SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
1
Using Array
 array คือชุดข้อมูลที่ถูกนำำมำเรียงต่อๆ กันอย่ำงมี
ลำำดับ โดยเก็บ
ในตัวแปร ชนิด array สำมำรถอ้ำงถึงสมำชิก
แต่ละตัว (element)
ด้วย index
$ar_ID[0] = 13900990;
$ar_ID[1] = 13901032;
2
Using Array
 ฟังก์ชั่น foreach() ใช้ดึงข้อมูลโดยไม่อ้ำงถึง index ของ
ตัวแปร
array ออกมำทำำงำนเป็นรอบ โดยไม่ใช้ loop
รูปแบบที่ 1
foreach(array_expression as $value){
statement;
}
รูปแบบที่ 2
foreach(array_expression as $key => $value){
statement;
}
3
Using Array
 สร้ำง array ด้วยฟังก์ชั่น array()
Demo
<? #array01.php
$ar_name = array(“ทินกร",“มำนพ", “กวิน");
foreach($ar_name as $eachname)
{
echo $eachname.”<br>”;
}
?>
4
Using Array
 สร้ำง array ด้วยกำรกำำหนดค่ำให้กับตัวแปร array
Demo
<? #array02.php
$ar_ID[] = 13900990;
$ar_ID[] = 13901032;
$ar_ID[] = 13900854;
foreach($ar_ID as $i => $Emp_ID)
{
print(($i+1)."). ".$Emp_ID."<br>");
}
?>
5
Using Array
 สร้ำง array ด้วยกำรกำำหนดค่ำให้กับตัวแปร array
Demo
<? #array03.php
$country[] = "China";
$country[] = "Thailand";
$country[] = "India";
$country[] = "Japan";
print "<select name=selCountry>";
foreach($country as $countryCode => $countryName){
print("<option value=$countryCode>$countryName</option>");
//print $countryName."<br>";
}
print "</select>";
?>
6
Using Array
 สร้ำง array ด้วยกำรกำำหนดค่ำให้กับตัวแปร array
Demo
<? #array05.php
$country = array("CH" => "China",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
print "<select name=selCountry>";
foreach($country as $countryCode => $countryName){
print("<option value=$countryCode>$countryName</option>");
//print $countryName."<br>";
}
print "</select>";
?>
7
Using Array
 สร้ำง array ด้วยฟังก์ชั่น range()
ใช้ในกำรสร้ำง array ที่มีค่ำเป็นลำำดับจำำนวนเต็ม เช่น
array(1,2,3,4,5) หรือ เป็นลำำดับของตัวอักษรตัวเดียว เช่น
array(“a”, “b”, “c”, “d”, “e”)
Demo
<? #array04.php
$ar_char=range(“A",“Z");
foreach($ar_char as $ar_value){
print("- ".$ar_value."<br>");
}
?>
8
Using Array
 ฟังก์ชัน array_unique() ใช้กำำจัดข้อมูลใน
array ที่มีค่ำซำ้ำกัน
Demo
<? #arunique.php
$arFruit = array("apple","mango","guava","apple","strawberry");
$aruFruit = array_unique($arFruit);
print "Fruit in arFruit[] <br>";
foreach($arFruit as $index => $fruit){
print($index+1)." - $fruit<br>";
}
print "Fruit in aruFruit[] <br>";
foreach($aruFruit as $index => $fruit){
print($index+1)." - $fruit<br>";
}
?>
9
Using Array
 กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน
 sort(), rsort()
เรียงลำำดับข้อมูลจำกน้อยไปหำมำก (ascending) แบบ case
sensitive
ใช้ sort()
เรียงลำำดับข้อมูลจำกมำกไปหำน้อย (descending) แบบ case
sensitive
ใช้ rsort()
Demo
<? #sort.php
$arFruit = array("apple","mango","guava","apple","strawberry");
$aruFruit = array_unique($arFruit);
sort($aruFruit);
print "Fruit in aruFruit[] - sort asc.<br>";
foreach($aruFruit as $index => $fruit){
print($index+1)." - $fruit<br>";
}
?>
10
Using Array
 กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน
 asort(), arsort()
เรียงลำำดับข้อมูลจำกน้อยไปหำมำก (ascending) เหมือน
sort()
เรียงลำำดับข้อมูลจำกมำกไปหำน้อย (descending) เหมือน
rsort()
แต่ไม่จัดเรียงคีย์ใหม่
Demo
<? #asort.php
$arFruit = array("apple","mango","guava","apple","strawberry");
$aruFruit = array_unique($arFruit);
asort($aruFruit);
print "Fruit in aruFruit[] sort asc.<br>";
foreach($aruFruit as $index => $fruit){
print($index+1)." - $fruit<br>";
}
?>
11
Using Array
 กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน
 natsort()
หำกข้อมูลที่ต้องกำรเรียงลำำดับหน้ำตำเหมือนกันแต่ลงท้ำยด้วยตัวเลขที่สำมำรถจัดลำำดับ
ได้จะพบปัญหำว่ำกำรเรียงลำำดับเป็นดังนี้ 1 10 2 20
natural sort หรือ natsort() สำมำรถแก้ปัญหำได้แบบ case sensitive
Demo
<?php #natsort.php
$array1 = $array2 = array("img12.png", "img10.png", "img2.png", "img1.png");
echo "Start datan";
print_r($array1);
print "<br>";
sort($array1);
echo "Standard sortingn";
print_r($array1);
print "<br>";
natsort($array2);
echo "nNatural order sortingn";
print_r($array2);
?>
12
Using Array
 กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน
 natcasesort()
ช่วยในกำรเรียงลำำดับข้อมูลเหมือน natsort() แต่เป็นแบบ case insensitive
Demo
<?php #natcasesort.php
$array1 = $array2 = array('IMG0.png', 'img12.png', 'img10.png', 'img2.png', 'img1.png', 'IMG3.png');
echo "Start datan";
print_r($array1);
print "<br>";
sort($array1);
echo "Standard sortingn";
print_r($array1);
print "<br>";
natcasesort($array2);
echo "nNatural order sorting (case-insensitive)n";
print_r($array2);
?>
13
Using Array
 กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน
 ksort(), krsort()
ช่วยในกำรเรียงลำำดับข้อมูลโดยคงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงคีย์กับข้อมูล (ตำม
index)
Demo
<?php #ksort.php
$city = array("Thailand" => "Bangkok",
"Japan" => "Tokyo",
"Canada" => "Ottawa",
"China" => "Beijing",
"India" => "Dehli");
ksort($city);
foreach($city as $country => $capital){
print $country." - $capital<br>";
}
?>
14
Using Array
 กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน
 array_reverse()
ช่วยในกำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ใหม่โดยค่ำ element สุดท้ำยจะขึ้น
มำเป็นค่ำแรก และค่ำแรก
กลับมำเป็นค่ำสุดท้ำย
Demo
<?php #arreverse.php
$city = array("Thailand" => "Bangkok",
"Japan" => "Tokyo",
"Canada" => "Ottawa",
"China" => "Beijing",
"India" => "Dehli");
$result = array_reverse($city);
foreach($result as $country => $capital){
print $country." - $capital<br>";
}
?>
15
Using Array
 กำรรวม array เข้ำด้วยกัน (array merging)
 ใช้ operator + ในกำรรวม array 2 ชุด เข้ำด้วยกัน
หำกค่ำใน array ทั้งสองที่นำำมำรวมกันมี ” ”คีย์ ที่ซำ้ำ
กัน element
นั้นจะไม่ถูกรวมมำด้วย (element ของอำร์เรที่นำำ
มำรวมทีหลัง)
16
Using Array
 กำรรวม array เข้ำด้วยกัน (array merging)
 ใช้ operator +
Demo
<? #operator.php
$oldcountry = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
$newcountry["CH"] = "Chiangmai";
$newcountry["TH"] = "Thibet";
$newcountry["HK"] = "Hong Kong";
$country = $oldcountry + $newcountry;
foreach($country as $countrycode => $countryname){
print $countrycode." - $countryname<br>";
}
?>
17
Using Array
 กำรรวม array เข้ำด้วยกัน (array merging)
 กำรใช้ฟังก์ชั่น array_merge()
 ใช้รวม array 2 ชุดเข้ำด้วยกัน หำกค่ำใน array ทั้งสองที่
นำำมำรวมกันมี “ ”คีย์ ซำ้ำกัน element นั้นจะถูกแทนที่ด้วยค่ำ
ของ element ที่มีคีย์ที่เหมือนกัน
18
Using Array
 กำรรวม array เข้ำด้วยกัน (array merging)
 ใช้ฟังก์ชัน array_merge()
Demo
<? #armerge.php
$oldcountry = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
$newcountry["CH"] = "Chiangmai";
$newcountry["TH"] = "Thibet";
$newcountry["HK"] = "Hong Kong";
$country = array_merge($oldcountry , $newcountry);
foreach($country as $countrycode => $countryname){
print $countrycode." - $countryname<br>";
}
?>
19
Using Array
 การรวม array เข้าด้วยกัน (array merging)
 การใช้ฟังก์ชั่น array_merge_recursive()
 ใช้รวม array 2 ชุดเข้าด้วยกัน หากค่าใน array ทั้งสองที่
นำามารวมกันมี” ”คีย์ ซำ้า
กัน ค่าที่ซำ้ากันจะถูกนำามารวมกันเป็น array ที่ซ้อนอยู่ใน
array หลัก มีคีย์
เป็นเลขตั้งแต่ 0 ไปตามลำาดับ
20
Using Array
 การรวม array เข้าด้วยกัน (array merging)
 ใช้ฟังก์ชัน array_merge_recursive()
Demo
<? #armrec.php
$oldcountry = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
$newcountry["CH"] = "Chiangmai";
$newcountry["TH"] = "Thibet";
$newcountry["HK"] = "Hong Kong";
$country = array_merge_recursive($oldcountry , $newcountry);
foreach($country as $countrycode => $countryname){
if(gettype($countryname) == "array"){
print "[$countrycode]:<br>";
foreach($countryname as $key => $cname){
print "&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;[$key] - $cname<br>";
}
}else{
print "[$countrycode] : $countryname<br>";
}
}
?>
21
Using Array
 การหา element ที่แตกต่างกันระหว่าง array
 ใช้ฟังก์ชั่น array_diff()
 ใช้สำาหรับหา element ของ array ที่ระบุมาเป็น
argument ตัวแรก
ที่มีค่า “ ”คีย์ ไม่ซำ้ากับใน array ที่ระบุเป็น argument
ถัดๆ ไป
22
Using Array
 การหา element ที่แตกต่างกันระหว่าง array
 ใช้ฟังก์ชัน array_diff()
Demo
<? #ardiff.php
$oldcountry = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
$newcountry["CH"] = "Chaina";
$newcountry["TH"] = "Thailand";
$newcountry["HK"] = "Hong Kong";
$country = array_diff($oldcountry , $newcountry);
foreach($country as $countrycode => $countryname){
print "[$countrycode] : $countryname<br>";
}
?>
23
Using Array
 การหา element ที่เหมือนกันระหว่าง array
 ใช้ฟังก์ชั่น array_intersect()
 ใช้สำาหรับหาค่าสมาชิกของ array ที่มีค่า “ ”คีย ซำ้ากัน
ระหว่าง array ตั้งแต่สองตัวขึ้นไป โดยผลลัพธ์ที่ได้ยังคง
คีย์เดิมเอาไว้
24
Using Array
 การหา element ที่แตกต่างกันระหว่าง array
 ใช้ฟังก์ชัน array_intersect()
Demo
<? #arintersect.php
$oldcountry = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
$newcountry["CH"] = "Chaina";
$newcountry["TH"] = "Thailand";
$newcountry["HK"] = "Hong Kong";
$country = array_intersect($oldcountry , $newcountry);
foreach($country as $countrycode => $countryname){
print "[$countrycode] : $countryname<br>";
}
?>
25
Using Array
 การถอนค่า (pop) และการเพิ่มค่า (push) ใน
array
 ใช้ฟังก์ชั่น array_pop(), array_push()
array_pop() ใช้สำาหรับหาค่า element สุดท้ายของ array
แล้วลบ
element สุดท้ายใน array นั้นทิ้ง โดยผลลัพธ์ที่ได้ยังคีย์เดิม
เอาไว้
รูปแบบ
mixed array_pop(array array)
erray_push() ใช้สำาหรับเพิ่มค่า element ใหม่เข้าไปใน
array
รูปแบบ
int array_push(array array, mixed var[, mixed.])
26
Using Array
 การถอนค่า (pop) และการเพิ่มค่า (push) ใน array
 ใช้ฟังก์ชัน array_pop(), array_push()
Demo
<? #arpop.php
$country = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
$last = array_pop($country);
print_r($country);
print "<br>POP Item = $last";
?>
27
Using Array
 การถอนค่า (pop) และการเพิ่มค่า (push) ใน array
 ใช้ฟังก์ชัน array_pop(), array_push()
Demo
<? #arpush.php
$country = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
$newpush = "USA";
$new = array_push($country, $newpush);
print_r($country);
print "<br>New PUSH Item = $new";
?>
28
Using Array
 การย้าย-ตัด-จัดเรียง-เลื่อน-แทรก-แทนที่ element ใน
array
 ใช้ฟังก์ชั่น array_splice()
ในการใช้งาน array เราอาจมีความจำาเป็นต้องลบค่าบางค่า
ภายใน
array ออกโดยต้องการให้มีการจัดลำาดับใหม่ หรือต้องการ
แทรก
ค่าเข้าไปใน array ที่มีอยู่เดิม
รูปแบบ
array array_splice(array input, int offset [,int length
[,array replacement])
Input คืออาเรย์ที่จะถูกดำาเนินการ
Offset คือตัวเลขระบุตำาแหน่ง element เริ่มต้นของการดำาเนินการ
29
Using Array
 การย้าย-ตัด-จัดเรียง-เลื่อน-แทรก-แทนที่ element ใน array
 ใช้ฟังก์ชัน array_splice()
การตัดบาง element ออกและจัดลำาดับคีย์ใหม่ด้วยฟังก์ชัน array_splice()
Demo
<? #arsplice.php
$country = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
print "Before splice...<br>";
foreach($country as $countrycode => $countryname){
print("$countrycode => $countryname<br>");
}
array_splice($country, 1, 2);
print "<br>After splice...<br>";
foreach($country as $countrycode => $countryname){
print("[$countrycode] => $countryname<br>");
}
?>
30
Using Array การย้าย-ตัด-จัดเรียง-เลื่อน-แทรก-แทนที่ element ใน array
 ใช้ฟังก์ชัน array_splice()
การแทนที่ค่าใน array ด้วยฟังก์ชัน array_splice()
Demo
<? #arsplice02.php
$country = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
$other = array("Hong Kong", "Korea");
print "Before splice...<br>";
foreach($country as $countrycode => $countryname){
print("$countrycode => $countryname<br>");
}
$remove = array_splice($country, 1, 2, $other);
print "<br>After splice...<br>";
foreach($country as $countrycode => $countryname){
print("[$countrycode] => $countryname<br>");
}
print "<br>Remove elements...<br>";
foreach($remove as $countrycode => $countryname){
print("[$countrycode] => $countryname<br>");
}
?>
31
Using Array
 การนับจำานวน element ใน array
 ใช้ฟังก์ชั่น count()
ใช้นับจำานวน element ใน array
รูปแบบ
int count(mixed var [, int mode])
var คือตัวแปรหรือค่าอาเรย์ที่ต้องการนับจำานวน element
Demo
<? #count.php
$country = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
print count($country);
?>
32
Using Array
 การตัวชี้กลับไปที่ element แรกของ array
 ใช้ฟังก์ชั่น reset()
ใช้เลื่อนตัวชี้กลับไปที่ element แรกของ array
Demo
<? #reset.php
$country = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
print count($country)."<br>";
print reset($country);
?>
33
Using Array
 การอ่านค่าใน array
 ใช้ฟังก์ชั่น each()
จะให้ค่าเป็น คีย์ และ element ของ array ที่ตัวชี้ทำาการชี้
อยู่ใน
ขณะนั้นพร้อมทั้งจะเลื่อนตัวชี้ไป element ถัดไป
Demo
<? #each.php
$country = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
while($val = each($country)){
print $val[key]." => ".$val[value]."<br>";
}
?>
34
Using Array
 การนำาค่าใน array ใส่ลงในตัวแปร
 ใช้ฟังก์ชั่น list()
เป็นวิธีการในการนำาค่าของแต่ละ element ของ
array มาแยก
ลงในตัวแปรแต่ละตัว เมื่อทราบจำานวน element
แน่นอน
Demo
<? #list.php
list($day, $month, $year) = explode("-",date("d-m-Y"));
print " $day = ".$day."<br>";
print " $month = ".$month."<br>";
print " $year = ".$year."<br>";
?>
35
Using Array
 การทำาลายตัวแปร array
 ใช้ฟังก์ชั่น unset()
เป็นวิธีการยกเลิกตัวแปร array หรือเป็นการคืนหน่วยความจำาให้กับ
คอมพิวเตอร์
Demo
<? #unset.php
$country = array("CH" => "Chaina",
"TH" => "Thailand",
"IN" => "India",
"JP" => "Japan");
unset($country);
//print_r($country);
while(list($countrycode, $countryname) = each($country)){
print $countrycode." => ".$countryname."<br>";
}
?>
36
Using Array
 array 2 มิติ
 ใน php ไม่มีข้อจำากัดเกี่ยวกับขนาดของมิติของ array ขึ้นอยู่กับหน่วยความจำา
Demo
<?#dim.php
$number = array(2 => array(4,6,8), 3 => array(6,9), 4 => array(8));
print "<table border=1>";
print "<tr>";
foreach($number as $parent => $child){
print "<td align='center' colspan='".count($number[$parent])."'>".$parent;
}
print "</td></tr><tr>";
foreach($number as $parent => $child){
foreach($child as $key => $value){
print "<td align='center'>".$value;
}
}
print "</td></tr></table>";
?>
37
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
 date()
เป็นฟังก์ชันที่ใช้รับวันที่และเวลา ณ ปัจจุบันของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ สามารถกำาหนดรูปแบบของวันที่และเวลาได้
รูปแบบ
String date (string format [, int timestamp])
format คือรูปแบบวันที่และเวลาซึ่งจะแทนด้วยตัวอักษรภาษา
อังกฤษ 1 ตัว
d แทนวันที่เลข 2 หลัก 01-31D แทนวันในสัปดาห์ Sun-
Sat
m แทนเดือนเลข 2 หลัก 01-12 M แทนชื่อย่อของเดือน
Jan-Dec
n แทนเดือนไม่มี 0 นำาหน้า 1-12
y แทนปี ค.ศ. เลข 2 หลัก 98,99,05 Y แทนปี ค.ศ. เลข 4
หลัก 1998
38
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
Demo
<?#date.php
print date("d/m/Y")."<br>";
print date("d/m/Y H:i:s")."<br>";
print date("D d M Y h:i:s a")."<br>";
?>
39
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
 getdate()
 เป็นฟังก์ชันที่ใช้รับวันที่และเวลา ณ ปัจจุบันของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ โดยฟังก์ชันจะให้ผลลัพธ์ที่เป็น array ของวัน
เดือน ปี และเวลาในรูปแบบต่างๆ
 รูปแบบ
 array getdate([int timestamp])
 timestamp เป็นตัวเลข integer ลำาดับเวลาทุกหนึ่งนาที
 โดย getdate จะคืนค่ามาเป็น array จำานวน 10 elements
ได้แก่
 second – วินาที minutes – นาที hours
– ชั่วโมง
 mday – วันที่ wday – วันในสัปดาห์(0-6) mon – เลขเดือน
40
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
Demo
<?#getdate.php
$nowdate = getdate();
$today = $nowdate['mday']."/";
$today.=$nowdate['mon']."/";
$today.=$nowdate['year'];
print $today."<br>";
?>
41
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
 getdate()
//…
$nowdate = getdate();’
print “ณ วัน”;
switch($nowdate[‘wday’]){
case 0: $day = “อาทิตย์”;break;
case 1: $day = “จันทร์”;break;
case 2: $day = “อังคาร”;break;
//…
}
42
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
 getdate()
switch($nowdate[‘mon’]){
case 1: $ month = “มกราคม”;break;
case 2: $ month = “กุมภาพันธ์”;break;
case 3: $ month = “มีนาคม”;break;
//…
}
$year=$nowdate[‘year’]+543;
Print $day.” ที่ “.$nowdate[‘mday.” “.$month];
Print “พ.ศ. “.$year.”<br>”;
43
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
 time(), mktime()
เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้รับเวลา ณ ปัจจุบันของเครื่องคอมพิวเตอร์
Demo
<?#time.php
print "time ".time()." = ".date("H:i:s", time())."<br>";
print "mktime = ".mktime()." = " .date("H:i:s",
mktime())."<br>";
?
ทั้งสองฟังก์ชั่นต่างกันตรงที่ mktime() สามารถรับ argument
ตัวเลขวันที่ และเวลาเข้าไปเพื่อสร้าง timestamp ตามวันที่และ
เวลานั้นได้
รูปแบบ
Int mktime(int hour, int minute, int second, int mohth, int
day, int year[, int is_dst])
44
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
 time(), mktime()
Demo
<?#mktime.php
$mktime = mktime(13,20,10,3,28,2005);
print "mktime = ".$mktime." = ".date("H:i:s", $mktime)."<br>";
?>
45
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
 strtotime()
เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้รับค่าวันที่และเวลาด้วยข้อความ หลาก
หลายรูปแบบ
Demo
<?#strtotime.php
print "date-time ".date(" d-m-Y H:i:s", strtotime("28 Mar 2005"))."<br>";
print "date-time" .date(" d-m-Y H:i:s", strtotime("-2 hours"))."<br>";
print "date-time" .date(" d-m-Y H:i:s", strtotime("+2 days"))."<br>";
print "date-time" .date(" d-m-Y H:i:s", strtotime("last year"))."<br>";
?>
46
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
 gmdate()
เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ในการหาวันที่และเวลามาตรฐานกรี
นิช ใช้งานเหมือน
ฟังก์ชั่น date()
Checkdate()
เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ทำาหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของ
ข้อมูลประเภทวันที่
โดยมีเงื่อนไขการตรวจสอบคือ
 ปี ค.ศ. ตั้งแต่ 1 ถึง 32766
 เดือน ตั้งแต่ 1 ถึง 12
 วันที่ ที่ถูกต้องของเดือนนั้นๆ
 รูปแบบ
47
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา
 checkdate()
Demo
<?#checkdate.php
$gmdate = gmdate("d-m-Y");
print $gmdate." เวลา GMT ".gmdate("H:i:s")."<br>";
list($mday, $mmonth, $myear)=explode("-",$gmdate);
if(checkdate($mmonth, $mday, $myear)){
print "The date $gmdate is valid.";
}else{
print "$gmdate is invalid date";
}
?>
48
Using Regular Expression
 ใช้ตรวจสอบรูปแบบของข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้า
เข้าระบบ เช่น หมายเลขโทรศัพท์, e-mail
address และ URL ของเว็บเพจ เป็นต้น
 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ (not
complete)
สัญลักษณ์ ^
ใช้ตรวจสอบตัวอักษรหรือข้อความที่สอดคล้องกับรูป
แบบที่อยู่ข้างหน้าเครื่องหมาย ^ เช่น (ตรวจสอบรูป
แบบข้างหลังเครื่องหมาย)
“http^”
49
Using Regular Expression
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ (complete)
สัญลักษณ์ $
ใช้ตรวจสอบตัวอักษรหรือข้อความสุดท้ายที่สอดคล้อง
กับรูปแบบที่อยู่หน้าเครื่องหมาย $ เช่น (ตรวจสอบรูป
แบบข้างหน้าสอดคล้องกับอักษรที่กำาหนด)
“com$”
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
“http://www.google.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
Regexp02.php
50
Using Regular Expression
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ
สัญลักษณ์ .
ใช้ตรวจสอบตัวอักษรใดๆ ก็ได้จำานวนหนึ่งตัวอักษร
เช่น
“.”
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
regexp03.php //not worked
“t”
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
regexp04.php
51
Using Regular Expression
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ (complete)
สัญลักษณ์ |
เท่ากับคำาว่า หรือ ใช้ตรวจสอบตัวอักษรหรือข้อความที่
อยู่หน้าตัวอักษรหรือสัญลักษณ์นี้ เช่น
“cat|dog”
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
“http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
regexp05.php
52
Using Regular Expression
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ (not
complete)
สัญลักษณ์ ?
ใช้เปรียบเทียบส่วนใดส่วนหนึ่งของข้อความหาก
สอดคล้องกับตัวอักษรหรือรูปแบบที่อยู่หน้าเครื่องหมาย
คำาถามนี้จำานวนศูนย์หรือหนึ่งครั้งจะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
เช่น
“t?”
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
“http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
“ot?.c”
53
Using Regular Expression
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ
สัญลักษณ์ *
ใช้เปรียบเทียบส่วนใดส่วนหนึ่งของข้อความหาก
สอดคล้องกับตัวอักษรหรือรูปแบบที่อยู่หน้าเครื่อง
ดอกจันนี้จำานวนศูนย์หรือมากกว่าหนึ่งครั้งจะให้ผลลัพธ์
เป็นจริง เช่น
“to*t”
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
“http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
“http://www.tatoothai.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
54
Using Regular Expression
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ
สัญลักษณ์ +
ใช้เปรียบเทียบส่วนใดส่วนหนึ่งของข้อความที่
สอดคล้องกับตัวอักษรหรือรูปแบบที่อยู่หน้าเครื่องหมาย
นี้จำานวนหนึ่งครั้งหรือมากกว่า เช่น
“to+t”
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
“http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
“http://www.tatoothai.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
55
Using Regular Expression
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ
สัญลักษณ์ 
ใช้เพื่อนำาหน้าตัวอักษรพิเศษได้แก่ ^ $ . | ? +  [ ] ( )
{ } ซึ่งในกลุ่มอักขระพิเศษใช้เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อความ
หมายอื่น เช่น
“.com”
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
“http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
“http://www.tatoothai.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
56
Using Regular Expression
 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ
สัญลักษณ์ [ ]
ใช้แสดงกลุ่มตัวอักษรหรือกลุ่มคำาในการเปรียบเทียบ
เช่น
[a-z] หมายความว่า ข้อความที่นำามาเปรียบเทียบมีตัว
อักษรตัวใดตัวหนึ่งอยู่ระหว่าง a-z ก็จะให้ผลลัพธ์เป็น
จริง
[A-Z0-9] หมายความว่าข้อความที่นำามาเปรียบเทียบมี
ตัวอักษรตัวใดตัวหนึ่งเป็น ตัวอักษร A-Z หรือ ตัวเลข
0-9 ก็จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
ตัวอย่าง เช่น
“[s-z]ot“
57
Using Regular Expression
 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ
สัญลักษณ์ [ ]
หากมีสัญลักษณ์ ^ อยู่ในเครื่องหมาย [ ] นี้ จะให้
ความหมายตรงกันข้าม เช่น
“[^s-z]ot“
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
“http://www.aot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
58
Using Regular Expression
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ
สัญลักษณ์ ( )
ใช้ในการจัดกลุ่มตัวอักษรให้เป็นกลุ่มเดียวกันซึ่งหากมี
สัญลักษณ์ ^ นำาหน้าหรือมีสัญลักษณ์ $ | ? * + ตาม
หลัก) ก็จะประมวลผลเสมือนว่ากลุ่มตัวอักษรในวงเล็บนี้
เป็นตัวอักษรเดียวกัน เช่น
“(tot.)”
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
“http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
“http://www.tatoothai.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
59
Using Regular Expression
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ
สัญลักษณ์ { }
ใช้กำาหนดจำานวนตัวอักษรที่อยู่ข้างหน้า เมื่อนำา
ข้อความมาเปรียบเทียบ เช่น
“w{3}”
“http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
“http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
“http://www.tatoothai.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
60
Using Regular Expression
 ฟังก์ชั่น ereg()
ใช้เปรียบเทียบข้อความรูปแบบ regular expression ที่
กำาหนดไว้ว่าสอดคล้องกันหรือไม่ ถ้าสอดคล้องกัน จะ
ให้ค่าเป็นจริง
รูปแบบ
Int ereg(string pattern, string string[, array regs])
pattern รูปแบบของ regular expression
string ข้อความที่ต้องการนำามาตรวจสอบ
regs ตัวแปร array ที่เก็บส่วนประกอบของข้อความ
ที่นำามาตรวจสอบ เฉพาะในส่วนที่สอดคล้องกับรูปแบบ
regular expression ที่อยู่ในเครื่องหมายวงเล็บ
61
Using Regular Expression
Demo
<?#ereg01.php
$text = "http://www.tot.co.th";
$pattern = "^(http)://w{3}.[a-z][a-z0-9_-]*.(co.th|com|net)$";
if(ereg($pattern, $text, $regs)){
print("$text is valid.<br>");
foreach($regs as $ar_reg){
print("$ar_reg<br>");
}
}else{
print("Sorry! $text is not valid.<br>");
}
?>
62
Using Regular Expression
 ฟังก์ชั่น eregi()
ใช้เปรียบเทียบข้อความรูปแบบ regular expression ที่
กำาหนดไว้ว่าสอดคล้องกันหรือไม่ ถ้าสอดคล้องกัน จะ
ให้ค่าเป็นจริง เหมือน ereg() แต่จะถือว่าตัวอักษรพิมพ์
เล็กพิมพ์ใหญ่เหมือน (case insensitive)
รูปแบบ
Int eregi(string pattern, string string[, array regs])
63
Using Regular Expression
Demo
<?#ereg02.php
$text = "http://www.TOT.co.th";
$pattern = "^(http)://w{3}.[a-z][a-z0-9_-]*.(co.th|com|net)$";
if(eregi($pattern, $text, $regs)){
print("$text is valid.<br>");
foreach($regs as $ar_reg){
print("$ar_reg<br>");
}
}else{
print("Sorry! $text is not valid.<br>");
}
?>
64
Using Regular Expression
 ฟังก์ชั่น ereg_replace()
ใช้แทนที่ข้อความย่อยที่สอดคล้องกับ regular expression ด้วย
ข้อความที่ระบุให้ case sensitive
รูปแบบ
string ereg_replace(string pattern, string replacement,
string string)
pattern รูปแบบของ regular expression
string ข้อความที่ต้องการนำามาตรวจสอบ
replacement ข้อความใหม่ที่ต้องการนำามาแทนที่
65
Using Regular Expression
Demo
<?#ereg03.php
$text = "http://www.tot.co.th";
echo ereg_replace(“co.th", “or.th", $text);
?>
66
Using Regular Expression
 ฟังก์ชั่น eregi_replace()
ใช้แทนที่ข้อความย่อยที่สอดคล้องกับ regular expression ด้วย
ข้อความที่ระบุให้
โดย case insensitive
รูปแบบ
string eregi_replace(string pattern, string replacement,
string string)
pattern รูปแบบของ regular expression
string ข้อความที่ต้องการนำามาตรวจสอบ
replacement ข้อความใหม่ที่ต้องการนำามาแทนที่
67
Using Regular Expression
Demo
<?#ereg04.php
$text = "http://www.tot.CO.TH";
echo eregi_replace(“co.th", “or.th", $text);
?>
68
Using Regular Expression
 ฟังก์ชั่น split()
ใช้แบ่งแยกข้อความที่ถูกคั่นด้วยสัญลักษณ์ หรือ
ข้อความย่อยที่สอดคล้องกับ regular expression และ
คืนค่าเป็น array
รูปแบบ
array split(string pattern, string string, [,int limit])
pattern รูปแบบของ regular expression
string ข้อความที่ต้องการนำามาแบ่ง
limit กำาหนดจำานวน element ของ array
69
Using Regular Expression
Demo
<?#ereg05.php
$text = "http://www.tot.co.th";
list($http, $url) = split("//", $text);
echo $url;
print $http;
?>

More Related Content

Viewers also liked (6)

4 - statement
4  - statement4  - statement
4 - statement
 
PHP Tutorial (funtion)
PHP Tutorial (funtion)PHP Tutorial (funtion)
PHP Tutorial (funtion)
 
php 2 Function creating, calling, PHP built-in function
php 2 Function creating, calling,PHP built-in functionphp 2 Function creating, calling,PHP built-in function
php 2 Function creating, calling, PHP built-in function
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
PHPBarcelona Conference - Optimización aplicaciones PHP - Client side
PHPBarcelona Conference - Optimización aplicaciones PHP - Client sidePHPBarcelona Conference - Optimización aplicaciones PHP - Client side
PHPBarcelona Conference - Optimización aplicaciones PHP - Client side
 
Servidor Web Apache, PHP, MySQL.
Servidor Web Apache, PHP, MySQL.Servidor Web Apache, PHP, MySQL.
Servidor Web Apache, PHP, MySQL.
 

PHP Tutorial (array)

  • 1. 1 Using Array  array คือชุดข้อมูลที่ถูกนำำมำเรียงต่อๆ กันอย่ำงมี ลำำดับ โดยเก็บ ในตัวแปร ชนิด array สำมำรถอ้ำงถึงสมำชิก แต่ละตัว (element) ด้วย index $ar_ID[0] = 13900990; $ar_ID[1] = 13901032;
  • 2. 2 Using Array  ฟังก์ชั่น foreach() ใช้ดึงข้อมูลโดยไม่อ้ำงถึง index ของ ตัวแปร array ออกมำทำำงำนเป็นรอบ โดยไม่ใช้ loop รูปแบบที่ 1 foreach(array_expression as $value){ statement; } รูปแบบที่ 2 foreach(array_expression as $key => $value){ statement; }
  • 3. 3 Using Array  สร้ำง array ด้วยฟังก์ชั่น array() Demo <? #array01.php $ar_name = array(“ทินกร",“มำนพ", “กวิน"); foreach($ar_name as $eachname) { echo $eachname.”<br>”; } ?>
  • 4. 4 Using Array  สร้ำง array ด้วยกำรกำำหนดค่ำให้กับตัวแปร array Demo <? #array02.php $ar_ID[] = 13900990; $ar_ID[] = 13901032; $ar_ID[] = 13900854; foreach($ar_ID as $i => $Emp_ID) { print(($i+1)."). ".$Emp_ID."<br>"); } ?>
  • 5. 5 Using Array  สร้ำง array ด้วยกำรกำำหนดค่ำให้กับตัวแปร array Demo <? #array03.php $country[] = "China"; $country[] = "Thailand"; $country[] = "India"; $country[] = "Japan"; print "<select name=selCountry>"; foreach($country as $countryCode => $countryName){ print("<option value=$countryCode>$countryName</option>"); //print $countryName."<br>"; } print "</select>"; ?>
  • 6. 6 Using Array  สร้ำง array ด้วยกำรกำำหนดค่ำให้กับตัวแปร array Demo <? #array05.php $country = array("CH" => "China", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); print "<select name=selCountry>"; foreach($country as $countryCode => $countryName){ print("<option value=$countryCode>$countryName</option>"); //print $countryName."<br>"; } print "</select>"; ?>
  • 7. 7 Using Array  สร้ำง array ด้วยฟังก์ชั่น range() ใช้ในกำรสร้ำง array ที่มีค่ำเป็นลำำดับจำำนวนเต็ม เช่น array(1,2,3,4,5) หรือ เป็นลำำดับของตัวอักษรตัวเดียว เช่น array(“a”, “b”, “c”, “d”, “e”) Demo <? #array04.php $ar_char=range(“A",“Z"); foreach($ar_char as $ar_value){ print("- ".$ar_value."<br>"); } ?>
  • 8. 8 Using Array  ฟังก์ชัน array_unique() ใช้กำำจัดข้อมูลใน array ที่มีค่ำซำ้ำกัน Demo <? #arunique.php $arFruit = array("apple","mango","guava","apple","strawberry"); $aruFruit = array_unique($arFruit); print "Fruit in arFruit[] <br>"; foreach($arFruit as $index => $fruit){ print($index+1)." - $fruit<br>"; } print "Fruit in aruFruit[] <br>"; foreach($aruFruit as $index => $fruit){ print($index+1)." - $fruit<br>"; } ?>
  • 9. 9 Using Array  กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน  sort(), rsort() เรียงลำำดับข้อมูลจำกน้อยไปหำมำก (ascending) แบบ case sensitive ใช้ sort() เรียงลำำดับข้อมูลจำกมำกไปหำน้อย (descending) แบบ case sensitive ใช้ rsort() Demo <? #sort.php $arFruit = array("apple","mango","guava","apple","strawberry"); $aruFruit = array_unique($arFruit); sort($aruFruit); print "Fruit in aruFruit[] - sort asc.<br>"; foreach($aruFruit as $index => $fruit){ print($index+1)." - $fruit<br>"; } ?>
  • 10. 10 Using Array  กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน  asort(), arsort() เรียงลำำดับข้อมูลจำกน้อยไปหำมำก (ascending) เหมือน sort() เรียงลำำดับข้อมูลจำกมำกไปหำน้อย (descending) เหมือน rsort() แต่ไม่จัดเรียงคีย์ใหม่ Demo <? #asort.php $arFruit = array("apple","mango","guava","apple","strawberry"); $aruFruit = array_unique($arFruit); asort($aruFruit); print "Fruit in aruFruit[] sort asc.<br>"; foreach($aruFruit as $index => $fruit){ print($index+1)." - $fruit<br>"; } ?>
  • 11. 11 Using Array  กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน  natsort() หำกข้อมูลที่ต้องกำรเรียงลำำดับหน้ำตำเหมือนกันแต่ลงท้ำยด้วยตัวเลขที่สำมำรถจัดลำำดับ ได้จะพบปัญหำว่ำกำรเรียงลำำดับเป็นดังนี้ 1 10 2 20 natural sort หรือ natsort() สำมำรถแก้ปัญหำได้แบบ case sensitive Demo <?php #natsort.php $array1 = $array2 = array("img12.png", "img10.png", "img2.png", "img1.png"); echo "Start datan"; print_r($array1); print "<br>"; sort($array1); echo "Standard sortingn"; print_r($array1); print "<br>"; natsort($array2); echo "nNatural order sortingn"; print_r($array2); ?>
  • 12. 12 Using Array  กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน  natcasesort() ช่วยในกำรเรียงลำำดับข้อมูลเหมือน natsort() แต่เป็นแบบ case insensitive Demo <?php #natcasesort.php $array1 = $array2 = array('IMG0.png', 'img12.png', 'img10.png', 'img2.png', 'img1.png', 'IMG3.png'); echo "Start datan"; print_r($array1); print "<br>"; sort($array1); echo "Standard sortingn"; print_r($array1); print "<br>"; natcasesort($array2); echo "nNatural order sorting (case-insensitive)n"; print_r($array2); ?>
  • 13. 13 Using Array  กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน  ksort(), krsort() ช่วยในกำรเรียงลำำดับข้อมูลโดยคงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงคีย์กับข้อมูล (ตำม index) Demo <?php #ksort.php $city = array("Thailand" => "Bangkok", "Japan" => "Tokyo", "Canada" => "Ottawa", "China" => "Beijing", "India" => "Dehli"); ksort($city); foreach($city as $country => $capital){ print $country." - $capital<br>"; } ?>
  • 14. 14 Using Array  กำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ด้วยฟังก์ชัน  array_reverse() ช่วยในกำรเรียงลำำดับข้อมูลใน array ใหม่โดยค่ำ element สุดท้ำยจะขึ้น มำเป็นค่ำแรก และค่ำแรก กลับมำเป็นค่ำสุดท้ำย Demo <?php #arreverse.php $city = array("Thailand" => "Bangkok", "Japan" => "Tokyo", "Canada" => "Ottawa", "China" => "Beijing", "India" => "Dehli"); $result = array_reverse($city); foreach($result as $country => $capital){ print $country." - $capital<br>"; } ?>
  • 15. 15 Using Array  กำรรวม array เข้ำด้วยกัน (array merging)  ใช้ operator + ในกำรรวม array 2 ชุด เข้ำด้วยกัน หำกค่ำใน array ทั้งสองที่นำำมำรวมกันมี ” ”คีย์ ที่ซำ้ำ กัน element นั้นจะไม่ถูกรวมมำด้วย (element ของอำร์เรที่นำำ มำรวมทีหลัง)
  • 16. 16 Using Array  กำรรวม array เข้ำด้วยกัน (array merging)  ใช้ operator + Demo <? #operator.php $oldcountry = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); $newcountry["CH"] = "Chiangmai"; $newcountry["TH"] = "Thibet"; $newcountry["HK"] = "Hong Kong"; $country = $oldcountry + $newcountry; foreach($country as $countrycode => $countryname){ print $countrycode." - $countryname<br>"; } ?>
  • 17. 17 Using Array  กำรรวม array เข้ำด้วยกัน (array merging)  กำรใช้ฟังก์ชั่น array_merge()  ใช้รวม array 2 ชุดเข้ำด้วยกัน หำกค่ำใน array ทั้งสองที่ นำำมำรวมกันมี “ ”คีย์ ซำ้ำกัน element นั้นจะถูกแทนที่ด้วยค่ำ ของ element ที่มีคีย์ที่เหมือนกัน
  • 18. 18 Using Array  กำรรวม array เข้ำด้วยกัน (array merging)  ใช้ฟังก์ชัน array_merge() Demo <? #armerge.php $oldcountry = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); $newcountry["CH"] = "Chiangmai"; $newcountry["TH"] = "Thibet"; $newcountry["HK"] = "Hong Kong"; $country = array_merge($oldcountry , $newcountry); foreach($country as $countrycode => $countryname){ print $countrycode." - $countryname<br>"; } ?>
  • 19. 19 Using Array  การรวม array เข้าด้วยกัน (array merging)  การใช้ฟังก์ชั่น array_merge_recursive()  ใช้รวม array 2 ชุดเข้าด้วยกัน หากค่าใน array ทั้งสองที่ นำามารวมกันมี” ”คีย์ ซำ้า กัน ค่าที่ซำ้ากันจะถูกนำามารวมกันเป็น array ที่ซ้อนอยู่ใน array หลัก มีคีย์ เป็นเลขตั้งแต่ 0 ไปตามลำาดับ
  • 20. 20 Using Array  การรวม array เข้าด้วยกัน (array merging)  ใช้ฟังก์ชัน array_merge_recursive() Demo <? #armrec.php $oldcountry = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); $newcountry["CH"] = "Chiangmai"; $newcountry["TH"] = "Thibet"; $newcountry["HK"] = "Hong Kong"; $country = array_merge_recursive($oldcountry , $newcountry); foreach($country as $countrycode => $countryname){ if(gettype($countryname) == "array"){ print "[$countrycode]:<br>"; foreach($countryname as $key => $cname){ print "&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;[$key] - $cname<br>"; } }else{ print "[$countrycode] : $countryname<br>"; } } ?>
  • 21. 21 Using Array  การหา element ที่แตกต่างกันระหว่าง array  ใช้ฟังก์ชั่น array_diff()  ใช้สำาหรับหา element ของ array ที่ระบุมาเป็น argument ตัวแรก ที่มีค่า “ ”คีย์ ไม่ซำ้ากับใน array ที่ระบุเป็น argument ถัดๆ ไป
  • 22. 22 Using Array  การหา element ที่แตกต่างกันระหว่าง array  ใช้ฟังก์ชัน array_diff() Demo <? #ardiff.php $oldcountry = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); $newcountry["CH"] = "Chaina"; $newcountry["TH"] = "Thailand"; $newcountry["HK"] = "Hong Kong"; $country = array_diff($oldcountry , $newcountry); foreach($country as $countrycode => $countryname){ print "[$countrycode] : $countryname<br>"; } ?>
  • 23. 23 Using Array  การหา element ที่เหมือนกันระหว่าง array  ใช้ฟังก์ชั่น array_intersect()  ใช้สำาหรับหาค่าสมาชิกของ array ที่มีค่า “ ”คีย ซำ้ากัน ระหว่าง array ตั้งแต่สองตัวขึ้นไป โดยผลลัพธ์ที่ได้ยังคง คีย์เดิมเอาไว้
  • 24. 24 Using Array  การหา element ที่แตกต่างกันระหว่าง array  ใช้ฟังก์ชัน array_intersect() Demo <? #arintersect.php $oldcountry = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); $newcountry["CH"] = "Chaina"; $newcountry["TH"] = "Thailand"; $newcountry["HK"] = "Hong Kong"; $country = array_intersect($oldcountry , $newcountry); foreach($country as $countrycode => $countryname){ print "[$countrycode] : $countryname<br>"; } ?>
  • 25. 25 Using Array  การถอนค่า (pop) และการเพิ่มค่า (push) ใน array  ใช้ฟังก์ชั่น array_pop(), array_push() array_pop() ใช้สำาหรับหาค่า element สุดท้ายของ array แล้วลบ element สุดท้ายใน array นั้นทิ้ง โดยผลลัพธ์ที่ได้ยังคีย์เดิม เอาไว้ รูปแบบ mixed array_pop(array array) erray_push() ใช้สำาหรับเพิ่มค่า element ใหม่เข้าไปใน array รูปแบบ int array_push(array array, mixed var[, mixed.])
  • 26. 26 Using Array  การถอนค่า (pop) และการเพิ่มค่า (push) ใน array  ใช้ฟังก์ชัน array_pop(), array_push() Demo <? #arpop.php $country = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); $last = array_pop($country); print_r($country); print "<br>POP Item = $last"; ?>
  • 27. 27 Using Array  การถอนค่า (pop) และการเพิ่มค่า (push) ใน array  ใช้ฟังก์ชัน array_pop(), array_push() Demo <? #arpush.php $country = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); $newpush = "USA"; $new = array_push($country, $newpush); print_r($country); print "<br>New PUSH Item = $new"; ?>
  • 28. 28 Using Array  การย้าย-ตัด-จัดเรียง-เลื่อน-แทรก-แทนที่ element ใน array  ใช้ฟังก์ชั่น array_splice() ในการใช้งาน array เราอาจมีความจำาเป็นต้องลบค่าบางค่า ภายใน array ออกโดยต้องการให้มีการจัดลำาดับใหม่ หรือต้องการ แทรก ค่าเข้าไปใน array ที่มีอยู่เดิม รูปแบบ array array_splice(array input, int offset [,int length [,array replacement]) Input คืออาเรย์ที่จะถูกดำาเนินการ Offset คือตัวเลขระบุตำาแหน่ง element เริ่มต้นของการดำาเนินการ
  • 29. 29 Using Array  การย้าย-ตัด-จัดเรียง-เลื่อน-แทรก-แทนที่ element ใน array  ใช้ฟังก์ชัน array_splice() การตัดบาง element ออกและจัดลำาดับคีย์ใหม่ด้วยฟังก์ชัน array_splice() Demo <? #arsplice.php $country = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); print "Before splice...<br>"; foreach($country as $countrycode => $countryname){ print("$countrycode => $countryname<br>"); } array_splice($country, 1, 2); print "<br>After splice...<br>"; foreach($country as $countrycode => $countryname){ print("[$countrycode] => $countryname<br>"); } ?>
  • 30. 30 Using Array การย้าย-ตัด-จัดเรียง-เลื่อน-แทรก-แทนที่ element ใน array  ใช้ฟังก์ชัน array_splice() การแทนที่ค่าใน array ด้วยฟังก์ชัน array_splice() Demo <? #arsplice02.php $country = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); $other = array("Hong Kong", "Korea"); print "Before splice...<br>"; foreach($country as $countrycode => $countryname){ print("$countrycode => $countryname<br>"); } $remove = array_splice($country, 1, 2, $other); print "<br>After splice...<br>"; foreach($country as $countrycode => $countryname){ print("[$countrycode] => $countryname<br>"); } print "<br>Remove elements...<br>"; foreach($remove as $countrycode => $countryname){ print("[$countrycode] => $countryname<br>"); } ?>
  • 31. 31 Using Array  การนับจำานวน element ใน array  ใช้ฟังก์ชั่น count() ใช้นับจำานวน element ใน array รูปแบบ int count(mixed var [, int mode]) var คือตัวแปรหรือค่าอาเรย์ที่ต้องการนับจำานวน element Demo <? #count.php $country = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); print count($country); ?>
  • 32. 32 Using Array  การตัวชี้กลับไปที่ element แรกของ array  ใช้ฟังก์ชั่น reset() ใช้เลื่อนตัวชี้กลับไปที่ element แรกของ array Demo <? #reset.php $country = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); print count($country)."<br>"; print reset($country); ?>
  • 33. 33 Using Array  การอ่านค่าใน array  ใช้ฟังก์ชั่น each() จะให้ค่าเป็น คีย์ และ element ของ array ที่ตัวชี้ทำาการชี้ อยู่ใน ขณะนั้นพร้อมทั้งจะเลื่อนตัวชี้ไป element ถัดไป Demo <? #each.php $country = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); while($val = each($country)){ print $val[key]." => ".$val[value]."<br>"; } ?>
  • 34. 34 Using Array  การนำาค่าใน array ใส่ลงในตัวแปร  ใช้ฟังก์ชั่น list() เป็นวิธีการในการนำาค่าของแต่ละ element ของ array มาแยก ลงในตัวแปรแต่ละตัว เมื่อทราบจำานวน element แน่นอน Demo <? #list.php list($day, $month, $year) = explode("-",date("d-m-Y")); print " $day = ".$day."<br>"; print " $month = ".$month."<br>"; print " $year = ".$year."<br>"; ?>
  • 35. 35 Using Array  การทำาลายตัวแปร array  ใช้ฟังก์ชั่น unset() เป็นวิธีการยกเลิกตัวแปร array หรือเป็นการคืนหน่วยความจำาให้กับ คอมพิวเตอร์ Demo <? #unset.php $country = array("CH" => "Chaina", "TH" => "Thailand", "IN" => "India", "JP" => "Japan"); unset($country); //print_r($country); while(list($countrycode, $countryname) = each($country)){ print $countrycode." => ".$countryname."<br>"; } ?>
  • 36. 36 Using Array  array 2 มิติ  ใน php ไม่มีข้อจำากัดเกี่ยวกับขนาดของมิติของ array ขึ้นอยู่กับหน่วยความจำา Demo <?#dim.php $number = array(2 => array(4,6,8), 3 => array(6,9), 4 => array(8)); print "<table border=1>"; print "<tr>"; foreach($number as $parent => $child){ print "<td align='center' colspan='".count($number[$parent])."'>".$parent; } print "</td></tr><tr>"; foreach($number as $parent => $child){ foreach($child as $key => $value){ print "<td align='center'>".$value; } } print "</td></tr></table>"; ?>
  • 37. 37 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา  date() เป็นฟังก์ชันที่ใช้รับวันที่และเวลา ณ ปัจจุบันของเครื่อง คอมพิวเตอร์ สามารถกำาหนดรูปแบบของวันที่และเวลาได้ รูปแบบ String date (string format [, int timestamp]) format คือรูปแบบวันที่และเวลาซึ่งจะแทนด้วยตัวอักษรภาษา อังกฤษ 1 ตัว d แทนวันที่เลข 2 หลัก 01-31D แทนวันในสัปดาห์ Sun- Sat m แทนเดือนเลข 2 หลัก 01-12 M แทนชื่อย่อของเดือน Jan-Dec n แทนเดือนไม่มี 0 นำาหน้า 1-12 y แทนปี ค.ศ. เลข 2 หลัก 98,99,05 Y แทนปี ค.ศ. เลข 4 หลัก 1998
  • 39. 39 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา  getdate()  เป็นฟังก์ชันที่ใช้รับวันที่และเวลา ณ ปัจจุบันของเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดยฟังก์ชันจะให้ผลลัพธ์ที่เป็น array ของวัน เดือน ปี และเวลาในรูปแบบต่างๆ  รูปแบบ  array getdate([int timestamp])  timestamp เป็นตัวเลข integer ลำาดับเวลาทุกหนึ่งนาที  โดย getdate จะคืนค่ามาเป็น array จำานวน 10 elements ได้แก่  second – วินาที minutes – นาที hours – ชั่วโมง  mday – วันที่ wday – วันในสัปดาห์(0-6) mon – เลขเดือน
  • 40. 40 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา Demo <?#getdate.php $nowdate = getdate(); $today = $nowdate['mday']."/"; $today.=$nowdate['mon']."/"; $today.=$nowdate['year']; print $today."<br>"; ?>
  • 41. 41 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา  getdate() //… $nowdate = getdate();’ print “ณ วัน”; switch($nowdate[‘wday’]){ case 0: $day = “อาทิตย์”;break; case 1: $day = “จันทร์”;break; case 2: $day = “อังคาร”;break; //… }
  • 42. 42 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา  getdate() switch($nowdate[‘mon’]){ case 1: $ month = “มกราคม”;break; case 2: $ month = “กุมภาพันธ์”;break; case 3: $ month = “มีนาคม”;break; //… } $year=$nowdate[‘year’]+543; Print $day.” ที่ “.$nowdate[‘mday.” “.$month]; Print “พ.ศ. “.$year.”<br>”;
  • 43. 43 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา  time(), mktime() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้รับเวลา ณ ปัจจุบันของเครื่องคอมพิวเตอร์ Demo <?#time.php print "time ".time()." = ".date("H:i:s", time())."<br>"; print "mktime = ".mktime()." = " .date("H:i:s", mktime())."<br>"; ? ทั้งสองฟังก์ชั่นต่างกันตรงที่ mktime() สามารถรับ argument ตัวเลขวันที่ และเวลาเข้าไปเพื่อสร้าง timestamp ตามวันที่และ เวลานั้นได้ รูปแบบ Int mktime(int hour, int minute, int second, int mohth, int day, int year[, int is_dst])
  • 44. 44 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา  time(), mktime() Demo <?#mktime.php $mktime = mktime(13,20,10,3,28,2005); print "mktime = ".$mktime." = ".date("H:i:s", $mktime)."<br>"; ?>
  • 45. 45 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา  strtotime() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้รับค่าวันที่และเวลาด้วยข้อความ หลาก หลายรูปแบบ Demo <?#strtotime.php print "date-time ".date(" d-m-Y H:i:s", strtotime("28 Mar 2005"))."<br>"; print "date-time" .date(" d-m-Y H:i:s", strtotime("-2 hours"))."<br>"; print "date-time" .date(" d-m-Y H:i:s", strtotime("+2 days"))."<br>"; print "date-time" .date(" d-m-Y H:i:s", strtotime("last year"))."<br>"; ?>
  • 46. 46 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา  gmdate() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ในการหาวันที่และเวลามาตรฐานกรี นิช ใช้งานเหมือน ฟังก์ชั่น date() Checkdate() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ทำาหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลประเภทวันที่ โดยมีเงื่อนไขการตรวจสอบคือ  ปี ค.ศ. ตั้งแต่ 1 ถึง 32766  เดือน ตั้งแต่ 1 ถึง 12  วันที่ ที่ถูกต้องของเดือนนั้นๆ  รูปแบบ
  • 47. 47 ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับเวลา  checkdate() Demo <?#checkdate.php $gmdate = gmdate("d-m-Y"); print $gmdate." เวลา GMT ".gmdate("H:i:s")."<br>"; list($mday, $mmonth, $myear)=explode("-",$gmdate); if(checkdate($mmonth, $mday, $myear)){ print "The date $gmdate is valid."; }else{ print "$gmdate is invalid date"; } ?>
  • 48. 48 Using Regular Expression  ใช้ตรวจสอบรูปแบบของข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้า เข้าระบบ เช่น หมายเลขโทรศัพท์, e-mail address และ URL ของเว็บเพจ เป็นต้น  สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ (not complete) สัญลักษณ์ ^ ใช้ตรวจสอบตัวอักษรหรือข้อความที่สอดคล้องกับรูป แบบที่อยู่ข้างหน้าเครื่องหมาย ^ เช่น (ตรวจสอบรูป แบบข้างหลังเครื่องหมาย) “http^”
  • 49. 49 Using Regular Expression สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ (complete) สัญลักษณ์ $ ใช้ตรวจสอบตัวอักษรหรือข้อความสุดท้ายที่สอดคล้อง กับรูปแบบที่อยู่หน้าเครื่องหมาย $ เช่น (ตรวจสอบรูป แบบข้างหน้าสอดคล้องกับอักษรที่กำาหนด) “com$” “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ “http://www.google.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง Regexp02.php
  • 50. 50 Using Regular Expression สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ สัญลักษณ์ . ใช้ตรวจสอบตัวอักษรใดๆ ก็ได้จำานวนหนึ่งตัวอักษร เช่น “.” “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง regexp03.php //not worked “t” “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง regexp04.php
  • 51. 51 Using Regular Expression สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ (complete) สัญลักษณ์ | เท่ากับคำาว่า หรือ ใช้ตรวจสอบตัวอักษรหรือข้อความที่ อยู่หน้าตัวอักษรหรือสัญลักษณ์นี้ เช่น “cat|dog” “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ “http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง regexp05.php
  • 52. 52 Using Regular Expression สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ (not complete) สัญลักษณ์ ? ใช้เปรียบเทียบส่วนใดส่วนหนึ่งของข้อความหาก สอดคล้องกับตัวอักษรหรือรูปแบบที่อยู่หน้าเครื่องหมาย คำาถามนี้จำานวนศูนย์หรือหนึ่งครั้งจะให้ผลลัพธ์เป็นจริง เช่น “t?” “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง “http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ “ot?.c”
  • 53. 53 Using Regular Expression สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ สัญลักษณ์ * ใช้เปรียบเทียบส่วนใดส่วนหนึ่งของข้อความหาก สอดคล้องกับตัวอักษรหรือรูปแบบที่อยู่หน้าเครื่อง ดอกจันนี้จำานวนศูนย์หรือมากกว่าหนึ่งครั้งจะให้ผลลัพธ์ เป็นจริง เช่น “to*t” “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง “http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ “http://www.tatoothai.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
  • 54. 54 Using Regular Expression สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ สัญลักษณ์ + ใช้เปรียบเทียบส่วนใดส่วนหนึ่งของข้อความที่ สอดคล้องกับตัวอักษรหรือรูปแบบที่อยู่หน้าเครื่องหมาย นี้จำานวนหนึ่งครั้งหรือมากกว่า เช่น “to+t” “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง “http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ “http://www.tatoothai.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
  • 55. 55 Using Regular Expression สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ สัญลักษณ์ ใช้เพื่อนำาหน้าตัวอักษรพิเศษได้แก่ ^ $ . | ? + [ ] ( ) { } ซึ่งในกลุ่มอักขระพิเศษใช้เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อความ หมายอื่น เช่น “.com” “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ “http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ “http://www.tatoothai.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
  • 56. 56 Using Regular Expression  สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ สัญลักษณ์ [ ] ใช้แสดงกลุ่มตัวอักษรหรือกลุ่มคำาในการเปรียบเทียบ เช่น [a-z] หมายความว่า ข้อความที่นำามาเปรียบเทียบมีตัว อักษรตัวใดตัวหนึ่งอยู่ระหว่าง a-z ก็จะให้ผลลัพธ์เป็น จริง [A-Z0-9] หมายความว่าข้อความที่นำามาเปรียบเทียบมี ตัวอักษรตัวใดตัวหนึ่งเป็น ตัวอักษร A-Z หรือ ตัวเลข 0-9 ก็จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง ตัวอย่าง เช่น “[s-z]ot“
  • 57. 57 Using Regular Expression  สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ สัญลักษณ์ [ ] หากมีสัญลักษณ์ ^ อยู่ในเครื่องหมาย [ ] นี้ จะให้ ความหมายตรงกันข้าม เช่น “[^s-z]ot“ “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ “http://www.aot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
  • 58. 58 Using Regular Expression สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ สัญลักษณ์ ( ) ใช้ในการจัดกลุ่มตัวอักษรให้เป็นกลุ่มเดียวกันซึ่งหากมี สัญลักษณ์ ^ นำาหน้าหรือมีสัญลักษณ์ $ | ? * + ตาม หลัก) ก็จะประมวลผลเสมือนว่ากลุ่มตัวอักษรในวงเล็บนี้ เป็นตัวอักษรเดียวกัน เช่น “(tot.)” “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง “http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ “http://www.tatoothai.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
  • 59. 59 Using Regular Expression สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ สัญลักษณ์ { } ใช้กำาหนดจำานวนตัวอักษรที่อยู่ข้างหน้า เมื่อนำา ข้อความมาเปรียบเทียบ เช่น “w{3}” “http://www.tot.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง “http://www.cat.co.th” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง “http://www.tatoothai.com” จะให้ผลลัพธ์เป็นจริง
  • 60. 60 Using Regular Expression  ฟังก์ชั่น ereg() ใช้เปรียบเทียบข้อความรูปแบบ regular expression ที่ กำาหนดไว้ว่าสอดคล้องกันหรือไม่ ถ้าสอดคล้องกัน จะ ให้ค่าเป็นจริง รูปแบบ Int ereg(string pattern, string string[, array regs]) pattern รูปแบบของ regular expression string ข้อความที่ต้องการนำามาตรวจสอบ regs ตัวแปร array ที่เก็บส่วนประกอบของข้อความ ที่นำามาตรวจสอบ เฉพาะในส่วนที่สอดคล้องกับรูปแบบ regular expression ที่อยู่ในเครื่องหมายวงเล็บ
  • 61. 61 Using Regular Expression Demo <?#ereg01.php $text = "http://www.tot.co.th"; $pattern = "^(http)://w{3}.[a-z][a-z0-9_-]*.(co.th|com|net)$"; if(ereg($pattern, $text, $regs)){ print("$text is valid.<br>"); foreach($regs as $ar_reg){ print("$ar_reg<br>"); } }else{ print("Sorry! $text is not valid.<br>"); } ?>
  • 62. 62 Using Regular Expression  ฟังก์ชั่น eregi() ใช้เปรียบเทียบข้อความรูปแบบ regular expression ที่ กำาหนดไว้ว่าสอดคล้องกันหรือไม่ ถ้าสอดคล้องกัน จะ ให้ค่าเป็นจริง เหมือน ereg() แต่จะถือว่าตัวอักษรพิมพ์ เล็กพิมพ์ใหญ่เหมือน (case insensitive) รูปแบบ Int eregi(string pattern, string string[, array regs])
  • 63. 63 Using Regular Expression Demo <?#ereg02.php $text = "http://www.TOT.co.th"; $pattern = "^(http)://w{3}.[a-z][a-z0-9_-]*.(co.th|com|net)$"; if(eregi($pattern, $text, $regs)){ print("$text is valid.<br>"); foreach($regs as $ar_reg){ print("$ar_reg<br>"); } }else{ print("Sorry! $text is not valid.<br>"); } ?>
  • 64. 64 Using Regular Expression  ฟังก์ชั่น ereg_replace() ใช้แทนที่ข้อความย่อยที่สอดคล้องกับ regular expression ด้วย ข้อความที่ระบุให้ case sensitive รูปแบบ string ereg_replace(string pattern, string replacement, string string) pattern รูปแบบของ regular expression string ข้อความที่ต้องการนำามาตรวจสอบ replacement ข้อความใหม่ที่ต้องการนำามาแทนที่
  • 65. 65 Using Regular Expression Demo <?#ereg03.php $text = "http://www.tot.co.th"; echo ereg_replace(“co.th", “or.th", $text); ?>
  • 66. 66 Using Regular Expression  ฟังก์ชั่น eregi_replace() ใช้แทนที่ข้อความย่อยที่สอดคล้องกับ regular expression ด้วย ข้อความที่ระบุให้ โดย case insensitive รูปแบบ string eregi_replace(string pattern, string replacement, string string) pattern รูปแบบของ regular expression string ข้อความที่ต้องการนำามาตรวจสอบ replacement ข้อความใหม่ที่ต้องการนำามาแทนที่
  • 67. 67 Using Regular Expression Demo <?#ereg04.php $text = "http://www.tot.CO.TH"; echo eregi_replace(“co.th", “or.th", $text); ?>
  • 68. 68 Using Regular Expression  ฟังก์ชั่น split() ใช้แบ่งแยกข้อความที่ถูกคั่นด้วยสัญลักษณ์ หรือ ข้อความย่อยที่สอดคล้องกับ regular expression และ คืนค่าเป็น array รูปแบบ array split(string pattern, string string, [,int limit]) pattern รูปแบบของ regular expression string ข้อความที่ต้องการนำามาแบ่ง limit กำาหนดจำานวน element ของ array
  • 69. 69 Using Regular Expression Demo <?#ereg05.php $text = "http://www.tot.co.th"; list($http, $url) = split("//", $text); echo $url; print $http; ?>