SlideShare a Scribd company logo
1 of 92
Download to read offline
สวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี
                   รวมใจฉลองปีมหามงคล

ปีนี้ เป็นปีที่ ๓ ที่สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส.) ขอเชิญชวนชาวไทย โดยเฉพาะชาวพุทธ “สวดมนต์ข้ามปี
เริ่มต้นดี ชีวิตดี” เพื่อหลอมรวมใจเป็นหนึ่งเดียวกัน ก้าวข้ามปีเก่า
เขาสปใหม่ ดวยความเปนสรมงคลทงตอตนเอง ครอบครว และสงคม
    ้ ู่ ี      ้          ็ ิิ      ั้ ่              ั      ั
เป็นการแสดงความสมัครสมานสามัคคีเป็นสีเดียวกัน คือสีขาว
บนธงไตรงค์ของไทย อันหมายถึงศาสนา
		 การสวดมนต์ มีอานิสงส์ที่ทรงพลานุภาพ ช่วยสร้างจิตให้เกิด
กุศ ล จนก่อให้เกิดเป็นความสุข เป็นการช่วยสร้างพลังอำ�นาจ
ทางจิตใจ ให้มีสติ สมาธิ ปัญญา และพินิจพิเคราะห์ถึงสิ่งต่างๆ
อันจะนำ�ไปสู่การคลี่คลายได้ทุกปัญหา สามารถซึมซับเอาหลัก
ค�สอนในบทสวดมนตไปปรบใชและเปลยนแปลงตนเองในทางทดขน
  ำ                      ์ ั ้            ี่                ี่ ี ึ้
		 ปี ๒๕๕๕ นี้ เป็นปีมหามงคล ที่มีเหตุการณ์พิเศษเกิดขึ้น
พร้ อ มกั น ถึ ง ๔ เหตุ ก ารณ์ นั่ น คื อ โอกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ
พระเจ้าอยูหว ทรงมีพระชนมายุครบ ๘๕ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕
            ่ั
สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระชนมายุครบ ๘๐
พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม-
มกุฎราชกุมาร ทรงมีพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา ๒๘ กรกฎาคม
๒๕๕๕ และเป็นปีพทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรูของพระพุทธเจ้า
                     ุ                              ้
		 สสส. จึงร่วมกับหน่วยงานทังภาครัฐและเอกชนกว่า ๓๐ องค์กร
                                 ้
จัด โครงการสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ขึ้น เพื่อให้คนไทย
ได้มีโอกาสร่วมกันสวดมนต์ข้ามปีพร้อมกันทั่วประเทศในคืนวันที่
๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่ทั้ง ๓ พระองค์
และฉลองปีพุทธชยันตี รวมถึงฟื้นฟูความรู้รักสามัคคีในหมู่คนไทย
ให้กลับคืนมา
		 ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ปีนี้ และปีต่อๆ ไป การสวดมนต์ข้ามปี
เริ่มต้นดี ชีวิตดี จะเป็นกระแสหลักที่เชิญชวนคนไทยมารวมใจสร้าง
สิ่งดีๆ ร่วมกัน




ศ.นพ.อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม
ประธานคณะกรรมการจัดกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๕-๒๕๕๖
สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
สวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี
                  รวมใจฉลองปีมหามงคล

โครงการ สวดมนต์ขามปี เริมต้นดี ชีวตดี ปีที่ ๓ ความร่วมมือร่วมใจ
                    ้       ่        ิ
ของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนกว่า ๓๐ องค์กรยิ่งเข้มแข็งและ
ขยายสู่องค์กรใหม่ในการเข้าร่วมเพิ่มขึ้นอีกจำ�นวนมาก คงสะท้อน
ให้เห็นได้ในเบื้องต้นว่า ทุกภาคส่วนพร้อมสนับสนุนให้มีกิจกรรม
ทางเลือกที่ดีในคืนส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่
		 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปีนี้ได้รับความเมตตาจากท่านพระพรหม
วชรญาณ เจาอาวาสวดยานนาวา และกรรมการมหาเถรสมาคม (มส.)
    ิ        ้        ั
และท่านพระพรหมบัณฑิต เจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) และ
กรรมการ มส. ที่มาเป็นหนึ่งในคณะกรรมการจัดกิจกรรมสวดมนต์
ข้ามปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๖ และเป็นประธานฝ่ายบรรพชิตในกิจกรรม
สวดมนต์ขามปี รวมถึงท่าน ดร.พระมหาสุทตย์ อาภากโร เจ้าอาวาส
           ้                               ิ
วัดสุทธิวราราม และผู้อำ�นวยการสถาบันวิจัยพระพุทธศาสตร์ มจร.
และพระเถรานุเถระหลายรูป ทีให้ค�แนะนำ� พร้อมคัดเลือกพุทธพจน์
                               ่ ำ
ไว้เป็นธรรมทานในหนังสือสวดมนต์ฉบับนี้ ทีส�คัญคือ ท่านประธาน
                                             ่ำ
คณะกรรมการจัดกิจกรรมฯ ศ.นพ.อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม ที่ทุ่มเท
กาย ใจ ทำ�ให้โครงการนี้เกิดขึ้นได้จริงและยิ่งใหญ่สมกับเป็นปี
มหามงคล
		 ผมหวังอย่างยิ่งว่า ปีนี้ จะเป็นอีกปีหนึ่ง ที่พลานุภาพแห่งการ
สวดมนต์ จะทำ�ให้คนไทยก้าวเดินไปข้างหน้าพร้อมความเป็นสิรมงคล
                                                          ิ
สามารถประคองตน ประคองใจ ผ่านพ้นทุกสภาวการณ์ไปด้วยสติที่
ตั้งมั่น
		 การจัดกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ๒ ปีที่ผ่านมา
แสดงให้เห็นแล้วว่า คนไทยจำ�นวนมากเลือกการสวดมนต์ในคืน
ข้ามปี ปีนี้ เราจะแสดงให้คนทัวโลกได้เห็นวัฒนธรรมอันดีงามในการ
                             ่
ก้าวข้ามปีของชาวไทยและชาวพุทธร่วมกันนะครับ




ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์
ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
สารบัญ
ค�บชาพระรตนตรย	
 ำ ู                     ั ั                               ๑๐
บทชมนมเทวดา	
         ุ ุ                                               ๑๔
ค�นมสการ	
  ำ ั                                                      ๑๗
บทพระไตรสรณคมน	                            ์               ๑๙
บทนมการสทธคาถา	         ิ ิ                                ๒๑
บทนโมการอฏฐกคาถา	           ั                              ๒๔
บทมงคลสตร	        ู                                        ๒๗
บทรตนสตร (ยอ)	  ู ่                                        ๓๑
บทกรณยเมตตสตร (ยอ)	
              ี                      ู ่                   ๓๕
บทขนธปรตร	ั ิ                                              ๔๐
บทโมระปรตร	           ิ                                    ๔๓
บทวฏฏะกะปรตร	
      ั                        ิ                           ๔๖
บทอาฏานาฏยะปรตร	              ิ ิ                          ๔๙
โพชฌงคปรตร	ั ิ                                             ๕๓
บทอะภะยะปะรตตะคาถา	                ิ                       ๕๗
บทเทวะตาอยโยชะนะคาถา	     ุ                                ๖๐
บทสรรเสรญพระพทธคณ พระธรรมคณ พระสงฆคณ	
                    ิ                   ุ ุ        ุ ั ุ   ๖๓
บทชะยะสทธคาถา	   ิ ิ                                       ๖๖
บททวาทะสะมง ชะยะปะรตตะคาถา	      ั             ิ           ๗๐
บทอณหสวชย	
        ุ ิ ิั                                             ๗๔
มงคลจกรวาลใหญ	
            ั                         ่                    ๗๖
ภมพลมหาราชวรสส ชยมงคลคาถา	
   ูิ                                    ฺ       ฺ         ๘๐
พระคาถาถวายพระพรชยมงคล	                      ั             ๘๑
สวดมนต์ข้ามปี

                    คำ�บูชาพระรัตนตรัย
                     โย โส ภะคะวา อะระหง สมมาสมพทโธ
                                       ั ั ั ุ
                       สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธมโมั
                สปะฏปนโน ยสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงโฆ
                  ุ ิั ั                             ั
                     ตมมะยง ภะคะวนตง สะธมมง สะสงฆง
                      ั ั         ั ั ั ั ั ั
          อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปชะยามะ
                                                       ู
                 สาธุ โน ภนเต ภะคะวา สจระปะรนพพโุ ตปิ
                              ั          ุิ ิิ
                         ปจฉมาชะนะตานกมปะมานะสา
                          ั ิ         ุั
          อเิ ม สกกาเร ทคคะตะปณณาการะภเู ต ปะฏคคณหาตุ
                   ั        ุ      ั                ิ ั
                       อมหากง ทฆะรตตง หตายะ สขายะ
                        ั ั ี ั ั ิ             ุ

๑.	อะระหัง สัมมาสัมพุธโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
(กราบลง ภาวนาวา พทโธ เม นาโถ พระพทธเจาเปนทพงอนประเสรฐ
                  ่ ุ                      ุ ้ ็ ่ี ่ึ ั       ิ
ของขาพเจา)
     ้ ้

๒.	สวากขาโต ภะคะวะตา ธมโม, ธมมง นะมสสาม.ิ
                      ั     ั ั    ั
(กราบลง ภาวนาวา ธมโม เม นาโถ พระธรรมเปนทพงอนประเสรฐ
               ่ ั                     ็ ่ี ่ึ ั  ิ
ของขาพเจา)
     ้ ้

๓.	สปะฏปนโณ ภะคะวะโต สาวะกะสงโฆ, สงฆง นะมาม.ิ
    ุ ิั                     ั    ั ั
(กราบลง ภาวนาว่า สังโฆ เม นาโถ พระสงฆ์เป็นทีพงอันประเสริฐ
                                           ่ ่ึ
ของขาพเจา)
     ้ ้
                                 ๑๐
สวดมนต์ข้ามปี

                            คำ�แปล
		 พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น พระองค์ใด, เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิง
กิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิญ, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, พระธรรมอัน
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด, ตรัสไว้ดีแล้ว, พระสงฆ์สาวกของ
พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ใด, ปฏิบัติดีแล้ว,

		 ข้าพเจ้าทังหลาย, ขอบูชาอย่างยิง, ซึงพระผูมพระภาคเจ้าพระองค์นน,
                ้                ่ ่ ้ี                        ้ั
พร้อมทังพระธรรมและพระสงฆ์, ด้วยเครืองสักการะทังหลายเหล่านี,้
           ้                             ่         ้
อันยกขึนไว้ตามสมควรแล้วอย่างไร, ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ, พระผูมี
         ้                                                        ้
พระภาคเจา, แมปรนพพานนานแลว, ทรงสรางคณอนส�เรจประโยชน์
             ้ ้ ิิ               ้        ้ ุ ั ำ ็
ไว้แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะห์แก่พวกข้าพเจ้า,
อันเป็นชนรุนหลัง, ขอพระผูมพระภาคเจ้า, จงรับเครืองสักการะ, อันเป็น
              ่            ้ี                   ่
บรรณาการ, ของคนยากทังหลายเหล่านี,้ เพือประโยชน์และความสุข
                         ้                  ่
แกขาพเจาทงหลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ
   ่ ้ ้ ้ั

๑.	พระผมพระภาคเจา, เปนพระอรหนต,์ ดบเพลงกเิ ลสเพลงทกขสนเชง,
              ู้ ี        ้ ็    ั ั ิ             ิ ุ ์ ้ิ ิ
ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า,
ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
๒.	พระธรรม เป็นธรรมทีพระผูมพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดแล้ว, ข้าพเจ้า
                            ่ ้ี                 ี
นมัสการพระธรรม
๓.	พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว, ข้าพเจ้า
นอบน้อมพระสงฆ์
                                ๑๑
สวดมนต์ข้ามปี




                   ปญฺญาว ธเนน เสยฺโย
                ปัญญาย่อมประเสริฐกว่าทรัพย์
สวดมนต์ข้ามปี

                  ตำ�นาน ชุมนุมเทวดา
		 บทชุมนุมเทวดา คือการสวดประกาศเพ่ออัญเชิญให้เทวดาท้ง
                                            ื                    ั
หลายทีสถิตอยูใ่ นสวรรค์ชนกามาวจร ชันรูปาวจร และภูมเิ ทวดาผูสถิตที่
      ่                 ้ั         ้                       ้
ยอดเขา หบผา ในอากาศกลางหาว ในวมาน ในเกาะ ในรฐ ในปาชฏ
             ุ                       ิ                ั      ่ ั
ในบาน ในไรนา รวมถงหมยกษ์ คนธรรพ์ นาค ผสถตอยใู่ นนา บนบก
   ้           ่      ึ ู่ ั                  ู้ ิ      ้ํ
และในทไมสมาเสมอ ในทใี่ กลเ้ คยง ใหมาประชมพรอมกนเพอสดบค�
        ่ี ่ ่ํ              ี ้           ุ ้ ั ่ื ั ำ
อนประเสรฐของพระมนเี จา
 ั         ิ         ุ ้




                               ๑๓
สวดมนต์ข้ามปี

                     บทชุมนุมเทวดา
                 สะรชชง สะเสนง สะพนธง นะรนทง
                     ั ั      ั    ั ุ ิ ั
                   ปะรตตงนภาโว สะทา รกขะตต,ิ
                        ิ ั ุ         ั ู
                ผะรตวานะ เมตตง สะเมตตา ภะทนตา
                   ิ            ั           ั
                 อะวกขตตะจตตา ปะรตตง ภะณนต,ุ
                      ิ ิ ิ       ิ ั     ั

            สะมนตา จกกะวาเฬสุ อตราคจฉนตุ เทวะตา
                 ั     ั            ั ั ั
            สทธมมง มนราชสสะ สณนตุ สคคะโมกขะทง,
              ั ั ั ุิ ั          ุ ั ั               ั
       สคเค กาเม จะ รเู ป ครสขะระตะเฏ จนตะลกเข วมาเน,
         ั                  ิิิ           ั ิ ิ
       ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต,
     ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา,
      ตฏฐนตา สนตเิ ก ยง มนวะระวะจะนง สาธะโว เม สณนต.ุ
        ิ ั        ั     ั ุิ           ั               ุ ั

                 ธมมสสะวะนะกาโล อะยมภะทนตา
                  ั ั              ั ั
                 ธมมสสะวะนะกาโล อะยมภะทนตา
                   ั ั              ั ั
                 ธมมสสะวะนะกาโล อะยมภะทนตา
                    ั ั              ั ั




                               ๑๔
สวดมนต์ข้ามปี

                                          คำ�แปล
		 ทานผเู้ จรญทงหลาย ผมเี มตตา จงแผเ่ มตตาจต ดวยคดวา ขอ
              ่        ิ ้ั                 ู้                                 ิ ้ ิ ่
อานุภาพพระปริตร จงรักษาพระราชาผูเ้ ป็นเจ้าแห่งนรชนพร้อมด้วย
ราชสมบติ พรอมดวยราชวงศ์ พรอมดวยเสนามาตย์ อยามจตฟงซาน
                ั ้ ้                                ้ ้                            ่ ี ิ ุ้ ่
ตงใจสวดพระปรตร
 ้ั                     ิ
		 ขอเชญเทวดาทงหลายในจกรวาลโดยรอบ จงมาประชมกน ณ ทน้ี
                 ิ           ้ั                    ั                                  ุ ั      ่ี
ขอเชิญฟังพระสัทธรรมทีชทางไปสวรรค์ และนิพพานของพระมุนเี จ้า
                                      ่ ้ี
กนเถด
  ั ิ
		 ขอเชญเหลาเทพเจาซงสถตอยใู่ นสวรรค์ ชนกามภพกดี รปภพกดี
                   ิ ่               ้ ่ึ ิ                           ้ั               ็ ู        ็
และภมมเทวา ซงสถตยอยใู่ นวมาน หรอยอดเขาและหบผา ในอากาศ
          ุ               ่ึ ิ ์                 ิ       ื                        ุ
ก็ดี ในเกาะก็ดี ในแว่นแคว้นก็ดี ในบ้านก็ดี ในต้นพฤกษาและป่าชัฎ
ก็ดี ในเรือนก็ดี ในท่ไร่นาก็ดี เทพยดาท้งหลาย ซ่งสถิตย์ตามภาค
                                   ี                             ั              ึ
พนดน รวมทงยกษ์ คนธรรพและพญานาค ซงสถตยอยใู่ นนา บนบก
     ้ื ิ            ้ั ั                      ์                   ่ึ ิ ์                ้ํ
และท่อันไม่ราบเรียบก็ดี ซ่งอย่ในท่ใกล้เคียง จงมาประชุมพร้อมกน
            ี                              ึ ู ี                                               ั
ในทน้ี ค�ใดเปนของพระมนผประเสรฐ ทานสาธชนทงหลาย จงสดบค�
        ่ี ำ ็                         ุ ี ู้         ิ ่            ุ ้ั                   ั ำ
ขาพเจานน
    ้ ้ ้ั
		 ดกอน ทานผเู้ จรญทงหลาย กาลนเ้ี ปนกาลฟงธรรม
              ู่ ่              ิ ้ั                       ็             ั
		 ดกอน ทานผเู้ จรญทงหลาย กาลนเ้ี ปนกาลฟงธรรม
              ู่ ่               ิ ้ั                        ็             ั
		 ดกอน ทานผเู้ จรญทงหลาย กาลนเ้ี ปนกาลฟงธรรม
              ู่ ่                ิ ้ั                         ็             ั



                                               ๑๕
สวดมนต์ข้ามปี

                              อานิสงส์
๑.	ไดความมนใจตอกจศาสนพธในงานนนๆ หรอแสดงถงความพรอม
       ้     ่ั ่ ิ       ิี     ้ั        ื   ึ        ้
ของงาน
๒.	ไดเ้ ชอเชญผมฤทธมอ�นาจอานภาพ มพลงคมครองปกปองดแลมาสู่
         ้ื ิ ู้ ี ์ิ ี ำ    ุ      ี ั ุ้       ้ ู
งานมงคลน้ี
๓.	ได้ความเป็นมิ่งขวัญและความพร้อมเพรียง สู่ความสำ�เร็จตาม
ประสงค์

                     ตำ�นาน คำ�นมัสการ
		 บทนะโม มีมาแต่พทธกาล ซึงหมูพระอริยสาวก สาวิกาผูเ้ ลือมใส
                      ุ      ่ ่                                 ่
ศรัทธาในพระพุทธเจ้าได้เปล่งอุทานออกมาจากความซาบซึ้งใน
พระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผูเ้ ป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์
ทังหลาย เช่น ท้าวสักกะ พราหมณ์พรหมายุ พราหมณ์อารามทัณฑะ
  ้
และนางธนั ญ ชานี เป็ น ต้ น แม้ ห มู่ ช าวพุ ท ธอิ น เดี ย ในปั จ จุ บั น
เมื่อนมัสการพระพุทธปฏิมากร ได้เปล่งวาจาว่า นะโม พุทธายะ
ในความหมายก็คือ ขอนมัสการสักการะพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็น
ศาสดาของเรานั่นเอง




                                   ๑๖
สวดมนต์ข้ามปี

                     (๑) คำ�นมัสการ
	       นะโม ตสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สมมาสมพทธสสะ
              ั                        ั ั ุ ั
	       นะโม ตสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สมมาสมพทธสสะ
                ั                       ั ั ุ ั
	       นะโม ตสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สมมาสมพทธสสะ
                  ั                      ั ั ุ ั

                          คำ�แปล
		 ขอนอบนอมแดพระผมพระภาคเจา พระองคนน
            ้ ่ ู้ ี          ้       ์ ้ั
		 ซงเปนผไกลจากกเิ ลส ตรสรชอบไดโดยพระองคเ์ อง
    ่ึ ็ ู้             ั ู้    ้

                         อานิสงส์
๑.	ผูทตงนะโมเป็นนิจ น้อมต่อพระรัตนตรัย ย่อมได้บรรลุธรรมอันวิเศษ
      ้ ี่ ั้
๒.	ไดรบความมนใจในการประกอบกจการงาน กาวสความส�เรจอยาง
          ้ั   ั่                ิ          ้ ู่      ำ ็ ่
เชื่อมั่น
๓.	ได้รับความคุ้มครองจากการปฏิบัติในความนอบน้อม เป็นเมตตา
มหานิยม แคล้วคลาด เปิดมิตร ปิดศัตรู เดินทางไกล ไปในจตุรทิศ
มีฤทธิ์ คือความสำ�เร็จอำ�นวยให้
๔.	เมือทำ�การใดในภารกิจน้อยใหญ่ ทังคดีโลกและคดีธรรม ย่อมสำ�เร็จ
        ่                          ้
ด้วยพุทธานุภาพ


                              ๑๗
สวดมนต์ข้ามปี

                ตำ�นาน พระไตรสรณคมน์
		 ไตรสรณคมน์ ในบทนี้ คือ พุทธรัตนะ ธัมมรัตนะ สังฆรัตนะ
ครบสมบู ร ณ์ ใ นวั น แห่ ง การประกาศพระธั ม มจั ก อาสาฬหมาส
เพญเดอน ๘ ทพระพทธองคทรงแสดงโปรดปญจวคคย์ มพระอญญา-
    ็ ื         ี่ ุ         ์               ั ั ี ี ั
โกฑัญญะเป็นปฐม ได้ดวงตาเห็นธรรม ทรงโปรดให้อุปสมบทด้วย
เอหิภิกขุอุปสัมปทาในครั้งนั้น นับได้ว่ามีพระรัตนตรัยครบสมบูรณ์
ทั้ง ๓ ประการ
	 พระรตนตรยจงเปนสรณะทพงระลกถง ซงพระคณของพระพทธเจา
          ั ั ึ ็              ่ี ึ ึ ึ ่ึ      ุ          ุ ้
๓ ประการ คือ พระบริสุทธิคุณ พระปัญญาคุณ พระมหากรุณาธิคุณ
ระลกถงพระธรรม คอ ค�สงสอนของพระพทธเจา ยงการรกษาผปฏบติ
      ึ ึ           ื ำ ั่                 ุ ้ ั ั ู้ ิ ั
ตามไม่ให้ตกไปสู่ที่ชั่ว พระสงฆ์ คือ สาวกของพระพุทธเจ้า เป็นผู้ฟัง
คำ�สอน และสอนให้ผอนปฏิบตตามด้วย พระรัตนตรัยทัง ๓ นี้ จึงเป็น
                       ู้ ื่   ัิ                   ้
หลกส�คญยงในพระพทธศาสนา เปนทตงแหงศรทธาความเชอความ
     ั ำ ั ิ่             ุ         ็ ี่ ั้ ่ ั         ื่
เลื่อมใสให้มั่นคงต่อพระรัตนตรัย




                               ๑๘
สวดมนต์ข้ามปี

        (๒) บทพระไตรสรณคมน์
              พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
              ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
              สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
         ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
         ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
         ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
         ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
         ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
         ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

                     คำ�แปล
        ข้าพเจ้า ขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่ง
         ข้าพเจ้า ขอถึงพระธรรม ว่าเป็นที่พึ่ง
          ข้าพเจ้า ขอถึงพระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่ง
แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่ง
 แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ว่าเป็นที่พึ่ง
 แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่ง
แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่ง
 แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ว่าเป็นที่พึ่ง
 แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่ง
                         ๑๙
สวดมนต์ข้ามปี

                       อานิสงส์
๑.	ย่อมได้ความเป็นพุทธบริษัทโดยแท้
๒.	ย่อมได้สรณะที่พึ่งของผู้ระลึกถึงอยู่ทุกเมื่อ
๓.	ย่อมได้ความบริบูรณ์แห่งอริยทรัพย์คือรัตนตรัยสมปรารถนา
๔.	ยอมถงซงความประสงคในมรรค ผล สวรรค์ นพพานอยางฉบพลน
     ่ ึ ึ่              ์                      ิ   ่ ั ั
๕.	ยอมเปนผเู้ ทยบเทาเทวดาโดยฐานะอนเปนทพย์ ๑๐ อยาง คอ อายุ
      ่ ็ ี ่                           ั ็ ิ      ่ ื
วรรณะ สุขะ ยศ อธิปไตย รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ

                ตำ�นาน นมการสิทธิคาถา
		 บทนมการสิทธิคาถานี้สันนิษฐานกันว่า รจนาขึ้นในรัชสมัยของ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นบทสวดสาธยาย
ถวายความเคารพนมัสการพระพุทธเจ้าจำ�นวนมากมายในอดีต
ทำ�ความนอบน้อมในพระธรรมและพระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า
ทงหลายเหลานน ดวยอานภาพแหงความนอบนอมนี้ อปทวะทงหลาย
  ั้       ่ ั้ ้      ุ      ่              ้ ุ ั ั้
ก็จะพินาศไป อันตรายทั้งปวงก็จะไม่บังเกิดขึ้น




                           ๒๐
สวดมนต์ข้ามปี

             (๓) บทนมการสิทธิคาถา
		 สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ	      ทะวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะสะหัสสานิ	            นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ	       อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ	              หันตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ	            วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
		 สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ	   จะตุวีสะติสะหัสสะเก
ทะสะสะตะสะหัสสานิ	             นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ	       อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ	              หันตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ	            วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
		 สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต	     อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ	           นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ	       อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุเวนะ	                หันตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ	            วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ




                         ๒๑
สวดมนต์ข้ามปี

                         คำ�แปล
		 ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า ๕๑๒,๐๒๘ พระองค์
ดวยเศยรเกลา ขอนอบนอมพระธรรมดวย พระสงฆดวย ของพระสม-
  ้ ี        ้          ้          ้          ์้         ั
พุทธเจ้าเหล่านัน ด้วยความเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำ�ความ
                 ้
นอบน้อม จงขจัดเสียซึ่งสิ่งอันไม่เป็นมงคลทั้งปวง แม้อันตราย
ทั้งหลายเป็นอเนก จงพินาศไปสิ้น
		 ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า ๑,๐๒๔,๐๕๕ พระองค์
ด้วยเศียรเกล้า ขอนอบน้อมพระธรรมด้วย พระสงฆ์ด้วย ของพระ-
สัมพุทธเจ้าเหล่านั้นด้วยความเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำ�
ความนอบน้อม จงขจัดเสียซึงสิงอันไม่เป็นมงคลทังปวง แม้อนตราย
                            ่ ่             ้        ั
ทั้งหลายเป็นอเนก จงพินาศไปสิ้น
		 ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า ๒,๐๔๘,๑๐๙ พระองค์
ดวยเศยรเกลา ขอนอบนอมพระธรรมดวย พระสงฆดวย ของพระสม-
   ้ ี         ้          ้          ้        ์้           ั
พุทธเจ้าเหล่านันด้วยความเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำ�ความ
                   ้
นอบน้อม จงขจัดเสียซึ่งสิ่งอันไม่เป็นมงคลทั้งปวง แม้อันตราย
ทั้งหลายเป็นอเนก จงพินาศไปสิ้น เทอญ ฯ




                            ๒๒
สวดมนต์ข้ามปี

                         อานิสงส์
๑.	อานุภาพแห่งการสวดสาธยายถวายความเคารพนมัสการ พระ-
พุทธเจ้าในอดีต ๕๑๒,๐๒๘ พระองค์ ย่อมมีศรัทธา ศีล สติ สมาธิ
ปัญญา เป็นมหัศจรรย์ในตน
๒.	อานุภาพแห่งความนอบน้อมพระธรรมและพระสงฆ์ในบทสวด
ย่อมขจัดเสียซึ่งอุปัทวะอันตรายทั้งปวง
๓.	อานุภาพแห่งการสาธยายในพุทธมนต์บทนี้ ย่อมนำ�ทางสู่มรรค
ปฏิบัติมากล้นพ้นประมาณ รับความรักจากเทวดาและบัณฑิตชน
ทั้งหลาย

            ตำ�นาน นโมการอัฏฐกคาถา
		บทนี้ว่าด้วย นะโม ๘ บท การนอบน้อม ๘ ครั้ง เป็นพระราช-
นิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ ๔
เมื่อครั้งทรงผนวชเป็นพระภิกษุ คำ�สวดนี้นิยมเฉพาะในงานมงคลที่
มีการตั้งขันนํ้ามนต์และวงด้ายสายสิญจน์ มีอานุภาพในการกำ�จัด
อุปสรรคให้หมดไป ให้เกิดความสวัสดีแก่ชีวิตและเป็นผู้มีเดชในการ
จัดการสิ่งต่างๆ มีความอุดมจากทิศทั้ง ๘




                             ๒๓
สวดมนต์ข้ามปี

                (๔) บทนโมการอัฏฐกคาถา
		 นะโม อะระหะโต สัมมา	        สัมพุทธัสสะ มะเหสิโน
		 นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ 	      สวากขาตัสเสวะ เตนิธะ
		 นะโม มะหาสังฆัสสาปิ 	       วิสุทธะสีละทิฏฐิโน
		 นะโม โอมาตยารัทธัสสะ 	      ระตะนัตตะยัสสะ สาธุกัง
		 นะโม โอมะกาตีตัสสะ	         ตัสสะ วัตถุตตะยัสสะปิ
		 นะโม การัปปะภาเวนะ 	        วิคัจฉันตุ อุปัททะวา
		 นะโม การานุภาเวนะ 	         สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา
		 นะโม การัสสะ เตเชนะ 	       วิธิมหิ โหมิ เตชะวา ฯ

                         คำ�แปล
		 ขอนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้
แสวงหาประโยชน์อันยิ่งใหญ่
		 ขอนอบน้อม แด่พระธรรมอันสูงสุด ในพระศาสนานี้ ที่พระผู้มี
พระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว
		 ขอนอบน้อม แด่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ ผู้มีศีล และทิฏฐิ อันงดงาม
		 การนอบน้อม แด่พระรัตนตรัยที่ปรารภแล้วว่าโอม ขอจงสำ�เร็จ
ประโยชน์
		 ขอนอบน้อม แม้วัตถุทั้งสาม อันล่วงพ้นโทษตํ่าช้านั้น ด้วยการ
ประกาศการกระทำ�ความนอบน้อม ขอสิ่งที่ไม่เป็นมงคลทั้งหลาย
จงบำ�ราศไป
                             ๒๔
สวดมนต์ข้ามปี

		 ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำ�ความนอบน้อม ขอความสุขสวัสดี
จงมทกเมอ ดวยเดชแหงการกระท�ความนอบนอม ขอขาพเจาจงเปน
      ี ุ ื่ ้     ่         ำ      ้     ้ ้ ็
ผู้มีเดชในการประกอบพิธี เทอญฯ

                         อานิสงส์
๑.	ย่อมได้นอบน้อมคุณพระรัตนตรัย
๒.	ย่อมได้กำ�จัดอุปสรรค อุปัทวันตรายให้หมดไป
๓.	ย่อมเกิดความสวัสดีแก่ชีวิตและครอบครัว
๔.	ย่อมทำ�ให้เป็นผู้มีเดชมีอำ�นาจในการจัดการกิจต่างๆ




                              ๒๕
สวดมนต์ข้ามปี




                   จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ
                จิตที่ฝึกแล้วนำ�สุขมาให้
สวดมนต์ข้ามปี

                  ตำ�นาน มงคลสูตร
		 มนุษย์ทั้งหลายพร้อมทั้งเทวดาต่างคิดหามงคล สิ้นเวลา ๑๒ ปี
มนุษย์และเทวดาเหล่านั้นในหมื่นจักรวาล แม้เมื่อคิดหาช้านาน
ก็ไม่รซงมงคลอันนัน ความโกลาหลเรืองมงคลได้เกิดขึนถึงพรหมโลก
       ู้ ึ่       ้             ่              ้
ตลอดหมื่นจักรวาล
		 พระโลกนาถทรงแสดงสิ่ ง ที่ เ ป็ น มงคลอั น สามารถขจั ด บาป
ทังปวงได้ เมือนรชนนับประมาณมิได้ สดับแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์
  ้          ่
ทงปวง ขอเราทงหลายจงรวมกนสวดมงคลปรตรนน ซงประกอบดวย
    ั้         ั้      ่ ั               ิ ั้ ึ่          ้
คุณอย่างนี้เป็นต้นเถิด

                   (๕) บทมงคลสูตร
		 อะเสวะนา จะ พาลานัง	           ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา
		 ปูชา จะ ปูชะนียานัง	           เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
		 ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ	           ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา
		 อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ	           เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
		 พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ	         วินะโย จะ สุสิกขิโต
		 สุภาสิตา จะ ยาวาจา	            เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
		 มาตาปิตุอุปัฏฐานัง	            ปุตตะทารัสสะ สังคะโห
		 อะนากุลา จะ กัมมันตา	          เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
		 ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ	        ญาตะกานัญจะ สังคะโห
		 อะนะวัชชานิ กัมมานิ	           เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
                             ๒๗
สวดมนต์ข้ามปี

		 อาระตี วิระตี ปาปา	           มัชชะปานา จะ สัญญะโม
		 อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ	         เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
		 คาระโว จะ นิวาโต จะ	          สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา
		 กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง	         เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
		 ขันตี จะ โสวะจัสสะตา	         สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง
		 กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา	          เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
		 ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ	      อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง
		 นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ	        เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
		 ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ	         จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ
		 อะโสกัง วิระชัง เขมัง	        เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
		 เอตาทิสานิ กัตวานะ	           สัพพัตถะมะปะราชิตา
		 สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ	     ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ.

                         คำ�แปล
		 เทวดา ได้กราบทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยคาถาว่า
		 เทวดาและมนุษย์เป็นอันมาก ต่างก็หวังความสวัสดี จึงได้พากัน
คดเรองมงคล คอเหตใหถงความเจรญทงหลาย ขอพระองคโปรดตรส
 ิ ื่           ื ุ ้ึ            ิ ั้                ์     ั
มงคลอันสูงสุดเถิด ฯ
		 พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสสิ่งที่เป็นมงคลตอบว่า
		 การไม่คบคนพาลทั้งหลาย ๑ การคบบัณฑิตทั้งหลาย ๑
การบูชาผู้ที่ควรบูชา ๑ ทั้ง ๓ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุดฯ
		 การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม ๑ ความมีบุญที่ได้ทำ�ไว้ในกาลก่อน ๑
                            ๒๘
สวดมนต์ข้ามปี

การวางตัวเหมาะสมชอบธรรม ๑ ทั้ง ๓ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุดฯ
		 ความเป็นผู้มีการศึกษาเล่าเรียนมามาก ๑ ความเป็นผู้มีศิลป-
วิทยา ๑ ความเป็นผูมระเบียบวินยทีได้รบการอบรมมาดี ๑ การพูดจา
                    ้ี        ั ่ ั
ปราศรัยดี ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุดฯ
		 การเลี้ยงดูบิดามารดา ๑ การสงเคราะห์บุตร ๑ การสงเคราะห์
ภรรยา ๑ การทำ�งานไม่คั่งค้าง ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุดฯ
		 การให้ทาน ๑ การประพฤติตามหลักธรรม ๑ การสงเคราะห์
ญาติทั้งหลาย ๑ การทำ�งานที่ปราศจากโทษ ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้
เป็นมงคลสูงสุดฯ
		 การงดเว้นจากความชั่ว ๑ การบังคับตนจากการดื่มนํ้าเมา ๑
ความไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๑ ทั้ง ๓ ประการนี้ เป็นมงคล
สูงสุดฯ
		 การมีความเคารพ ๑ การมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ๑ การมี
ความสันโดษ ๑ การมีความกตัญญู ๑ การฟังธรรมตามกาล ๑ ทั้ง ๕
ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุด ฯ
		 ความอดทน ๑ ความเป็นผู้ว่านอนสอนง่าย ๑ การพบเห็น
สมณะ ๑ การสนทนาธรรมตามกาล ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคล
สูงสุด ฯ
		 การมีความเพียรเป็นเครืองแผดเผากิเลส ๑ การประพฤติพรหม-
                           ่
จรรย์ ๑ การเห็นอริยสัจทั้งหลาย ๑ การทำ�พระนิพพานให้แจ้ง ๑
ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุด ฯ
		 ผู้ที่มีจิตถูกโลกธรรมกระทบแล้วไม่หวั่นไหว ๑ จิตไม่มีความ
โศกเศร้า ๑ จิตหมดธุลีคือกิเลส ๑ จิตถึงความปลอดโปร่ง คือปลอด
                              ๒๙
สวดมนต์ข้ามปี

จากกิเลสทั้งปวง ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุด ฯ
		 เทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย พากันปฏิบัติตามมงคลอันเป็นเหตุ
น�ไปสความเจรญนแลว จะเปนผไมพายแพขาศกทกหมเู่ หลา ยอมถง
 ำ ู่         ิ ี้ ้       ็ ู้ ่ ่ ้ ้ ึ ุ         ่ ่ ึ
ความสุขสวัสดีในที่ทุกสถาน นี้เป็นมงคลสูงสุดของเทวดาและมนุษย์
ทั้งหลาย

                           อานิสงส์
๑.	ยอมไดแนวทางแหงการด�เนนชวตอนเปนมงคล โดยการสรางมงคล
       ่ ้             ่ ำ ิ ีิ ั ็                        ้
ใหเ้ กดขนดวยตนเอง
      ิ ้ึ ้
๒.	ย่อมได้รับความเจริญงอกงามไพบูลย์ มั่งคั่งสมบูรณ์ด้วยวัตถุ
มงคลและธรรมมงคล
๓.	ย่อมทำ�ให้สงคมร่มเย็นเป็นสุข เพราะทุกคนประกอบด้วยสิรมงคล
                ั                                            ิ
หรือมีมงคลชีวิตประจำ�ตัว
๔.	ย่อมสามารถตัดสินข้อขัดแย้งที่มีผู้ถกเถียงกันว่า สิ่งใดเป็นมงคล
สิ่งใดไม่เป็นมงคล พระพุทธเจ้าตรัสคำ�สอนนี้เพื่อยุติข้อถกเถียงที่หา
ข้อยุติมิได้
๕.	ยอมเปนหลกคดและแนวทางปฏบติ เพมพนสงทเี่ ปนมงคลส�หรบ
        ่ ็ ั ิ                         ิ ั ิ่ ู ิ่ ็          ำ ั
ชีวิตทุกระดับชั้นให้สูงยิ่งขึ้น ถึงที่สุดคือพระนิพพาน




                               ๓๐
สวดมนต์ข้ามปี

                    ตำ�นาน รตนสูตร
		 พระสูตรที่พระอานนทเถระ เรียนจากพระพุทธองค์โดยตรง
เพื่อสวดปัดเป่าภัยพิบัติที่เกิดกับชาวกรุงเวสาลี โดยพระพุทธองค์
แนะนำ�ให้พระเถระอ้างคุณพระรัตนตรัย คือ พุทธรัตนะ ธัมมรัตนะ
สั ง ฆรัตนะ ทำ� สัจกิริยาให้เกิดเป็นอานุภาพขจัดปัดเป่าภัยพิบัติ
ทั้งหลาย ภายหลังการสวดบทนี้ได้กลายเป็นแบบอย่าง ในการทำ�
นํ้าพระพุทธมนต์ สำ�หรับพระสงฆ์สาวกเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน เพื่อ
ขจัดปัดเป่าภัยพิบัติ ๓ ประการ ให้อันตรธานหายไป คือ ข้าวยาก
หมากแพง ภูตผีปีศาจทำ�อันตราย และเกิดโรคภัยไข้เจ็บ ขอเรา
ทั้งหลายจงร่วมกันสวดรตนสูตรนั้น ซึ่งประกอบด้วยคุณอย่างนี้
เป็นต้นเถิด

                 (๖) บทรตนสูตร (ย่อ)
				 ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา
			 สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง
			 นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ
			 อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
			 เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.
				 ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง
			 ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต
			 นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ
                              ๓๑
สวดมนต์ข้ามปี

			 อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
			 เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.
				 ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี
			 สุจิง สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ
			 สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
			 อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
			 เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.
				 เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา
			 จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
			 เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา
			 เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
			 อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
			 เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.
				 เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ
			 นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
			 เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ
			 ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา
			 อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
			 เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.
				 ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง
			 วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง
			 เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา
			 นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
                     ๓๒
สวดมนต์ข้ามปี

			             อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
			             เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

                            คำ�แปล
		 ทรพยเ์ ครองปลมใจ อนใดอนหนง ในโลกนหรอโลกอน หรอรตนะ
          ั     ื่ ื้ ั ั ึ่                ี้ ื    ื่ ื ั
อันใด อันประณีตในสวรรค์ รัตนะอันนั้นเสมอด้วยพระตถาคตเจ้า
ไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคำ�สัตย์นี้
ขอความสวัสดีจงมี
		 พระศากยมุนีเจ้า มีพระหฤทัยดำ�รงมั่น ได้บรรลุธรรมอันใด
เป็นที่สิ้นกิเลส เป็นที่สิ้นราคะ เป็นอมฤตธรรมอันประณีต สิ่งไรๆ
เสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตใน
พระธรรม ด้วยคำ�สัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
		 พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้วซึ่งสมาธิอันใด
ว่าเป็นธรรมอันสะอาด บัณฑิตทั้งหลายกล่าวซึ่งสมาธิอันใด ว่าให้ผล
โดยลำ�ดับ สมาธิอื่นเสมอด้วยสมาธินั้นย่อมไม่มี แม้อันนี้ เป็นรัตนะ
อันประณีตในพระธรรม ด้วยคำ�สัตย์นี้ขอความสวัสดีจงมี
		 บุคคลเหล่าใด ๘ จำ�พวก ๔ คู่ อันสัตบุรษทังหลายสรรเสริญแล้ว
                                          ุ ้
บุคคลเหล่านั้นเป็นสาวกของพระสุคต ควรแก่ทักษิณาทาน ทาน
ทั้งหลาย อันบุคคลถวายในท่านเหล่านั้น ย่อมมีผลมาก แม้อันนี้
เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำ�สัตย์นี้ขอความสวัสดีจงมี
		 พระอริยบุคคลทังหลายเหล่าใด ในศาสนาพระโคดมเจ้า ประกอบ
                      ้
ดีแล้ว มีใจมั่นคง มีความใคร่ออกไปแล้ว พระอริยบุคคลทั้งหลาย
                               ๓๓
สวดมนต์ข้ามปี

เหล่านัน ถึงพระอรหัตผลทีควรถึง หยังเข้าสูพระนิพพาน ได้ซงความ
       ้                  ่       ่ ่                  ึ่
ดับกิเลสโดยเปล่าๆ แล้วเสวยผลอยู่แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีต
ในพระสงฆ์ ด้วยคำ�สัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
		 กรรมเก่าของพระอริยบุคคลเหล่าใดสิ้นแล้ว กรรมสมภพใหม่
ย่อมไม่มี พระอริยบุคคลเหล่าใด มีจิตอันหน่ายแล้วในภพต่อไป
พระอริยบุคคลเหล่านั้น มีพืชสิ้นไปแล้ว มีความพอใจงอกไม่ได้แล้ว
เป็นผู้มีปัญญา ย่อมปรินิพพานเหมือนประทีปอันดับไป ฉะนั้น
แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำ�สัตย์นี้ขอความ
สวัสดีจงมี

                         อานิสงส์
๑.	ย่อมได้รับการพิทักษ์คุ้มครองให้สวัสดี ด้วยคุณของพระรัตนตรัย
๒.	ย่อมได้รับอานุภาพแห่งพระปริตรที่เทพยดาอ้างสัจจะวาจาถึง
คุณพระรัตนตรัย
๓.	ย่อมไม่ถูกรุกรานทำ�ร้ายจากอมนุษย์ ภูตผี ปีศาจร้าย โรคภัย
อันรักษาได้ยาก
๔.	ย่อมรู้และได้กำ�จัดแล้วซึ่งเหตุแห่งภัยทั้ง ๓ คือ ทุพภิกขภัย
อมนุษย์ภัย และพยาธิภัย




                             ๓๔
สวดมนต์ข้ามปี

               ตำ�นาน กรณียเมตตสูตร
		 บทกรณียเมตตปริตรหรือกรณียเมตตสูตร เป็นบทสวดที่แสดง
เนื้อหาการแผ่เมตตา ความรักปรารถนาดีไปยังสรรพสัตว์ เทวดา
และภูตผีปีศาจต่างๆ อย่างไม่มีประมาณ บทสวดนี้ทำ�ให้หลับเป็นสุข
ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย เป็นที่รักของมนุษย์และอมนุษย์ทั้งหลาย
เทพพิทักษ์รักษา ไม่มีภยันตราย จิตเกิดสมาธิง่าย ใบหน้าผ่องใส
มีสิริมงคล ไม่หลงสติในเวลาเสียชีวิต และเกิดเป็นพรหมเมื่อบรรลุ
เมตตาฌาน (ขุ.ธ. ๒๕/๑๓)

            (๗) บทกรณียเมตตสูตร (ย่อ)
	 เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง	      มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ	      อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง
ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา	        สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ
เอตัง สะติง อะทิฏเฐยยะ	        พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ
ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา	   ทัสสะเนนะ สัมปันโน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง	          นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ




                             ๓๕
สวดมนต์ข้ามปี

                            คำ�แปล
		 ภกษผบ�เพญสมณะธรรม พงแผเ่ มตตาจตไป ไมจ�กดประมาณ
       ิ ุ ู้ ำ ็                 ึ           ิ     ่ำ ั
ไร้พรมแดน ไม่ผูกเวร ไม่ก่อศัตรู แผ่กว้างออกไปในสัตว์โลกทั้งสิ้น
ทั้งในอรูปภูมิเบื้องบน รูปภูมิท่ามกลาง และกามาวจรเบื้องตํ่ำ�
		 ผู้เจริญเมตตาจิตเช่นนี้ ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใด จะยืน เดิน นั่ง
หรือนอนอยู่ก็ตาม จะเป็นผู้ปราศจากความท้อแท้เหนื่อยหน่าย
จะตังสติไว้ได้นานตราบเท่าทีตองการ พระพุทธเจ้าทังหลาย ตรัสการ
     ้                       ่้                   ้
อยูดวยเมตตาเช่นนีวา เป็นความประพฤติทประเสริฐในพระศาสนานี้
    ่้               ้่                    ี่
		 บุคคลผู้แผ่เมตตาจิตนั้น ละความเห็นผิดเสียได้ เป็นผู้มีศีล
มี ค วามเห็นชอบ กำ�จัดความยินดีในกามทั้งหลายเสียได้ ย่อม
ไม่กลับมาสู่การเกิดในครรภ์อีกครั้ง แน่นอนฯ




                                ๓๖
สวดมนต์ข้ามปี

                         อานิสงส์
๑.	ย่อมได้รบความสุขสงบแห่งจิต สัมฤทธิผลในการงานน้อยใหญ่ ไม่
            ั                           ์
ขัดข้อง ไม่วุ่นวาย
๒.	ย่อมได้รับความยินดี ยินยอมพร้อมใจ และร่วมอนุโมทนาใน
กิจต่างๆ จากมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย
๓.	ยอมไดรบอานสงส์ คอ นอนหลบเปนสข ตนกเ็ ปนสข ไมฝนลามก
     ่ ้ั ิ             ื       ั ็ ุ ื่ ็ ุ ่ ั
เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย เทวดา
ย่อมรักษาคุ้มครอง ไม่ได้รับอันตรายจากไฟและอาวุธ จิตย่อมสงบ
โดยเร็ว ใบหน้าผ่องใส มีสติ ไม่หลงทำ�การกิริยา ถ้ายังไม่บรรลุ
พระอรหันต์ก็จะไปบังเกิดในพรหมโลก
๔.	ย่อมได้บาทแห่งการบำ�เพ็ญวิปัสสนากรรมฐาน บรรลุมรรคผล
นิพพานต่อไป




                             ๓๗
สวดมนต์ข้ามปี




                   โกโธ สตฺถมลํ โลเก
                ความโกรธเป็นดังสนิมในโลก
สวดมนต์ข้ามปี

                       ตำ�นาน ขันธปริตร
	    	 บทขันธปริตร เป็นบทสวดมนต์ป้องกันตัว สอนให้มีจิตประกอบ
เมตตาถือเป็นมนต์ศักดิ์สิทธิ์ป้องกันภัยจากอสรพิษ คืองูที่มีพิษ
ดุร้ายและสัตว์ร้ายอื่นๆ (ขุ.ชา.ทุก. ๒๗/๗๕) คาถาแห่งการป้องกัน
อสรพิษ และสัตว์ร้ายทั้งหลาย โดยในพระไตรปิฎกมีการกล่าวไว้ว่า
คาถาดังกล่าวเป็นคาถาทีพระพุทธองค์ทรงสอนให้พระภิกษุแผ่เมตตา
                         ่
ไปในบรรดาตระกูลงูพิษดุร้ายทั้งหลาย เพื่อเป็นการคุ้มครองป้องกัน
ตนเองจากสัตว์ราย โดยบทนีปรากฏอยูในทังพระวินยปิฎก และพระ-
                 ้           ้           ่ ้          ั
สุตตันตปิฎก ระบุว่าเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดพระเชตวัน
กรุงสาวัตถี มีภิกษุถูกงูกัด เหล่าภิกษุจึงกราบทูลแด่พระพุทธองค์
พระพทธองคจงตรสวา ภกษนนถกงกดเพราะไมไดแผเ่ มตตา นอกจาก
        ุ    ์ ึ ั ่ ิ ุ ั้ ู ู ั                 ่ ้
บทขั น ธปริ ต รจะเป็ น คาถาสำ � หรั บ ป้ อ งกั น อสรพิ ษ และสั ต ว์ ร้ า ย
ทงหลายแลว ยงมอานภาพในการปองกนอนตรายจากยาพษทงหลาย
  ั้        ้ ั ี ุ                ้ ั ั                   ิ ั้
ได้อีกด้วย




                                  ๓๙
สวดมนต์ข้ามปี

                   (๘) บทขันธปริตร
		 วิรูปักเขหิ เม เมตตัง	      เมตตัง เอราปะเถหิ เม
		 ฉัพฺยาปุตเตหิ เม เมตตัง	    เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ
		 อะปาทะเกหิ เม เมตตัง	       เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม
		 จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง	      เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม
		 มา มัง อะปาทะโก หิงสิ	      มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก
		 มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ	     มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท
		 สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา	     สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา
		 สัพเพ ภัทฺรานิ ปัสสันตุ	    มา กิญจิ ปาปะมาคะมา

		 อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ
ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี
สะระพู มูสกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปฏิกกะมันตุ ภูตานิ
          ิ
โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานังฯ




                             ๔๐
สวดมนต์ข้ามปี

                         คำ�แปล
		 ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย สกุลวิรูปักข์
		 ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย สกุลเอราบถ,
		 ความเป็นมิตรของเรา จงมีกบพญานาคทังหลาย สกุลฉัพยาบุตร
                               ั            ้
		 ความเป็นมิตรของเรา จงมีกบพญานาคทังหลาย สกุลกัณหาโคตมกะ,
                             ั           ้
		 ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลายที่มี ๔ เท้า
		 ความเป็นมิตรของเราจงมีกับสัตว์ที่มีเท้ามาก, สัตว์ไม่มีเท้า
อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๒ เท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๔ เท้า
อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์มากเท้าอย่าเบียดเบียนเรา
		 ขอสรรพสัตว์มชวตทังหลายทีเ่ กิดมาทังหมดจนสินเชิง จงเห็นซึง
                  ีีิ ้                ้         ้          ่
ความเจริญทั้งหลายทั้งปวงเถิด โทษลามกอย่าได้มาถึงแล้วแก่สัตว์
เหล่านั้น
		 พระพุทธเจ้าทรงพระคุณสุดทีจะประมาณได้ พระธรรมมีพระคุณ
                                 ่
สุดที่จะประมาณได้ พระสงฆ์ก็มีพระคุณสุดที่จะประมาณได้ แต่สัตว์
เลือยคลานทังหลาย เช่น งู แมงป่อง ตะขาบ แมงมุม ตุกแก หนูยงมี
   ้           ้                                   ๊      ั
ประมาณก�หนดได้ ขาพเจาไดท�การรกษาแลว ไดท�การปองกนแลว
             ำ     ้ ้ ้ำ ั                ้ ้ำ      ้ ั ้
ขอสัตว์ทั้งหลายจงหลีกไปเสียเถิด ข้าพเจ้ากำ�ลังทำ�ความนอบน้อม
แด่พระผูมพระภาคเจ้า กำ�ลังทำ�ความนอบน้อมแด่พระสัมมาสัมพุทธ-
          ้ี
เจ้า ๗ พระองค์ฯ



                             ๔๑
สวดมนต์ข้ามปี

                         อานิสงส์
๑.	ย่อมเป็นที่ตั้งแห่งการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
๒.	ย่อมเป็นที่ไว้วางใจต่อหมู่ชนผู้เป็นมิตร
๓.	ย่อมเป็นผู้ปราศจากอันตรายจากอสรพิษและสัตว์ร้ายอื่นๆ
๔.	ย่อมเป็นที่รักของเทวดา มนุษย์ และสัตว์ทั้งหลาย ทั้งมีพิษและ
ไม่มีพิษ

                   ตำ�นาน โมระปริตร
		 บทโมระปริตรนี้ เป็นมนต์ทพญานกยูงทอง แสดงความนอบน้อม
                            ี่
ต่อพระอาทิตย์ที่ทอแสงมายังโลก ทำ�ให้ความมืดมิดพลันหายไป
มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายได้ออกมาเลี้ยงชีพ การระลึกถึงคุณพระ-
พุทธเจ้าผู้นำ�แสงสว่างแห่งธรรมะมาโปรดชาวโลกไม่ให้ตกไปใน
อบายภูมิ มนต์บทนีชวยป้องกันภัยจากผูคดร้าย (ขุ.ชา.ทุก. ๒๗/๕๓)
                   ้่               ้ิ
ปริตรของนกยูง ซึ่งเป็นพระปริตรบทหนึ่งที่กล่าวถึงคุณของพระ-
พุทธเจ้าแล้วน้อมพระพุทธคุณมาพิทักษ์คุ้มครองให้มีความสวัสดี
โดยมีประวัตต�นานความเป็นมาว่า สมัยหนึงเมือครังพระบรมศาสดา
            ิำ                         ่ ่ ้
เสวยชาติเป็นนกยูงทองโพธิสัตว์ อาศัยอยู่บนเขาใกล้ป่าหิมพานต์
ก่อนจะบินไปหาอาหารในตอนเช้า จะบินขึ้นไปบนยอดภูเขามองดู
พระอาทิตย์ขึ้นแล้วสาธยายพระปริตรนมัสการพระอาทิตย์ โดยร่าย
มนต์สาธยายคาถา และนอบน้อมบูชาพระพุทธเจ้าทั้งหลายที่เสด็จ
ดับขันธปรินิพพานแล้ว พร้อมทั้งระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า
                             ๔๒
สวดมนต์ข้ามปี

แลวจงบนออกไปหาอาหาร ดงนน พระปรตรบทนจงเปนการกลาวถง
   ้ ึ ิ                ั ั้     ิ     ี้ ึ ็       ่ ึ
คุณของพระพุทธเจ้า แล้วน้อมพระพุทธคุณมาพิทักษ์คุ้มครองให้มี
ความสวัสดี

                  (๙) บทโมระปริตร
				 อุเทตะยัญจักขุมา เอกราชา
			 หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
			 ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
			 ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง

				 เย พรัหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
			 เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
			 นะมัตถุ พุทธานัง มะมัตถุ โพธิยา
			 นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
			 อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนา

				 อะเปตะยัญจักขุมา เอกราชา
			 หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
			 ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
			 ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง


                           ๔๓
สวดมนต์ข้ามปี

				 เย พรัหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
			 เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
			 นะมัตถุ พุทธานัง มะมัตถุ โพธิยา
			 นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
			 อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ

                                          คำ�แปล
		 พระอาทตย์ เปนดวงตาของโลก เปนเอกราชา มสดงสทอง ยงพน
                   ิ ็                                    ็                ี ี ่ั ี          ั ้ื
ปฐพใหสวางอทยขนมา เพราะเหตนน ขาขอนอบนอมพระอาทตยนน
          ี ้ ่ ุ ั ้ึ                            ุ ้ั ้               ้                   ิ ์ ้ั
ซงมสดงสทอง ยงพนปฐพใี หสวาง ขาพเจาทงหลายอนทานปกครองแลว
 ่ึ ี ี ่ั ี                ั ้ื       ้ ่ ้ ้ ้ั                     ั ่                          ้
ในวนนพงอยเู่ ปนสขตลอดวน
        ั ้ี ึ         ็ ุ         ั
		 พราหมณ์ทงหลายเหล่าใด ผูถงเวทในธรรมทังปวง พราหมณ์ทงหลาย
                         ้ั                  ้ึ                   ้                     ้ั
เหลานน จงรบความนอบนอมของขาฯ อนง พราหมณทงหลายเหลานน
       ่ ้ั     ั                ้              ้           ่ึ              ์ ้ั              ่ ้ั
จงรกษาขาพเจา ความนอบนอมของขาพเจา จงมแดพระพทธเจาทงหลาย
      ั ้ ้                             ้            ้ ้ ี ่ ุ ้ ้ั
จงมีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้าพเจ้า จงมีแด่ผ้พ้นแล้ว                             ู
ทังหลาย ความนอบน้อมของข้าพเจ้า จงมีแด่วมตติธรรม นกยูงนันได้กระทำ�
   ้                                                           ิุ                   ้
พระปรตรบทนแลว จงเทยวไปเพอแสวงหาอาหาร
            ิ       ้ี ้ ึ ่ี             ่ื
		 พระอาทตย์ เปนดวงตาของโลก เปนเอกราชา มสดงสทองยงพนปฐพี
                  ิ ็                                   ็           ี ี ่ั ี ั ้ื
ใหสวาง ยอมอสดงคตไป เพราะเหตนน ขาขอนอบนอมพระอาทตยนน
     ้ ่ ่ ั                                        ุ ้ั ้               ้                  ิ ์ ้ั
ซึงมีสดงสีทอง ยังพืนปฐพีให้สว่าง ข้าพเจ้าทังหลาย อันท่านปกครองแล้ว
  ่ ี ่ั                      ้                             ้
ในวนนพงอยเู่ ปนสขตลอดคน
         ั ้ี ึ         ็ ุ          ื
		 พราหมณ์ท้ังหลายเหล่าใด ผู้ถึงเวทในธรรมทั้งปวงพราหมณ์
                                               ๔๔
สวดมนต์ข้ามปี

ทังหลายเหล่านัน จงรับความนอบน้อมของข้าพเจ้า อนึง พราหมณ์
 ้                ้                             ่
ทงหลายเหลานน จงรกษาขาพเจา ความนอบนอมของขาพเจา จงมแด่
   ้ั         ่ ้ั ั ้ ้                ้      ้ ้ ี
พระพุทธเจ้าทังหลาย จงมีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้าพเจ้า
               ้
จงมแดผพนแลวทงหลาย
      ี ่ ู้ ้ ้ ้ั

                            อานิสงส์
๑.	ย่อมได้พลังแห่งปัญญาประดุจหนึงแสงพระอาทิตย์สองสว่างกำ�จัด
                                       ่                ่
ความมดได้ ฉนใด ดวงตาแหงปญญาจงก�จดโมหะ คอความมดมน
          ื      ั            ่ ั             ำ ั     ื        ื
ใหพนไป ฉนนน
   ้ ้      ั ้ั
๒.	ยอมไดแนวทางแหงพญายงทองทสาธยายมนตบชาพระอาทตยเ์ ปน
       ่ ้            ่     ู     ่ี               ์ู       ิ ็
กิจวัตร ให้เกิดพลังแห่งความแคล้วคลาดปลอดภัยจากภยันตรายทังปวง ้
๓.	ย่อมให้เกิดเมตตาสัมมาทิฏฐิ ด่งองค์ราชาท่หมายม่นจะได้เน้อ
                                     ั             ี      ั        ื
พญายงทองเปนอาหาร ดวยสจจะวาจาทกลาว องคราชาจงมดวงตาทเ่ี ปน
        ู      ็        ้ ั              ่ี ่     ์ ึ ี          ็
สมมาทฏฐิ
 ั ิ

                  ตำ�นาน วัฏฏะกะปริตร
		 บทวฏฏะกะปรตรน้ี เปนมนตทพญานกคมไดระลกถงพระพทธเจา
         ั           ิ     ็ ์ ่ี           ุ่ ้ ึ ึ       ุ ้
ในอดีต ระลึกถึงพระธรรมคุณ ทำ�ให้ไฟป่าทีจะมาถึงตนดับมอดลง มนต์บทนี้
                                       ่
ท�ใหพนจากอคคภย (ข.ุ จรยา. ๓๓/๕๘๘) พระปรตรทกลาวถงสจจะวาจา
  ำ ้ ้        ั ีั      ิ                    ิ ่ี ่ ึ ั
ของพระพุทธเจ้าที่เคยกระทำ�เมื่อเสวยพระชาติเป็นนกคุ่ม แล้วอ้าง
สัจจวาจานันมาพิทกษ์คมครองให้พนจากอัคคีภย โดยเป็นพระปริตร
           ้        ั ุ้           ้           ั
                                ๔๕
สวดมนต์ข้ามปี

ทกลาวอางคณ คอ ศล สมาธิ ปญญา วมตติ วมตตญาณทสสนะ และ
   ่ี ่ ้ ุ ื ี            ั      ิุ ิุ ิ       ั
สจจะ ของพระพทธเจาในอดตทงหลาย แลวนอมเอาพระคณดงกลาว
 ั               ุ ้     ี ้ั        ้ ้          ุ ั ่
มาบังเกิดเป็นอานุภาพปกป้องคุ้มครองอันตราย อันจะเกิดจากไฟ
ทงหลายใหเ้ กดเปนความสขสวสดแกชวต ดงนน การสวดคาถานกเ็ พอ
   ้ั         ิ ็      ุ ั ี ่ ี ิ ั ้ั              ้ี ่ื
เปนการปองกนอนตรายอนจะเกดจากไฟ และเหตเุ ดอดรอนวนวายนานา
      ็  ้ ั ั       ั ิ                 ื ้ ุ่
ประการ ใหเ้ กดเปนความรมเยนเปนสข
             ิ ็      ่ ็ ็ ุ

                (๑๐) บทวัฏฏะกะปริตร
			 อัตถิ โลเก สีละคุโณ	        สัจจัง โสเจยยะนุททะยา
		 เตนะ สัจเจนะ กาหามิ 	        สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง
			 อาวัชชิตวา ธัมมะพะลัง	      สะริตวา ปุพพะเก ชิเน
		 สัจจะพะละมะวัสสายะ	          สัจจะกิริยะมะกาสะหัง
			 สันติ ปักขา อะปัตตะนา	      สันติ ปาทา อะวัญจะนา
		 มาตา ปิตา จะ นิกขันตา	       ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ
			 สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง	     มะหาปัชชะลิโต สิขี
		 วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ	     อุทะกัง ปัตวา ยะถาสิขี
		 สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ	       เอสา เม สัจจะปาระมีติฯ




                           ๔๖
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)

More Related Content

What's hot

บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
sanunya
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
Nhui Srr
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
Chavalit Deeudomwongsa
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
Nhui Srr
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tongsamut vorasan
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
Poramate Minsiri
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tongsamut vorasan
 

What's hot (17)

บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
มนต์พิธี
มนต์พิธีมนต์พิธี
มนต์พิธี
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้ายชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้าย
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 

Similar to สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)

2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 4722.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
dhammer
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
Tongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
Tongsamut vorasan
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
Tongsamut vorasan
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
watpadongyai
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
Tongsamut vorasan
 

Similar to สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.) (20)

คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
tes
testes
tes
 
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 4722.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
 
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
 

More from Ballista Pg

More from Ballista Pg (15)

ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
 
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็กอบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
อบรมผู้ปกครองศูนย์เด็ก
 
ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์
ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์
ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
เลขบอกซี่ฟัน
เลขบอกซี่ฟันเลขบอกซี่ฟัน
เลขบอกซี่ฟัน
 
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนมทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์
 
ฟันปลอม
ฟันปลอมฟันปลอม
ฟันปลอม
 
นมฟลูออไรด์
นมฟลูออไรด์นมฟลูออไรด์
นมฟลูออไรด์
 
จัดฟันแฟชั่น
จัดฟันแฟชั่นจัดฟันแฟชั่น
จัดฟันแฟชั่น
 
การทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปากการทำความสะอาดช่องปาก
การทำความสะอาดช่องปาก
 
Sealant
SealantSealant
Sealant
 
โรคฟันผุ
โรคฟันผุโรคฟันผุ
โรคฟันผุ
 
การทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิชการทาฟลูออไรด์วานิช
การทาฟลูออไรด์วานิช
 
อบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอนอบรมสอ.อสมป่าบอน
อบรมสอ.อสมป่าบอน
 

สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)

  • 1.
  • 2. สวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี รวมใจฉลองปีมหามงคล ปีนี้ เป็นปีที่ ๓ ที่สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ขอเชิญชวนชาวไทย โดยเฉพาะชาวพุทธ “สวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี” เพื่อหลอมรวมใจเป็นหนึ่งเดียวกัน ก้าวข้ามปีเก่า เขาสปใหม่ ดวยความเปนสรมงคลทงตอตนเอง ครอบครว และสงคม ้ ู่ ี ้ ็ ิิ ั้ ่ ั ั เป็นการแสดงความสมัครสมานสามัคคีเป็นสีเดียวกัน คือสีขาว บนธงไตรงค์ของไทย อันหมายถึงศาสนา การสวดมนต์ มีอานิสงส์ที่ทรงพลานุภาพ ช่วยสร้างจิตให้เกิด กุศ ล จนก่อให้เกิดเป็นความสุข เป็นการช่วยสร้างพลังอำ�นาจ ทางจิตใจ ให้มีสติ สมาธิ ปัญญา และพินิจพิเคราะห์ถึงสิ่งต่างๆ อันจะนำ�ไปสู่การคลี่คลายได้ทุกปัญหา สามารถซึมซับเอาหลัก ค�สอนในบทสวดมนตไปปรบใชและเปลยนแปลงตนเองในทางทดขน ำ ์ ั ้ ี่ ี่ ี ึ้ ปี ๒๕๕๕ นี้ เป็นปีมหามงคล ที่มีเหตุการณ์พิเศษเกิดขึ้น พร้ อ มกั น ถึ ง ๔ เหตุ ก ารณ์ นั่ น คื อ โอกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูหว ทรงมีพระชนมายุครบ ๘๕ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ ่ั สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระชนมายุครบ ๘๐ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม- มกุฎราชกุมาร ทรงมีพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ และเป็นปีพทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรูของพระพุทธเจ้า ุ ้ สสส. จึงร่วมกับหน่วยงานทังภาครัฐและเอกชนกว่า ๓๐ องค์กร ้ จัด โครงการสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ขึ้น เพื่อให้คนไทย
  • 3. ได้มีโอกาสร่วมกันสวดมนต์ข้ามปีพร้อมกันทั่วประเทศในคืนวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่ทั้ง ๓ พระองค์ และฉลองปีพุทธชยันตี รวมถึงฟื้นฟูความรู้รักสามัคคีในหมู่คนไทย ให้กลับคืนมา ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ปีนี้ และปีต่อๆ ไป การสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี จะเป็นกระแสหลักที่เชิญชวนคนไทยมารวมใจสร้าง สิ่งดีๆ ร่วมกัน ศ.นพ.อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม ประธานคณะกรรมการจัดกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๕-๒๕๕๖ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
  • 4. สวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี รวมใจฉลองปีมหามงคล โครงการ สวดมนต์ขามปี เริมต้นดี ชีวตดี ปีที่ ๓ ความร่วมมือร่วมใจ ้ ่ ิ ของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนกว่า ๓๐ องค์กรยิ่งเข้มแข็งและ ขยายสู่องค์กรใหม่ในการเข้าร่วมเพิ่มขึ้นอีกจำ�นวนมาก คงสะท้อน ให้เห็นได้ในเบื้องต้นว่า ทุกภาคส่วนพร้อมสนับสนุนให้มีกิจกรรม ทางเลือกที่ดีในคืนส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปีนี้ได้รับความเมตตาจากท่านพระพรหม วชรญาณ เจาอาวาสวดยานนาวา และกรรมการมหาเถรสมาคม (มส.) ิ ้ ั และท่านพระพรหมบัณฑิต เจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) และ กรรมการ มส. ที่มาเป็นหนึ่งในคณะกรรมการจัดกิจกรรมสวดมนต์ ข้ามปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๖ และเป็นประธานฝ่ายบรรพชิตในกิจกรรม สวดมนต์ขามปี รวมถึงท่าน ดร.พระมหาสุทตย์ อาภากโร เจ้าอาวาส ้ ิ วัดสุทธิวราราม และผู้อำ�นวยการสถาบันวิจัยพระพุทธศาสตร์ มจร. และพระเถรานุเถระหลายรูป ทีให้ค�แนะนำ� พร้อมคัดเลือกพุทธพจน์ ่ ำ ไว้เป็นธรรมทานในหนังสือสวดมนต์ฉบับนี้ ทีส�คัญคือ ท่านประธาน ่ำ คณะกรรมการจัดกิจกรรมฯ ศ.นพ.อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม ที่ทุ่มเท กาย ใจ ทำ�ให้โครงการนี้เกิดขึ้นได้จริงและยิ่งใหญ่สมกับเป็นปี มหามงคล ผมหวังอย่างยิ่งว่า ปีนี้ จะเป็นอีกปีหนึ่ง ที่พลานุภาพแห่งการ สวดมนต์ จะทำ�ให้คนไทยก้าวเดินไปข้างหน้าพร้อมความเป็นสิรมงคล ิ
  • 5. สามารถประคองตน ประคองใจ ผ่านพ้นทุกสภาวการณ์ไปด้วยสติที่ ตั้งมั่น การจัดกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ๒ ปีที่ผ่านมา แสดงให้เห็นแล้วว่า คนไทยจำ�นวนมากเลือกการสวดมนต์ในคืน ข้ามปี ปีนี้ เราจะแสดงให้คนทัวโลกได้เห็นวัฒนธรรมอันดีงามในการ ่ ก้าวข้ามปีของชาวไทยและชาวพุทธร่วมกันนะครับ ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
  • 6.
  • 7. สารบัญ ค�บชาพระรตนตรย ำ ู ั ั ๑๐ บทชมนมเทวดา ุ ุ ๑๔ ค�นมสการ ำ ั ๑๗ บทพระไตรสรณคมน ์ ๑๙ บทนมการสทธคาถา ิ ิ ๒๑ บทนโมการอฏฐกคาถา ั ๒๔ บทมงคลสตร ู ๒๗ บทรตนสตร (ยอ) ู ่ ๓๑ บทกรณยเมตตสตร (ยอ) ี ู ่ ๓๕ บทขนธปรตร ั ิ ๔๐ บทโมระปรตร ิ ๔๓ บทวฏฏะกะปรตร ั ิ ๔๖ บทอาฏานาฏยะปรตร ิ ิ ๔๙ โพชฌงคปรตร ั ิ ๕๓ บทอะภะยะปะรตตะคาถา ิ ๕๗ บทเทวะตาอยโยชะนะคาถา ุ ๖๐ บทสรรเสรญพระพทธคณ พระธรรมคณ พระสงฆคณ ิ ุ ุ ุ ั ุ ๖๓ บทชะยะสทธคาถา ิ ิ ๖๖ บททวาทะสะมง ชะยะปะรตตะคาถา ั ิ ๗๐ บทอณหสวชย ุ ิ ิั ๗๔ มงคลจกรวาลใหญ ั ่ ๗๖ ภมพลมหาราชวรสส ชยมงคลคาถา ูิ ฺ ฺ ๘๐ พระคาถาถวายพระพรชยมงคล ั ๘๑
  • 8. สวดมนต์ข้ามปี คำ�บูชาพระรัตนตรัย โย โส ภะคะวา อะระหง สมมาสมพทโธ ั ั ั ุ สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธมโมั สปะฏปนโน ยสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงโฆ ุ ิั ั ั ตมมะยง ภะคะวนตง สะธมมง สะสงฆง ั ั ั ั ั ั ั ั อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปชะยามะ ู สาธุ โน ภนเต ภะคะวา สจระปะรนพพโุ ตปิ ั ุิ ิิ ปจฉมาชะนะตานกมปะมานะสา ั ิ ุั อเิ ม สกกาเร ทคคะตะปณณาการะภเู ต ปะฏคคณหาตุ ั ุ ั ิ ั อมหากง ทฆะรตตง หตายะ สขายะ ั ั ี ั ั ิ ุ ๑. อะระหัง สัมมาสัมพุธโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบลง ภาวนาวา พทโธ เม นาโถ พระพทธเจาเปนทพงอนประเสรฐ ่ ุ ุ ้ ็ ่ี ่ึ ั ิ ของขาพเจา) ้ ้ ๒. สวากขาโต ภะคะวะตา ธมโม, ธมมง นะมสสาม.ิ ั ั ั ั (กราบลง ภาวนาวา ธมโม เม นาโถ พระธรรมเปนทพงอนประเสรฐ ่ ั ็ ่ี ่ึ ั ิ ของขาพเจา) ้ ้ ๓. สปะฏปนโณ ภะคะวะโต สาวะกะสงโฆ, สงฆง นะมาม.ิ ุ ิั ั ั ั (กราบลง ภาวนาว่า สังโฆ เม นาโถ พระสงฆ์เป็นทีพงอันประเสริฐ ่ ่ึ ของขาพเจา) ้ ้ ๑๐
  • 9. สวดมนต์ข้ามปี คำ�แปล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น พระองค์ใด, เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิง กิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิญ, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, พระธรรมอัน พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด, ตรัสไว้ดีแล้ว, พระสงฆ์สาวกของ พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ใด, ปฏิบัติดีแล้ว, ข้าพเจ้าทังหลาย, ขอบูชาอย่างยิง, ซึงพระผูมพระภาคเจ้าพระองค์นน, ้ ่ ่ ้ี ้ั พร้อมทังพระธรรมและพระสงฆ์, ด้วยเครืองสักการะทังหลายเหล่านี,้ ้ ่ ้ อันยกขึนไว้ตามสมควรแล้วอย่างไร, ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ, พระผูมี ้ ้ พระภาคเจา, แมปรนพพานนานแลว, ทรงสรางคณอนส�เรจประโยชน์ ้ ้ ิิ ้ ้ ุ ั ำ ็ ไว้แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะห์แก่พวกข้าพเจ้า, อันเป็นชนรุนหลัง, ขอพระผูมพระภาคเจ้า, จงรับเครืองสักการะ, อันเป็น ่ ้ี ่ บรรณาการ, ของคนยากทังหลายเหล่านี,้ เพือประโยชน์และความสุข ้ ่ แกขาพเจาทงหลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ ่ ้ ้ ้ั ๑. พระผมพระภาคเจา, เปนพระอรหนต,์ ดบเพลงกเิ ลสเพลงทกขสนเชง, ู้ ี ้ ็ ั ั ิ ิ ุ ์ ้ิ ิ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ๒. พระธรรม เป็นธรรมทีพระผูมพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดแล้ว, ข้าพเจ้า ่ ้ี ี นมัสการพระธรรม ๓. พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว, ข้าพเจ้า นอบน้อมพระสงฆ์ ๑๑
  • 10. สวดมนต์ข้ามปี ปญฺญาว ธเนน เสยฺโย ปัญญาย่อมประเสริฐกว่าทรัพย์
  • 11. สวดมนต์ข้ามปี ตำ�นาน ชุมนุมเทวดา บทชุมนุมเทวดา คือการสวดประกาศเพ่ออัญเชิญให้เทวดาท้ง ื ั หลายทีสถิตอยูใ่ นสวรรค์ชนกามาวจร ชันรูปาวจร และภูมเิ ทวดาผูสถิตที่ ่ ้ั ้ ้ ยอดเขา หบผา ในอากาศกลางหาว ในวมาน ในเกาะ ในรฐ ในปาชฏ ุ ิ ั ่ ั ในบาน ในไรนา รวมถงหมยกษ์ คนธรรพ์ นาค ผสถตอยใู่ นนา บนบก ้ ่ ึ ู่ ั ู้ ิ ้ํ และในทไมสมาเสมอ ในทใี่ กลเ้ คยง ใหมาประชมพรอมกนเพอสดบค� ่ี ่ ่ํ ี ้ ุ ้ ั ่ื ั ำ อนประเสรฐของพระมนเี จา ั ิ ุ ้ ๑๓
  • 12. สวดมนต์ข้ามปี บทชุมนุมเทวดา สะรชชง สะเสนง สะพนธง นะรนทง ั ั ั ั ุ ิ ั ปะรตตงนภาโว สะทา รกขะตต,ิ ิ ั ุ ั ู ผะรตวานะ เมตตง สะเมตตา ภะทนตา ิ ั ั อะวกขตตะจตตา ปะรตตง ภะณนต,ุ ิ ิ ิ ิ ั ั สะมนตา จกกะวาเฬสุ อตราคจฉนตุ เทวะตา ั ั ั ั ั สทธมมง มนราชสสะ สณนตุ สคคะโมกขะทง, ั ั ั ุิ ั ุ ั ั ั สคเค กาเม จะ รเู ป ครสขะระตะเฏ จนตะลกเข วมาเน, ั ิิิ ั ิ ิ ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต, ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา, ตฏฐนตา สนตเิ ก ยง มนวะระวะจะนง สาธะโว เม สณนต.ุ ิ ั ั ั ุิ ั ุ ั ธมมสสะวะนะกาโล อะยมภะทนตา ั ั ั ั ธมมสสะวะนะกาโล อะยมภะทนตา ั ั ั ั ธมมสสะวะนะกาโล อะยมภะทนตา ั ั ั ั ๑๔
  • 13. สวดมนต์ข้ามปี คำ�แปล ทานผเู้ จรญทงหลาย ผมเี มตตา จงแผเ่ มตตาจต ดวยคดวา ขอ ่ ิ ้ั ู้ ิ ้ ิ ่ อานุภาพพระปริตร จงรักษาพระราชาผูเ้ ป็นเจ้าแห่งนรชนพร้อมด้วย ราชสมบติ พรอมดวยราชวงศ์ พรอมดวยเสนามาตย์ อยามจตฟงซาน ั ้ ้ ้ ้ ่ ี ิ ุ้ ่ ตงใจสวดพระปรตร ้ั ิ ขอเชญเทวดาทงหลายในจกรวาลโดยรอบ จงมาประชมกน ณ ทน้ี ิ ้ั ั ุ ั ่ี ขอเชิญฟังพระสัทธรรมทีชทางไปสวรรค์ และนิพพานของพระมุนเี จ้า ่ ้ี กนเถด ั ิ ขอเชญเหลาเทพเจาซงสถตอยใู่ นสวรรค์ ชนกามภพกดี รปภพกดี ิ ่ ้ ่ึ ิ ้ั ็ ู ็ และภมมเทวา ซงสถตยอยใู่ นวมาน หรอยอดเขาและหบผา ในอากาศ ุ ่ึ ิ ์ ิ ื ุ ก็ดี ในเกาะก็ดี ในแว่นแคว้นก็ดี ในบ้านก็ดี ในต้นพฤกษาและป่าชัฎ ก็ดี ในเรือนก็ดี ในท่ไร่นาก็ดี เทพยดาท้งหลาย ซ่งสถิตย์ตามภาค ี ั ึ พนดน รวมทงยกษ์ คนธรรพและพญานาค ซงสถตยอยใู่ นนา บนบก ้ื ิ ้ั ั ์ ่ึ ิ ์ ้ํ และท่อันไม่ราบเรียบก็ดี ซ่งอย่ในท่ใกล้เคียง จงมาประชุมพร้อมกน ี ึ ู ี ั ในทน้ี ค�ใดเปนของพระมนผประเสรฐ ทานสาธชนทงหลาย จงสดบค� ่ี ำ ็ ุ ี ู้ ิ ่ ุ ้ั ั ำ ขาพเจานน ้ ้ ้ั ดกอน ทานผเู้ จรญทงหลาย กาลนเ้ี ปนกาลฟงธรรม ู่ ่ ิ ้ั ็ ั ดกอน ทานผเู้ จรญทงหลาย กาลนเ้ี ปนกาลฟงธรรม ู่ ่ ิ ้ั ็ ั ดกอน ทานผเู้ จรญทงหลาย กาลนเ้ี ปนกาลฟงธรรม ู่ ่ ิ ้ั ็ ั ๑๕
  • 14. สวดมนต์ข้ามปี อานิสงส์ ๑. ไดความมนใจตอกจศาสนพธในงานนนๆ หรอแสดงถงความพรอม ้ ่ั ่ ิ ิี ้ั ื ึ ้ ของงาน ๒. ไดเ้ ชอเชญผมฤทธมอ�นาจอานภาพ มพลงคมครองปกปองดแลมาสู่ ้ื ิ ู้ ี ์ิ ี ำ ุ ี ั ุ้ ้ ู งานมงคลน้ี ๓. ได้ความเป็นมิ่งขวัญและความพร้อมเพรียง สู่ความสำ�เร็จตาม ประสงค์ ตำ�นาน คำ�นมัสการ บทนะโม มีมาแต่พทธกาล ซึงหมูพระอริยสาวก สาวิกาผูเ้ ลือมใส ุ ่ ่ ่ ศรัทธาในพระพุทธเจ้าได้เปล่งอุทานออกมาจากความซาบซึ้งใน พระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผูเ้ ป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ ทังหลาย เช่น ท้าวสักกะ พราหมณ์พรหมายุ พราหมณ์อารามทัณฑะ ้ และนางธนั ญ ชานี เป็ น ต้ น แม้ ห มู่ ช าวพุ ท ธอิ น เดี ย ในปั จ จุ บั น เมื่อนมัสการพระพุทธปฏิมากร ได้เปล่งวาจาว่า นะโม พุทธายะ ในความหมายก็คือ ขอนมัสการสักการะพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็น ศาสดาของเรานั่นเอง ๑๖
  • 15. สวดมนต์ข้ามปี (๑) คำ�นมัสการ นะโม ตสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สมมาสมพทธสสะ ั ั ั ุ ั นะโม ตสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สมมาสมพทธสสะ ั ั ั ุ ั นะโม ตสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สมมาสมพทธสสะ ั ั ั ุ ั คำ�แปล ขอนอบนอมแดพระผมพระภาคเจา พระองคนน ้ ่ ู้ ี ้ ์ ้ั ซงเปนผไกลจากกเิ ลส ตรสรชอบไดโดยพระองคเ์ อง ่ึ ็ ู้ ั ู้ ้ อานิสงส์ ๑. ผูทตงนะโมเป็นนิจ น้อมต่อพระรัตนตรัย ย่อมได้บรรลุธรรมอันวิเศษ ้ ี่ ั้ ๒. ไดรบความมนใจในการประกอบกจการงาน กาวสความส�เรจอยาง ้ั ั่ ิ ้ ู่ ำ ็ ่ เชื่อมั่น ๓. ได้รับความคุ้มครองจากการปฏิบัติในความนอบน้อม เป็นเมตตา มหานิยม แคล้วคลาด เปิดมิตร ปิดศัตรู เดินทางไกล ไปในจตุรทิศ มีฤทธิ์ คือความสำ�เร็จอำ�นวยให้ ๔. เมือทำ�การใดในภารกิจน้อยใหญ่ ทังคดีโลกและคดีธรรม ย่อมสำ�เร็จ ่ ้ ด้วยพุทธานุภาพ ๑๗
  • 16. สวดมนต์ข้ามปี ตำ�นาน พระไตรสรณคมน์ ไตรสรณคมน์ ในบทนี้ คือ พุทธรัตนะ ธัมมรัตนะ สังฆรัตนะ ครบสมบู ร ณ์ ใ นวั น แห่ ง การประกาศพระธั ม มจั ก อาสาฬหมาส เพญเดอน ๘ ทพระพทธองคทรงแสดงโปรดปญจวคคย์ มพระอญญา- ็ ื ี่ ุ ์ ั ั ี ี ั โกฑัญญะเป็นปฐม ได้ดวงตาเห็นธรรม ทรงโปรดให้อุปสมบทด้วย เอหิภิกขุอุปสัมปทาในครั้งนั้น นับได้ว่ามีพระรัตนตรัยครบสมบูรณ์ ทั้ง ๓ ประการ พระรตนตรยจงเปนสรณะทพงระลกถง ซงพระคณของพระพทธเจา ั ั ึ ็ ่ี ึ ึ ึ ่ึ ุ ุ ้ ๓ ประการ คือ พระบริสุทธิคุณ พระปัญญาคุณ พระมหากรุณาธิคุณ ระลกถงพระธรรม คอ ค�สงสอนของพระพทธเจา ยงการรกษาผปฏบติ ึ ึ ื ำ ั่ ุ ้ ั ั ู้ ิ ั ตามไม่ให้ตกไปสู่ที่ชั่ว พระสงฆ์ คือ สาวกของพระพุทธเจ้า เป็นผู้ฟัง คำ�สอน และสอนให้ผอนปฏิบตตามด้วย พระรัตนตรัยทัง ๓ นี้ จึงเป็น ู้ ื่ ัิ ้ หลกส�คญยงในพระพทธศาสนา เปนทตงแหงศรทธาความเชอความ ั ำ ั ิ่ ุ ็ ี่ ั้ ่ ั ื่ เลื่อมใสให้มั่นคงต่อพระรัตนตรัย ๑๘
  • 17. สวดมนต์ข้ามปี (๒) บทพระไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ คำ�แปล ข้าพเจ้า ขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้า ขอถึงพระธรรม ว่าเป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้า ขอถึงพระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ว่าเป็นที่พึ่ง แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่ง ๑๙
  • 18. สวดมนต์ข้ามปี อานิสงส์ ๑. ย่อมได้ความเป็นพุทธบริษัทโดยแท้ ๒. ย่อมได้สรณะที่พึ่งของผู้ระลึกถึงอยู่ทุกเมื่อ ๓. ย่อมได้ความบริบูรณ์แห่งอริยทรัพย์คือรัตนตรัยสมปรารถนา ๔. ยอมถงซงความประสงคในมรรค ผล สวรรค์ นพพานอยางฉบพลน ่ ึ ึ่ ์ ิ ่ ั ั ๕. ยอมเปนผเู้ ทยบเทาเทวดาโดยฐานะอนเปนทพย์ ๑๐ อยาง คอ อายุ ่ ็ ี ่ ั ็ ิ ่ ื วรรณะ สุขะ ยศ อธิปไตย รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ตำ�นาน นมการสิทธิคาถา บทนมการสิทธิคาถานี้สันนิษฐานกันว่า รจนาขึ้นในรัชสมัยของ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นบทสวดสาธยาย ถวายความเคารพนมัสการพระพุทธเจ้าจำ�นวนมากมายในอดีต ทำ�ความนอบน้อมในพระธรรมและพระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า ทงหลายเหลานน ดวยอานภาพแหงความนอบนอมนี้ อปทวะทงหลาย ั้ ่ ั้ ้ ุ ่ ้ ุ ั ั้ ก็จะพินาศไป อันตรายทั้งปวงก็จะไม่บังเกิดขึ้น ๒๐
  • 19. สวดมนต์ข้ามปี (๓) บทนมการสิทธิคาถา สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทะวาทะสัญจะ สะหัสสะเก ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานุเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ ๒๑
  • 20. สวดมนต์ข้ามปี คำ�แปล ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า ๕๑๒,๐๒๘ พระองค์ ดวยเศยรเกลา ขอนอบนอมพระธรรมดวย พระสงฆดวย ของพระสม- ้ ี ้ ้ ้ ์้ ั พุทธเจ้าเหล่านัน ด้วยความเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำ�ความ ้ นอบน้อม จงขจัดเสียซึ่งสิ่งอันไม่เป็นมงคลทั้งปวง แม้อันตราย ทั้งหลายเป็นอเนก จงพินาศไปสิ้น ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า ๑,๐๒๔,๐๕๕ พระองค์ ด้วยเศียรเกล้า ขอนอบน้อมพระธรรมด้วย พระสงฆ์ด้วย ของพระ- สัมพุทธเจ้าเหล่านั้นด้วยความเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำ� ความนอบน้อม จงขจัดเสียซึงสิงอันไม่เป็นมงคลทังปวง แม้อนตราย ่ ่ ้ ั ทั้งหลายเป็นอเนก จงพินาศไปสิ้น ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า ๒,๐๔๘,๑๐๙ พระองค์ ดวยเศยรเกลา ขอนอบนอมพระธรรมดวย พระสงฆดวย ของพระสม- ้ ี ้ ้ ้ ์้ ั พุทธเจ้าเหล่านันด้วยความเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำ�ความ ้ นอบน้อม จงขจัดเสียซึ่งสิ่งอันไม่เป็นมงคลทั้งปวง แม้อันตราย ทั้งหลายเป็นอเนก จงพินาศไปสิ้น เทอญ ฯ ๒๒
  • 21. สวดมนต์ข้ามปี อานิสงส์ ๑. อานุภาพแห่งการสวดสาธยายถวายความเคารพนมัสการ พระ- พุทธเจ้าในอดีต ๕๑๒,๐๒๘ พระองค์ ย่อมมีศรัทธา ศีล สติ สมาธิ ปัญญา เป็นมหัศจรรย์ในตน ๒. อานุภาพแห่งความนอบน้อมพระธรรมและพระสงฆ์ในบทสวด ย่อมขจัดเสียซึ่งอุปัทวะอันตรายทั้งปวง ๓. อานุภาพแห่งการสาธยายในพุทธมนต์บทนี้ ย่อมนำ�ทางสู่มรรค ปฏิบัติมากล้นพ้นประมาณ รับความรักจากเทวดาและบัณฑิตชน ทั้งหลาย ตำ�นาน นโมการอัฏฐกคาถา บทนี้ว่าด้วย นะโม ๘ บท การนอบน้อม ๘ ครั้ง เป็นพระราช- นิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ ๔ เมื่อครั้งทรงผนวชเป็นพระภิกษุ คำ�สวดนี้นิยมเฉพาะในงานมงคลที่ มีการตั้งขันนํ้ามนต์และวงด้ายสายสิญจน์ มีอานุภาพในการกำ�จัด อุปสรรคให้หมดไป ให้เกิดความสวัสดีแก่ชีวิตและเป็นผู้มีเดชในการ จัดการสิ่งต่างๆ มีความอุดมจากทิศทั้ง ๘ ๒๓
  • 22. สวดมนต์ข้ามปี (๔) บทนโมการอัฏฐกคาถา นะโม อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ มะเหสิโน นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ สวากขาตัสเสวะ เตนิธะ นะโม มะหาสังฆัสสาปิ วิสุทธะสีละทิฏฐิโน นะโม โอมาตยารัทธัสสะ ระตะนัตตะยัสสะ สาธุกัง นะโม โอมะกาตีตัสสะ ตัสสะ วัตถุตตะยัสสะปิ นะโม การัปปะภาเวนะ วิคัจฉันตุ อุปัททะวา นะโม การานุภาเวนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา นะโม การัสสะ เตเชนะ วิธิมหิ โหมิ เตชะวา ฯ คำ�แปล ขอนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ แสวงหาประโยชน์อันยิ่งใหญ่ ขอนอบน้อม แด่พระธรรมอันสูงสุด ในพระศาสนานี้ ที่พระผู้มี พระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว ขอนอบน้อม แด่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ ผู้มีศีล และทิฏฐิ อันงดงาม การนอบน้อม แด่พระรัตนตรัยที่ปรารภแล้วว่าโอม ขอจงสำ�เร็จ ประโยชน์ ขอนอบน้อม แม้วัตถุทั้งสาม อันล่วงพ้นโทษตํ่าช้านั้น ด้วยการ ประกาศการกระทำ�ความนอบน้อม ขอสิ่งที่ไม่เป็นมงคลทั้งหลาย จงบำ�ราศไป ๒๔
  • 23. สวดมนต์ข้ามปี ด้วยอานุภาพแห่งการกระทำ�ความนอบน้อม ขอความสุขสวัสดี จงมทกเมอ ดวยเดชแหงการกระท�ความนอบนอม ขอขาพเจาจงเปน ี ุ ื่ ้ ่ ำ ้ ้ ้ ็ ผู้มีเดชในการประกอบพิธี เทอญฯ อานิสงส์ ๑. ย่อมได้นอบน้อมคุณพระรัตนตรัย ๒. ย่อมได้กำ�จัดอุปสรรค อุปัทวันตรายให้หมดไป ๓. ย่อมเกิดความสวัสดีแก่ชีวิตและครอบครัว ๔. ย่อมทำ�ให้เป็นผู้มีเดชมีอำ�นาจในการจัดการกิจต่างๆ ๒๕
  • 24. สวดมนต์ข้ามปี จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝึกแล้วนำ�สุขมาให้
  • 25. สวดมนต์ข้ามปี ตำ�นาน มงคลสูตร มนุษย์ทั้งหลายพร้อมทั้งเทวดาต่างคิดหามงคล สิ้นเวลา ๑๒ ปี มนุษย์และเทวดาเหล่านั้นในหมื่นจักรวาล แม้เมื่อคิดหาช้านาน ก็ไม่รซงมงคลอันนัน ความโกลาหลเรืองมงคลได้เกิดขึนถึงพรหมโลก ู้ ึ่ ้ ่ ้ ตลอดหมื่นจักรวาล พระโลกนาถทรงแสดงสิ่ ง ที่ เ ป็ น มงคลอั น สามารถขจั ด บาป ทังปวงได้ เมือนรชนนับประมาณมิได้ สดับแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์ ้ ่ ทงปวง ขอเราทงหลายจงรวมกนสวดมงคลปรตรนน ซงประกอบดวย ั้ ั้ ่ ั ิ ั้ ึ่ ้ คุณอย่างนี้เป็นต้นเถิด (๕) บทมงคลสูตร อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต สุภาสิตา จะ ยาวาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ๒๗
  • 26. สวดมนต์ข้ามปี อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง. เอตาทิสานิ กัตวานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ. คำ�แปล เทวดา ได้กราบทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยคาถาว่า เทวดาและมนุษย์เป็นอันมาก ต่างก็หวังความสวัสดี จึงได้พากัน คดเรองมงคล คอเหตใหถงความเจรญทงหลาย ขอพระองคโปรดตรส ิ ื่ ื ุ ้ึ ิ ั้ ์ ั มงคลอันสูงสุดเถิด ฯ พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสสิ่งที่เป็นมงคลตอบว่า การไม่คบคนพาลทั้งหลาย ๑ การคบบัณฑิตทั้งหลาย ๑ การบูชาผู้ที่ควรบูชา ๑ ทั้ง ๓ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุดฯ การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม ๑ ความมีบุญที่ได้ทำ�ไว้ในกาลก่อน ๑ ๒๘
  • 27. สวดมนต์ข้ามปี การวางตัวเหมาะสมชอบธรรม ๑ ทั้ง ๓ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุดฯ ความเป็นผู้มีการศึกษาเล่าเรียนมามาก ๑ ความเป็นผู้มีศิลป- วิทยา ๑ ความเป็นผูมระเบียบวินยทีได้รบการอบรมมาดี ๑ การพูดจา ้ี ั ่ ั ปราศรัยดี ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุดฯ การเลี้ยงดูบิดามารดา ๑ การสงเคราะห์บุตร ๑ การสงเคราะห์ ภรรยา ๑ การทำ�งานไม่คั่งค้าง ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุดฯ การให้ทาน ๑ การประพฤติตามหลักธรรม ๑ การสงเคราะห์ ญาติทั้งหลาย ๑ การทำ�งานที่ปราศจากโทษ ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุดฯ การงดเว้นจากความชั่ว ๑ การบังคับตนจากการดื่มนํ้าเมา ๑ ความไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๑ ทั้ง ๓ ประการนี้ เป็นมงคล สูงสุดฯ การมีความเคารพ ๑ การมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ๑ การมี ความสันโดษ ๑ การมีความกตัญญู ๑ การฟังธรรมตามกาล ๑ ทั้ง ๕ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุด ฯ ความอดทน ๑ ความเป็นผู้ว่านอนสอนง่าย ๑ การพบเห็น สมณะ ๑ การสนทนาธรรมตามกาล ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคล สูงสุด ฯ การมีความเพียรเป็นเครืองแผดเผากิเลส ๑ การประพฤติพรหม- ่ จรรย์ ๑ การเห็นอริยสัจทั้งหลาย ๑ การทำ�พระนิพพานให้แจ้ง ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุด ฯ ผู้ที่มีจิตถูกโลกธรรมกระทบแล้วไม่หวั่นไหว ๑ จิตไม่มีความ โศกเศร้า ๑ จิตหมดธุลีคือกิเลส ๑ จิตถึงความปลอดโปร่ง คือปลอด ๒๙
  • 28. สวดมนต์ข้ามปี จากกิเลสทั้งปวง ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุด ฯ เทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย พากันปฏิบัติตามมงคลอันเป็นเหตุ น�ไปสความเจรญนแลว จะเปนผไมพายแพขาศกทกหมเู่ หลา ยอมถง ำ ู่ ิ ี้ ้ ็ ู้ ่ ่ ้ ้ ึ ุ ่ ่ ึ ความสุขสวัสดีในที่ทุกสถาน นี้เป็นมงคลสูงสุดของเทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย อานิสงส์ ๑. ยอมไดแนวทางแหงการด�เนนชวตอนเปนมงคล โดยการสรางมงคล ่ ้ ่ ำ ิ ีิ ั ็ ้ ใหเ้ กดขนดวยตนเอง ิ ้ึ ้ ๒. ย่อมได้รับความเจริญงอกงามไพบูลย์ มั่งคั่งสมบูรณ์ด้วยวัตถุ มงคลและธรรมมงคล ๓. ย่อมทำ�ให้สงคมร่มเย็นเป็นสุข เพราะทุกคนประกอบด้วยสิรมงคล ั ิ หรือมีมงคลชีวิตประจำ�ตัว ๔. ย่อมสามารถตัดสินข้อขัดแย้งที่มีผู้ถกเถียงกันว่า สิ่งใดเป็นมงคล สิ่งใดไม่เป็นมงคล พระพุทธเจ้าตรัสคำ�สอนนี้เพื่อยุติข้อถกเถียงที่หา ข้อยุติมิได้ ๕. ยอมเปนหลกคดและแนวทางปฏบติ เพมพนสงทเี่ ปนมงคลส�หรบ ่ ็ ั ิ ิ ั ิ่ ู ิ่ ็ ำ ั ชีวิตทุกระดับชั้นให้สูงยิ่งขึ้น ถึงที่สุดคือพระนิพพาน ๓๐
  • 29. สวดมนต์ข้ามปี ตำ�นาน รตนสูตร พระสูตรที่พระอานนทเถระ เรียนจากพระพุทธองค์โดยตรง เพื่อสวดปัดเป่าภัยพิบัติที่เกิดกับชาวกรุงเวสาลี โดยพระพุทธองค์ แนะนำ�ให้พระเถระอ้างคุณพระรัตนตรัย คือ พุทธรัตนะ ธัมมรัตนะ สั ง ฆรัตนะ ทำ� สัจกิริยาให้เกิดเป็นอานุภาพขจัดปัดเป่าภัยพิบัติ ทั้งหลาย ภายหลังการสวดบทนี้ได้กลายเป็นแบบอย่าง ในการทำ� นํ้าพระพุทธมนต์ สำ�หรับพระสงฆ์สาวกเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน เพื่อ ขจัดปัดเป่าภัยพิบัติ ๓ ประการ ให้อันตรธานหายไป คือ ข้าวยาก หมากแพง ภูตผีปีศาจทำ�อันตราย และเกิดโรคภัยไข้เจ็บ ขอเรา ทั้งหลายจงร่วมกันสวดรตนสูตรนั้น ซึ่งประกอบด้วยคุณอย่างนี้ เป็นต้นเถิด (๖) บทรตนสูตร (ย่อ) ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ ๓๑
  • 30. สวดมนต์ข้ามปี อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป ๓๒
  • 31. สวดมนต์ข้ามปี อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. คำ�แปล ทรพยเ์ ครองปลมใจ อนใดอนหนง ในโลกนหรอโลกอน หรอรตนะ ั ื่ ื้ ั ั ึ่ ี้ ื ื่ ื ั อันใด อันประณีตในสวรรค์ รัตนะอันนั้นเสมอด้วยพระตถาคตเจ้า ไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคำ�สัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี พระศากยมุนีเจ้า มีพระหฤทัยดำ�รงมั่น ได้บรรลุธรรมอันใด เป็นที่สิ้นกิเลส เป็นที่สิ้นราคะ เป็นอมฤตธรรมอันประณีต สิ่งไรๆ เสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตใน พระธรรม ด้วยคำ�สัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้วซึ่งสมาธิอันใด ว่าเป็นธรรมอันสะอาด บัณฑิตทั้งหลายกล่าวซึ่งสมาธิอันใด ว่าให้ผล โดยลำ�ดับ สมาธิอื่นเสมอด้วยสมาธินั้นย่อมไม่มี แม้อันนี้ เป็นรัตนะ อันประณีตในพระธรรม ด้วยคำ�สัตย์นี้ขอความสวัสดีจงมี บุคคลเหล่าใด ๘ จำ�พวก ๔ คู่ อันสัตบุรษทังหลายสรรเสริญแล้ว ุ ้ บุคคลเหล่านั้นเป็นสาวกของพระสุคต ควรแก่ทักษิณาทาน ทาน ทั้งหลาย อันบุคคลถวายในท่านเหล่านั้น ย่อมมีผลมาก แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำ�สัตย์นี้ขอความสวัสดีจงมี พระอริยบุคคลทังหลายเหล่าใด ในศาสนาพระโคดมเจ้า ประกอบ ้ ดีแล้ว มีใจมั่นคง มีความใคร่ออกไปแล้ว พระอริยบุคคลทั้งหลาย ๓๓
  • 32. สวดมนต์ข้ามปี เหล่านัน ถึงพระอรหัตผลทีควรถึง หยังเข้าสูพระนิพพาน ได้ซงความ ้ ่ ่ ่ ึ่ ดับกิเลสโดยเปล่าๆ แล้วเสวยผลอยู่แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีต ในพระสงฆ์ ด้วยคำ�สัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี กรรมเก่าของพระอริยบุคคลเหล่าใดสิ้นแล้ว กรรมสมภพใหม่ ย่อมไม่มี พระอริยบุคคลเหล่าใด มีจิตอันหน่ายแล้วในภพต่อไป พระอริยบุคคลเหล่านั้น มีพืชสิ้นไปแล้ว มีความพอใจงอกไม่ได้แล้ว เป็นผู้มีปัญญา ย่อมปรินิพพานเหมือนประทีปอันดับไป ฉะนั้น แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำ�สัตย์นี้ขอความ สวัสดีจงมี อานิสงส์ ๑. ย่อมได้รับการพิทักษ์คุ้มครองให้สวัสดี ด้วยคุณของพระรัตนตรัย ๒. ย่อมได้รับอานุภาพแห่งพระปริตรที่เทพยดาอ้างสัจจะวาจาถึง คุณพระรัตนตรัย ๓. ย่อมไม่ถูกรุกรานทำ�ร้ายจากอมนุษย์ ภูตผี ปีศาจร้าย โรคภัย อันรักษาได้ยาก ๔. ย่อมรู้และได้กำ�จัดแล้วซึ่งเหตุแห่งภัยทั้ง ๓ คือ ทุพภิกขภัย อมนุษย์ภัย และพยาธิภัย ๓๔
  • 33. สวดมนต์ข้ามปี ตำ�นาน กรณียเมตตสูตร บทกรณียเมตตปริตรหรือกรณียเมตตสูตร เป็นบทสวดที่แสดง เนื้อหาการแผ่เมตตา ความรักปรารถนาดีไปยังสรรพสัตว์ เทวดา และภูตผีปีศาจต่างๆ อย่างไม่มีประมาณ บทสวดนี้ทำ�ให้หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย เป็นที่รักของมนุษย์และอมนุษย์ทั้งหลาย เทพพิทักษ์รักษา ไม่มีภยันตราย จิตเกิดสมาธิง่าย ใบหน้าผ่องใส มีสิริมงคล ไม่หลงสติในเวลาเสียชีวิต และเกิดเป็นพรหมเมื่อบรรลุ เมตตาฌาน (ขุ.ธ. ๒๕/๑๓) (๗) บทกรณียเมตตสูตร (ย่อ) เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ เอตัง สะติง อะทิฏเฐยยะ พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ ๓๕
  • 34. สวดมนต์ข้ามปี คำ�แปล ภกษผบ�เพญสมณะธรรม พงแผเ่ มตตาจตไป ไมจ�กดประมาณ ิ ุ ู้ ำ ็ ึ ิ ่ำ ั ไร้พรมแดน ไม่ผูกเวร ไม่ก่อศัตรู แผ่กว้างออกไปในสัตว์โลกทั้งสิ้น ทั้งในอรูปภูมิเบื้องบน รูปภูมิท่ามกลาง และกามาวจรเบื้องตํ่ำ� ผู้เจริญเมตตาจิตเช่นนี้ ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใด จะยืน เดิน นั่ง หรือนอนอยู่ก็ตาม จะเป็นผู้ปราศจากความท้อแท้เหนื่อยหน่าย จะตังสติไว้ได้นานตราบเท่าทีตองการ พระพุทธเจ้าทังหลาย ตรัสการ ้ ่้ ้ อยูดวยเมตตาเช่นนีวา เป็นความประพฤติทประเสริฐในพระศาสนานี้ ่้ ้่ ี่ บุคคลผู้แผ่เมตตาจิตนั้น ละความเห็นผิดเสียได้ เป็นผู้มีศีล มี ค วามเห็นชอบ กำ�จัดความยินดีในกามทั้งหลายเสียได้ ย่อม ไม่กลับมาสู่การเกิดในครรภ์อีกครั้ง แน่นอนฯ ๓๖
  • 35. สวดมนต์ข้ามปี อานิสงส์ ๑. ย่อมได้รบความสุขสงบแห่งจิต สัมฤทธิผลในการงานน้อยใหญ่ ไม่ ั ์ ขัดข้อง ไม่วุ่นวาย ๒. ย่อมได้รับความยินดี ยินยอมพร้อมใจ และร่วมอนุโมทนาใน กิจต่างๆ จากมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย ๓. ยอมไดรบอานสงส์ คอ นอนหลบเปนสข ตนกเ็ ปนสข ไมฝนลามก ่ ้ั ิ ื ั ็ ุ ื่ ็ ุ ่ ั เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย เทวดา ย่อมรักษาคุ้มครอง ไม่ได้รับอันตรายจากไฟและอาวุธ จิตย่อมสงบ โดยเร็ว ใบหน้าผ่องใส มีสติ ไม่หลงทำ�การกิริยา ถ้ายังไม่บรรลุ พระอรหันต์ก็จะไปบังเกิดในพรหมโลก ๔. ย่อมได้บาทแห่งการบำ�เพ็ญวิปัสสนากรรมฐาน บรรลุมรรคผล นิพพานต่อไป ๓๗
  • 36. สวดมนต์ข้ามปี โกโธ สตฺถมลํ โลเก ความโกรธเป็นดังสนิมในโลก
  • 37. สวดมนต์ข้ามปี ตำ�นาน ขันธปริตร บทขันธปริตร เป็นบทสวดมนต์ป้องกันตัว สอนให้มีจิตประกอบ เมตตาถือเป็นมนต์ศักดิ์สิทธิ์ป้องกันภัยจากอสรพิษ คืองูที่มีพิษ ดุร้ายและสัตว์ร้ายอื่นๆ (ขุ.ชา.ทุก. ๒๗/๗๕) คาถาแห่งการป้องกัน อสรพิษ และสัตว์ร้ายทั้งหลาย โดยในพระไตรปิฎกมีการกล่าวไว้ว่า คาถาดังกล่าวเป็นคาถาทีพระพุทธองค์ทรงสอนให้พระภิกษุแผ่เมตตา ่ ไปในบรรดาตระกูลงูพิษดุร้ายทั้งหลาย เพื่อเป็นการคุ้มครองป้องกัน ตนเองจากสัตว์ราย โดยบทนีปรากฏอยูในทังพระวินยปิฎก และพระ- ้ ้ ่ ้ ั สุตตันตปิฎก ระบุว่าเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดพระเชตวัน กรุงสาวัตถี มีภิกษุถูกงูกัด เหล่าภิกษุจึงกราบทูลแด่พระพุทธองค์ พระพทธองคจงตรสวา ภกษนนถกงกดเพราะไมไดแผเ่ มตตา นอกจาก ุ ์ ึ ั ่ ิ ุ ั้ ู ู ั ่ ้ บทขั น ธปริ ต รจะเป็ น คาถาสำ � หรั บ ป้ อ งกั น อสรพิ ษ และสั ต ว์ ร้ า ย ทงหลายแลว ยงมอานภาพในการปองกนอนตรายจากยาพษทงหลาย ั้ ้ ั ี ุ ้ ั ั ิ ั้ ได้อีกด้วย ๓๙
  • 38. สวดมนต์ข้ามปี (๘) บทขันธปริตร วิรูปักเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉัพฺยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา สัพเพ ภัทฺรานิ ปัสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปฏิกกะมันตุ ภูตานิ ิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานังฯ ๔๐
  • 39. สวดมนต์ข้ามปี คำ�แปล ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย สกุลวิรูปักข์ ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลาย สกุลเอราบถ, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกบพญานาคทังหลาย สกุลฉัพยาบุตร ั ้ ความเป็นมิตรของเรา จงมีกบพญานาคทังหลาย สกุลกัณหาโคตมกะ, ั ้ ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลายที่มี ๔ เท้า ความเป็นมิตรของเราจงมีกับสัตว์ที่มีเท้ามาก, สัตว์ไม่มีเท้า อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๒ เท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๔ เท้า อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์มากเท้าอย่าเบียดเบียนเรา ขอสรรพสัตว์มชวตทังหลายทีเ่ กิดมาทังหมดจนสินเชิง จงเห็นซึง ีีิ ้ ้ ้ ่ ความเจริญทั้งหลายทั้งปวงเถิด โทษลามกอย่าได้มาถึงแล้วแก่สัตว์ เหล่านั้น พระพุทธเจ้าทรงพระคุณสุดทีจะประมาณได้ พระธรรมมีพระคุณ ่ สุดที่จะประมาณได้ พระสงฆ์ก็มีพระคุณสุดที่จะประมาณได้ แต่สัตว์ เลือยคลานทังหลาย เช่น งู แมงป่อง ตะขาบ แมงมุม ตุกแก หนูยงมี ้ ้ ๊ ั ประมาณก�หนดได้ ขาพเจาไดท�การรกษาแลว ไดท�การปองกนแลว ำ ้ ้ ้ำ ั ้ ้ำ ้ ั ้ ขอสัตว์ทั้งหลายจงหลีกไปเสียเถิด ข้าพเจ้ากำ�ลังทำ�ความนอบน้อม แด่พระผูมพระภาคเจ้า กำ�ลังทำ�ความนอบน้อมแด่พระสัมมาสัมพุทธ- ้ี เจ้า ๗ พระองค์ฯ ๔๑
  • 40. สวดมนต์ข้ามปี อานิสงส์ ๑. ย่อมเป็นที่ตั้งแห่งการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ๒. ย่อมเป็นที่ไว้วางใจต่อหมู่ชนผู้เป็นมิตร ๓. ย่อมเป็นผู้ปราศจากอันตรายจากอสรพิษและสัตว์ร้ายอื่นๆ ๔. ย่อมเป็นที่รักของเทวดา มนุษย์ และสัตว์ทั้งหลาย ทั้งมีพิษและ ไม่มีพิษ ตำ�นาน โมระปริตร บทโมระปริตรนี้ เป็นมนต์ทพญานกยูงทอง แสดงความนอบน้อม ี่ ต่อพระอาทิตย์ที่ทอแสงมายังโลก ทำ�ให้ความมืดมิดพลันหายไป มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายได้ออกมาเลี้ยงชีพ การระลึกถึงคุณพระ- พุทธเจ้าผู้นำ�แสงสว่างแห่งธรรมะมาโปรดชาวโลกไม่ให้ตกไปใน อบายภูมิ มนต์บทนีชวยป้องกันภัยจากผูคดร้าย (ขุ.ชา.ทุก. ๒๗/๕๓) ้่ ้ิ ปริตรของนกยูง ซึ่งเป็นพระปริตรบทหนึ่งที่กล่าวถึงคุณของพระ- พุทธเจ้าแล้วน้อมพระพุทธคุณมาพิทักษ์คุ้มครองให้มีความสวัสดี โดยมีประวัตต�นานความเป็นมาว่า สมัยหนึงเมือครังพระบรมศาสดา ิำ ่ ่ ้ เสวยชาติเป็นนกยูงทองโพธิสัตว์ อาศัยอยู่บนเขาใกล้ป่าหิมพานต์ ก่อนจะบินไปหาอาหารในตอนเช้า จะบินขึ้นไปบนยอดภูเขามองดู พระอาทิตย์ขึ้นแล้วสาธยายพระปริตรนมัสการพระอาทิตย์ โดยร่าย มนต์สาธยายคาถา และนอบน้อมบูชาพระพุทธเจ้าทั้งหลายที่เสด็จ ดับขันธปรินิพพานแล้ว พร้อมทั้งระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า ๔๒
  • 41. สวดมนต์ข้ามปี แลวจงบนออกไปหาอาหาร ดงนน พระปรตรบทนจงเปนการกลาวถง ้ ึ ิ ั ั้ ิ ี้ ึ ็ ่ ึ คุณของพระพุทธเจ้า แล้วน้อมพระพุทธคุณมาพิทักษ์คุ้มครองให้มี ความสวัสดี (๙) บทโมระปริตร อุเทตะยัญจักขุมา เอกราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง เย พรัหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานัง มะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนา อะเปตะยัญจักขุมา เอกราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง ๔๓
  • 42. สวดมนต์ข้ามปี เย พรัหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานัง มะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ คำ�แปล พระอาทตย์ เปนดวงตาของโลก เปนเอกราชา มสดงสทอง ยงพน ิ ็ ็ ี ี ่ั ี ั ้ื ปฐพใหสวางอทยขนมา เพราะเหตนน ขาขอนอบนอมพระอาทตยนน ี ้ ่ ุ ั ้ึ ุ ้ั ้ ้ ิ ์ ้ั ซงมสดงสทอง ยงพนปฐพใี หสวาง ขาพเจาทงหลายอนทานปกครองแลว ่ึ ี ี ่ั ี ั ้ื ้ ่ ้ ้ ้ั ั ่ ้ ในวนนพงอยเู่ ปนสขตลอดวน ั ้ี ึ ็ ุ ั พราหมณ์ทงหลายเหล่าใด ผูถงเวทในธรรมทังปวง พราหมณ์ทงหลาย ้ั ้ึ ้ ้ั เหลานน จงรบความนอบนอมของขาฯ อนง พราหมณทงหลายเหลานน ่ ้ั ั ้ ้ ่ึ ์ ้ั ่ ้ั จงรกษาขาพเจา ความนอบนอมของขาพเจา จงมแดพระพทธเจาทงหลาย ั ้ ้ ้ ้ ้ ี ่ ุ ้ ้ั จงมีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้าพเจ้า จงมีแด่ผ้พ้นแล้ว ู ทังหลาย ความนอบน้อมของข้าพเจ้า จงมีแด่วมตติธรรม นกยูงนันได้กระทำ� ้ ิุ ้ พระปรตรบทนแลว จงเทยวไปเพอแสวงหาอาหาร ิ ้ี ้ ึ ่ี ่ื พระอาทตย์ เปนดวงตาของโลก เปนเอกราชา มสดงสทองยงพนปฐพี ิ ็ ็ ี ี ่ั ี ั ้ื ใหสวาง ยอมอสดงคตไป เพราะเหตนน ขาขอนอบนอมพระอาทตยนน ้ ่ ่ ั ุ ้ั ้ ้ ิ ์ ้ั ซึงมีสดงสีทอง ยังพืนปฐพีให้สว่าง ข้าพเจ้าทังหลาย อันท่านปกครองแล้ว ่ ี ่ั ้ ้ ในวนนพงอยเู่ ปนสขตลอดคน ั ้ี ึ ็ ุ ื พราหมณ์ท้ังหลายเหล่าใด ผู้ถึงเวทในธรรมทั้งปวงพราหมณ์ ๔๔
  • 43. สวดมนต์ข้ามปี ทังหลายเหล่านัน จงรับความนอบน้อมของข้าพเจ้า อนึง พราหมณ์ ้ ้ ่ ทงหลายเหลานน จงรกษาขาพเจา ความนอบนอมของขาพเจา จงมแด่ ้ั ่ ้ั ั ้ ้ ้ ้ ้ ี พระพุทธเจ้าทังหลาย จงมีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้าพเจ้า ้ จงมแดผพนแลวทงหลาย ี ่ ู้ ้ ้ ้ั อานิสงส์ ๑. ย่อมได้พลังแห่งปัญญาประดุจหนึงแสงพระอาทิตย์สองสว่างกำ�จัด ่ ่ ความมดได้ ฉนใด ดวงตาแหงปญญาจงก�จดโมหะ คอความมดมน ื ั ่ ั ำ ั ื ื ใหพนไป ฉนนน ้ ้ ั ้ั ๒. ยอมไดแนวทางแหงพญายงทองทสาธยายมนตบชาพระอาทตยเ์ ปน ่ ้ ่ ู ่ี ์ู ิ ็ กิจวัตร ให้เกิดพลังแห่งความแคล้วคลาดปลอดภัยจากภยันตรายทังปวง ้ ๓. ย่อมให้เกิดเมตตาสัมมาทิฏฐิ ด่งองค์ราชาท่หมายม่นจะได้เน้อ ั ี ั ื พญายงทองเปนอาหาร ดวยสจจะวาจาทกลาว องคราชาจงมดวงตาทเ่ี ปน ู ็ ้ ั ่ี ่ ์ ึ ี ็ สมมาทฏฐิ ั ิ ตำ�นาน วัฏฏะกะปริตร บทวฏฏะกะปรตรน้ี เปนมนตทพญานกคมไดระลกถงพระพทธเจา ั ิ ็ ์ ่ี ุ่ ้ ึ ึ ุ ้ ในอดีต ระลึกถึงพระธรรมคุณ ทำ�ให้ไฟป่าทีจะมาถึงตนดับมอดลง มนต์บทนี้ ่ ท�ใหพนจากอคคภย (ข.ุ จรยา. ๓๓/๕๘๘) พระปรตรทกลาวถงสจจะวาจา ำ ้ ้ ั ีั ิ ิ ่ี ่ ึ ั ของพระพุทธเจ้าที่เคยกระทำ�เมื่อเสวยพระชาติเป็นนกคุ่ม แล้วอ้าง สัจจวาจานันมาพิทกษ์คมครองให้พนจากอัคคีภย โดยเป็นพระปริตร ้ ั ุ้ ้ ั ๔๕
  • 44. สวดมนต์ข้ามปี ทกลาวอางคณ คอ ศล สมาธิ ปญญา วมตติ วมตตญาณทสสนะ และ ่ี ่ ้ ุ ื ี ั ิุ ิุ ิ ั สจจะ ของพระพทธเจาในอดตทงหลาย แลวนอมเอาพระคณดงกลาว ั ุ ้ ี ้ั ้ ้ ุ ั ่ มาบังเกิดเป็นอานุภาพปกป้องคุ้มครองอันตราย อันจะเกิดจากไฟ ทงหลายใหเ้ กดเปนความสขสวสดแกชวต ดงนน การสวดคาถานกเ็ พอ ้ั ิ ็ ุ ั ี ่ ี ิ ั ้ั ้ี ่ื เปนการปองกนอนตรายอนจะเกดจากไฟ และเหตเุ ดอดรอนวนวายนานา ็ ้ ั ั ั ิ ื ้ ุ่ ประการ ใหเ้ กดเปนความรมเยนเปนสข ิ ็ ่ ็ ็ ุ (๑๐) บทวัฏฏะกะปริตร อัตถิ โลเก สีละคุโณ สัจจัง โสเจยยะนุททะยา เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง อาวัชชิตวา ธัมมะพะลัง สะริตวา ปุพพะเก ชิเน สัจจะพะละมะวัสสายะ สัจจะกิริยะมะกาสะหัง สันติ ปักขา อะปัตตะนา สันติ ปาทา อะวัญจะนา มาตา ปิตา จะ นิกขันตา ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง มะหาปัชชะลิโต สิขี วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ อุทะกัง ปัตวา ยะถาสิขี สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีติฯ ๔๖