) C/C
  • 45. Antitussives ; Expectorants Pregnancy Risk Category Acetylcysteine (Fluimucil®, Mysoven®, Nac long®) B Codeine/Guaifenesin (Ropect®) C/C Dextromethorphan (Romilar®) C Bromhexine(Bisolvon®) B Carbosysteine (Flemex®) B Antiasthmatic drugs Pregnancy Risk Category Salbutamol (Ventolin®) C Theophylline (Theo-dur®) C Procaterol hydrochloride C (Meptin)-Salmeterol + fluticasone (Seretide®) Montelukast sodium (Singulair®) B
  • 46. Nonsteroidal Anti-Inflammatory Drugs (NSAIDs) Pregnancy Risk Category Diclofenac (Votaren®) B Ibuprofen (Brufen®) B/ D(in 3rd trimester or near delivery) Mefenamic (Ponstan®) C/ D(in 3rd trimester or near delivery) Meloxicam (Mobic®) C/ D(in 3rd trimester or near delivery) Piroxicam (Feldene®,Brexin®) C/ D(in 3rd trimester or near delivery) Naproxen (Synflex®) C/ D(in 3rd trimester or near delivery) Indomethacin(Indocid®) B/ D (3rd trimester) Sulindac (Clinoril®) B/D(in 3rd trimester or near delivery) Celecoxib (Celebrex®) C Parecoxib (Dynastat®) C
  • 47. Dyspepsia Pregnancy Risk Category Alum milk (Aluminium + magnesium) C Cimetidine B Simeticone (Air-x®) C Ranitidine B Esomeprazole (Nexium®) B Pantoprazole (Controloc®) B Lantoprazole (Prevacid®) B Rabeprazole (Pariet®) B Omeprazole(Miracid®) C Sucrafate B
  • 48. Anti-emetic Pregnancy Risk Category Dimenhydrinate B Domperidone (Motilium M®) C Metoclopramide (Plasil®) B Ondansetron (Onsia®) B Hyoscine (Buscopan®) C Anti –Diarrheals Pregnancy Risk Category Loperamide(Imodium®) B Diphenoxylate/atropine(Lomotil®) C/C Activated charcoal (Ultracarbon®) C Dioctahedral smectite (Smectra®) สามารถใช้ในหญิงตั้งครรภ์ได้ ยาไม่ ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
  • 49. Antispasmodics Pregnancy Risk Category Hyoscine-N-butylbromide (Buscopan) C Mebeverine(Colofac) B Flavoxate (Urispas) B
  • 50. Laxatives Pregnancy Risk Category= 1.Bulk-forming laxative Psyllium (Mucillin®) B Macrogol (Forlax®) C 2.Stimulant Senna (Senokot®) Bisacodyl (Dulcolax®) Castor oil (น้า มันละหุ่ง) C B/C 3.Osmotic laxatives Glycerin suppositories Magnesium Hydroxide (Milk of magnesia®) Lactulose (Duphalac®) C B B 4.Lubricants Mineral oil (Liquid paraffin) B 5.Stool softener Docusate sodium C
  • 51. Tranquilizers Pregnancy Risk Category Diazepam D Alprazolam (Xanax®) D Clonazepam (Rivotril®) D Anticonvulsants/Antiepileptics Pregnancy Risk Category Phenobarbital D Phenytoin (Dilantin®) D Valproic acid (Depakin®) D Carbamazepine (Tegretol®) D Gabapentin (Neurontin®) C
  • 52. Antidepression Pregnancy Risk Category Amitriptyline C Doxepin (Sinequan®) C Duloxetine (Cymbalta®) C Fluoxetine (Prozac®) C NortriptylineCSertraline (Zoloft®) C Venlafaxine (Efexor XR®) C

Editor's Notes

  1. 1. การใช้ยาในระหว่างตั้งครรภ์นั้น มีความจำเพาะคือ ยาอาจจะไปมีผลต่อทารกในครรภ์ได้ ดังนั้นแพทย์จะต้องรู้ว่าการใช้ยาชนิดหนึ่งจะปลอดภัยกว่าการใช้ยาอีกชนิดหนึ่ง จึงต้องเลือกยาชนิดที่ปลอดภัยที่สุด เมื่อนำมาใช้ในระหว่างตั้งครรภ์ 2. ให้ใช้ยาในขนาดต่ำที่สุดที่แนะนำให้ใช้ ที่มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคในผู้ป่วยได้ในระหว่างตั้งครรภ์ 3. พยายามไม่ใช้ยาหลายชนิดพร้อมกันในการรักษาโรค (polytherapy) ในระหว่างตั้งครรภ์ 4. พยายามเลือกใช้ยาชนิดเก่าที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นยามาตรฐานในการรักษา (gold standard) มากกว่ายาชนิดใหม่ แม้ว่าจะมีการอ้างสรรพคุณในการรักษาดีกว่ายาชนิดเก่า เพราะเรื่องความปลอดภัยในทารกในครรภ์นั้น มักจะยังมีข้อมูลไม่เพียงพอ แต่ถ้าจะนำมาใช้ก็ต้องอยู่ในประเด็นที่ว่าไม่มียามาตรฐานชนิดอื่นๆ ให้เลือกใช้แล้ว หรือชั่งน้ำหนักแล้วเมื่อนำยาชนิดใหม่มาใช้แล้วจะได้ประโยชน์มากกว่าการเลือกใช้ยาชนิดเก่า