SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
โครงการอบรมหลักสูตรการท่องเที่ยว
เชิงเกษตรและการจัดการ
ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
บรรยายโดยคุณกรวรรณ สังขกร
ความหมายของโฮมสเตย์ โดย ททท.
 บ้านพักประเภทหนึ่งประเภทใดที่
นักท่องเที่ยวร่วมกับเจ้าของบ้านและมี
วัตถุประสงค์ที่จะเรียนรู้วิถีชีวิตของ
ชาวบ้าน ซึ่งเป็นการถ่ายทอด
วัฒนธรรมและแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่ง
กันและกัน พร้อมทั้งจัดที่พักและ
อาหารให้แก่นักท่องเที่ยวและได้รับ
ค่าตอบแทนตามความเหมาะสม
ความหมายโดยสานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
 เป็นบ้านพักที่อยู่ในชุมชน สมาชิกในครัวเรือนพักอยู่ประจา และ
บ้านนั้นเป็นสมาชิกของกลุ่มชมรมที่ร่วมจัดกันเป็นโฮมสเตย์
ชุมชน โดยนักท่องเที่ยวสามารถเข้าพักร่วมกับเจ้าของบ้านได้
ซึ่งสมาชิกในบ้านก็ต้องมีความยินดีและเต็มใจให้นักท่องเที่ยว
เข้ามาพักด้วย พร้อมทั้งถ่ายทอดประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม
ของท้องถิ่นของตนเองให้แก่นักท่องเที่ยว และสามารถนา
นักท่องเที่ยวไปเที่ยวชมกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชน
พัฒนาการของโฮมสเตย์
 มีโฮมสเตย์เกิดขึ้นมากมาย และมี
โฮมสเตย์ที่ได้รับการรับรอง
มาตรฐานจากกรมการท่องเที่ยวแล้ว
มีทั้งหมดประมาณ 200 กว่า
โฮมส-เตย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547
เป็นต้นมา
 มีโฮมสเตย์ที่ยังไม่ได้รับมาตรฐานอีก
มากกว่า 200 กว่าโฮมสเตย์รวม
ทั้งหมดเกือบ 500 โฮมสเตย์
พัฒนาการของโฮมสเตย์
 โฮมสเตย์ในประเทศไทยเริ่มมา
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 จนถึง พ.ศ.
2535 ที่เป็นช่วงยุคเริ่มต้น ซึ่งจะ
ระยะแรกจะกระจายอยู่ในกลุ่มนิสิต
นักศึกษา และ การออกค่ายอาสา
พัฒนา
 เป็นกลุ่มที่ต้องการเรียนรู้วิถีชีวิต
และเข้าสู่ชนบท มีการออกค่ายไป
พักกับชาวบ้านอยู่กับชุมชน ซึ่งแต่
เดิมยังไม่ได้เรียกว่าโฮมสเตย์
พัฒนาการของโฮมสเตย์
 หลังจากนั้นก็มีการกระจายเข้าสู่กลุ่ม
นักท่องเที่ยวต่างชาติด้วย ซึ่งจะเป็น
กลุ่มที่ชอบ Trekking Tour
หรือ ทัวร์ป่า โดยเฉพาะทางตอนเหนือ
ของไทย
 นักท่องเที่ยวก็จะเข้าพักตามหมู่บ้าน
ชาวเขา ตามเส้นทางการเดินป่า
ยุคกลางของโฮมสเตย์
 กลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่นิยมทัวร์ป่ามากขึ้น โฮมสเตย์จึง
พัฒนารูปแบบและกิจกรรมมากขึ้น กระจายไปตามหมู่บ้านชาวเขา
 ในช่วงยุคกลางนี้ยังไม่ได้มีการจัดการใดๆ ทาให้นักท่องเที่ยวที่
เป็น Trekking Tour เข้าไปก็จะเจอปัญหาต่างๆโดยเฉพาะ
ยาเสพติด
โฮมสเตย์ยุคหลัง
 ตั้งแต่ปี พ.ศ.2527 จนถึงปัจจุบัน รัฐบาลก็ได้ให้ความสาคัญ และ
เน้นการพัฒนากระแส สังคม และสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ทาให้การ
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้รับความนิยมมากขึ้นและยังมีแนวโน้มมากขึ้น
เรื่อยๆ
 นักท่องเที่ยวชาวไทยในช่วงแรกจะเป็นกลุ่มนาร่องในสังคม ซึ่งส่วน
ใหญ่จะเป็น NGO หรือนักพัฒนาสังคมลังจากนั้นก็เริ่มมีการ
เคลื่อนไหวในกลุ่มธุรกิจ มีสินค้าใหม่ๆเข้ามานาเสนอให้ลูกค้ามาก
ขึ้น
การเติบโตของโฮมสเตย์
 ในปี พ.ศ. 2541-2542 เมื่อ
รัฐบาลไทยโดยททท.ประกาศให้
ประเทศไทยเป็นปีแห่งการ
ท่องเที่ยวไทย หรือ Amazing
Thailand ก็มีการสนับสนุน
การท่องเที่ยวทาให้เกิดการจัด
โฮมสเตย์ในหลายชุมชน และมีการ
ขยายโฮมสเตย์เพิ่มมากขึ้นด้วย
การเติบโตของโฮมสเตย์
 รัฐบาลต้องการที่จะมุ่งเน้นการ
กระจายอานาจเข้าสู่ท้องถิ่น เน้นการ
พัฒนาชุมชน ให้ความสาคัญกับการ
สร้างงาน และสร้างรายได้ให้กับ
ชุมชน โดยการใช้เครื่องมือคือการ
ท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือในการ
พัฒนาให้เกิดกิจกรรมการท่องเที่ยว
ที่หลากหลายในชุมชน
การเติบโตของโฮมสเตย์
 ปี พ.ศ. 2546 กรมการท่องเที่ยวก็เริ่มจัดทามาตรฐาน
โฮมสเตย์ขึ้น แต่ยังไม่ได้มีการเริ่มการประเมิน เป็นเพียงการ
ประชาสัมพันธ์ให้ทราบว่าในปี พ.ศ. 2547 จะเริ่มมีการ
ประเมินโฮมสเตย์ เพื่อเป็นการรับประกันให้กับนักท่องเที่ยว
ได้ทราบถึงโฮมสเตย์ที่ได้รับมาตรฐาน และถูกต้อง มีการ
จัดการที่ดี เป็นการให้มาตรฐานแก่โฮมสเตย์
วัตถุประสงค์ของการจัดทาโฮมสเตย์
 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดทาโฮมสเตย์เพื่อสร้างงาน สร้างรายได้ เป็น
ชุมชนที่เข้มแข็ง และพึ่งตนเองได้ และยั่งยืน
 เพื่อส่งเสริมโฮมสเตย์ให้มีมาตรฐาน และเข้าสู่กระบวนการตรวจรับรอง
อย่างถูกต้องได้
 เพื่อส่งเสริมให้โฮมสเตย์เป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวเชิงชุมชน หรือ
Community Based Tourism
 เพื่อคานึงถึงความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ ดารงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ทาง
วัฒนธรรม และชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมและรับประโยชน์อย่างเป็นธรรม
ประเภทของโฮมสเตย์
 โฮมสเตย์ทั่วไป เป็นโฮมสเตย์ที่มีอย่างน้อย
3 หลังในชุมชน นักท่องเที่ยวจะต้องพักกับ
คนในครอบครัว แต่ยังไม่ได้รับการประเมิน
 โฮมสเตย์มาตรฐาน เป็นโฮมสเตย์ที่ได้รับ
มาตรฐานจากกรมการท่องเที่ยว ซึ่งจะได้รับ
ป้ายมาตรฐาน ซึ่งมีอายุ 3 ปี หากหมด
ระยะเวลาแล้วก็จะต้องเข้ารับการประเมิน
ใหม่
การจัดการโฮมสเตย์เบื้องต้น
 คานึงถึงความพร้อม ความเต็มใจของ
ชุมชนเป็นสาคัญ ชุมชนจะต้องมีส่วน
ร่วมในการบริหารจัดการ
 ตั้งกรรมการที่จะเข้ามาดูแลโฮมสเตย์
เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาในภายหลัง
 เน้นจุดขายที่เป็นวิถีชีวิตดั้งเดิมของ
ชุมชน ภายใต้บรรยากาศแบบธรรมชาติ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่น่าสนใจต่อ
บุคคลภายนอก
การจัดการโฮมสเตย์เบื้องต้น
 การท่องเที่ยวจะต้องเป็นเพียงรายได้เสริมไม่ใช่อาชีพหลัก
 สิ่งที่ควรจะนาเสนอให้แก่นักท่องเที่ยวก็ควรจะเป็นวิถีชีวิตในชุมชนที่เรียบ
ง่ายแบบชนบท ไม่จาเป็นต้องทาอะไรที่เป็นพิเศษเพื่อเพิ่มเติมให้
นักท่องเที่ยว
 คานึงถึงความปลอดภัยและความสะอาดของห้องพัก
 กิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นก็จะต้องเกี่ยวข้องกับชุมชน
 มีการรวมกันในรูปแบบกลุ่มสหกรณ์ สมาชิกในชุมชนต้องมีความเข้าใจใน
การบริหารจัดการ สามารถเข้ามาแสดงความคิดเห็นในการจัดการ
เพื่อที่จะให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
การจัดการโฮมสเตย์เบื้องต้น
 สมาชิกในครอบครัวจะต้องเต็มใจในการรับนักท่องเที่ยวเข้ามา
เยือน
 บ้านพักจาเป็นจะต้องมีโครงสร้างที่ดี มีสภาพแวดล้อมที่ดี ไม่
ไกลจากเมืองหรือพื้นที่จัดเทศกาล รวมทั้งสถานที่ท่องเที่ยว
 มีห้องน้า ห้องพัก ห้องอาบน้า และห้องนั่งเล่นไว้รองรับ
นักท่องเที่ยว
 เป็นบ้านที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวกไม่มีกลิ่นอับ มีการ
จัดเตรียมสถานที่พบปะกัน เป็นที่นั่งเล่น พูดคุย แลกเปลี่ยน
กันระหว่างเจ้าของบ้านและนักท่องเที่ยว
การจัดการโฮมสเตย์เบื้องต้น
 ห้องพักของนักท่องเที่ยวควรจะมีความเป็น
ส่วนตัวและมีความเรียบง่าย มีความเป็น
สัดส่วน
 หากบางหมู่บ้านบางวัฒนธรรมที่ไม่นิยมการ
กั้นห้องนอนให้เป็นสัดส่วน ก็ควรแก้ปัญหา
ด้วยการหาสิ่งของไม่ว่าจะเป็นผ้า ตู้เสื้อผ้า มา
กั้นให้ส่วนหนึ่งเป็นของนักท่องเที่ยวที่เป็น
ส่วนตัว
การจัดการโฮมสเตย์เบื้องต้น
 เครื่องนอนที่มีนักท่องเที่ยวใช้และออกไป
แล้วก็ควรมีการเก็บมาซักและจัดเตรียมไว้
ใหม่ให้เรียบร้อย
 ห้องพักนั้นก็ควรจะมีไฟฟ้า ตะเกียง แสง
สว่างให้เหมาะสม
 ห้องน้าที่จัดให้นักท่องเที่ยวนั้นก็สามารถเป็น
ห้องน้าที่เจ้าของบ้านใช้ร่วมด้วยได้ แต่เรื่อง
ที่สาคัญคือต้องรักษาความสะอาด มีการทา
ความสะอาดห้องน้าเป็นประจา ไม่ให้เกิด
การลื่น
การจัดการโฮมสเตย์เบื้องต้น
 ควรมีการจัดเตรียมเครื่องใช้สาหรับผู้มา
พัก เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าขาวม้า อุปกรณ์ใน
ห้องน้าเล็กๆน้อย สบู่ ยาสีฟัน
 หากมีนักท่องเที่ยวเข้ามาพักในหมู่บ้านก็
ควรมีการแจ้งให้กับชุมชนได้ทราบเพื่อจะ
ได้มีการช่วยกันดูแลความปลอดภัย จัดเวร
ยาม เฝ้าระวัง
 ควรมีเบอร์โทรศัพท์และที่อยู่ติดต่อ
เจ้าหน้าที่ในกรณีฉุกเฉิน
ระเบียบสาหรับนักท่องเที่ยว
 ควรแจ้งวัฒนธรรม วิถีชีวิต กฏระเบียบของหมู่บ้านให้นักท่องเที่ยวทราบ
 กาหนดข้อระเบียบของการท่องเที่ยว การแต่งกาย การนอน กาหนดเวลา
การเข้า-ออกบ้านพัก เพื่อไม่ให้กระทบกับความเชื่อดั้งเดิมของชุมชน
 ควรจะมีจุดศูนย์กลางของชุมชน เช่น วัด โรงเรียน ใช้เป็นที่ลงทะเบียนเข้า
พัก
 ก่อนที่นักท่องเที่ยวจะเข้าบ้านพัก ให้การต้อนรับนักท่องเที่ยวด้วย
วัฒนธรรมท้องถิ่นให้เกิดความประทับใจ เช่น บายศรีสู่ขวัญ พวงมาลัย
ดอกมะลิ
การจัดการระบบการจองที่พัก
 ควรจะมีการจัดลาดับบ้านที่พักที่ให้บริการในชุมชนที่มีโฮมสเตย์
อยู่ เพื่อจัดสรรบ้านแต่ละหลังให้นักท่องเที่ยวได้พัก
 ขั้นตอนการจองอาจจะต้องมีการเก็บค่ามัดจาไว้ล่วงหน้าขึ้นอยู่
กับการบริหารจัดการในชุมชนนั้นๆ
 ควรจะมีการบันทึกข้อมูลสาหรับการจอง และการยกเว้นการจอง
ที่พัก จานวนผู้เข้าพัก จานวนเงินทั้งหมด ค่าใช้จ่ายต่างๆ
 นักท่องเที่ยวโทรเข้ามาจองควรจะแจ้งให้ทราบถึงค่าธรรมเนียม
และ ค่าบริการต่างๆ
การจัดการระบบการจองที่พัก
 มีการลงทะเบียนเพื่อขอ
ข้อมูลนักท่องเที่ยวเพื่อการ
เตรียมการ และเพื่อแจ้ง
นักท่องเที่ยวเกี่ยวกับชุมชน
อาหาร
 ควรจะมีการวางแผนจัดเตรียม
อาหาร คานึงถึงเรื่องเชื้อชาติและ
การนับถือศาสนาของนักท่องเที่ยว
เช่น อิสลามไม่ทานหมู
 ในหมู่บ้านอาจจะมีผักหรืออาหาร
พื้นบ้านวัตถุดิบที่เป็นเอกลักษณ์
ของชุมชนที่ออกตามฤดูกาล
 จะต้องมีการถามความชอบกับเรื่อง
รสชาติ เช่น การทานเผ็ด รสจัด
อาหาร
 ภาชนะในการปรุงอาหารจะต้องมีความ
สะอาดและปราศจากกลิ่น ไม่มีกลิ่นอับ
กลิ่นเหม็น กลิ่นคาว
 มีการแยกภาชนะในการล้าง เช่น แก้วน้า
จาน ชาม เพราะจะทาให้กลิ่นไม่ติดกัน
 ควรจะรับประทานพร้อมกันเพื่อเป็นการ
รับรู้วัฒนธรรมการกินอาหารร่วมกัน
 อาจจะมีการเชิญให้นักท่องเที่ยวมาร่วม
ในการจัดโต๊ะอาหารเพื่อให้เกิดความ
ภูมิใจ
คุณสมบัติเบื้องต้นของโฮมสเตย์
 เจ้าของบ้านและสมาชิกในครอบครัว
จะต้องถือว่าการทาโฮมสเตย์เป็น
เพียงรายได้เสริม นอกเหนือจาก
รายได้อาชีพหลักของครอบครัว
 พื้นที่ภายในบ้านจะต้องเป็นพื้นที่ใช้
สอยที่เหลือจากการไม่ได้ใช้
ประโยชน์และดัดแปลงมาใช้เป็นที่
พัก หรือเป็นที่ว่างที่มีห้องพักว่าง
คุณสมบัติเบื้องต้นของโฮมสเตย์
 นักท่องเที่ยวต้องเข้าพักหรือพักแรม
ในบ้านเดียวกับเจ้าของบ้านโดยอาศัย
มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วัฒนธรรมและวิถีชีวิตร่วมกัน
 สมาชิกในครอบครัวมีความยินดีและ
เต็มใจในการให้นักท่องเที่ยวเข้ามา
พักแรมในบ้าน พร้อมทั้งถ่ายทอด
วัฒนธรรมอันดีงามให้แก่
นักท่องเที่ยวได้
คุณสมบัติเบื้องต้นของโฮมสเตย์
 เจ้าของบ้านและสมาชิกในครอบครัว
จะต้องให้ความร่วมมือกับชุมชนใน
การจัดการโฮมสเตย์ โดยคานึงถึงคนที่
อยู่ในชุมชนโดยรอบในการทากิจกรรม
ร่วมกัน
 ควรจะเป็นสมาชิกกลุ่มชมรมหรือ
สหกรณ์ร่วมกับการทาโฮมสเตย์ของ
ชุมชนนั้นๆ
คุณสมบัติเบื้องต้นของโฮมสเตย์
 จานวนหลังคาเรือนที่เป็นสมาชิก
ของกลุ่มโฮมสเตย์จะต้องมีอย่าง
น้อย 3 หลังขึ้นไปถึงจะสามารถ
เรียกว่า โฮมสเตย์ จริงๆได้
 บ้านที่ขอรับการประเมินจะต้องมี
เลขที่บ้านโดยออกจากศูนย์
ราชการ และบัตรประชาชนเจ้าของ
บ้านด้วย
คุณสมบัติเบื้องต้นของโฮมสเตย์
 ที่ตั้งของชุมชนหรือกลุ่มโฮมสเตย์
จะต้องไม่อยู่ในเขตพื้นที่อนุรักษ์
ไม่เป็นการไปบุกรุกเขตพื้นที่
อุทยานและเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า
 การจัดการโฮมสเตย์หากต้องการ
การประเมินจะต้องทาการประเมิน
อย่างน้อยไม่ต่ากว่า 6 เดือน
มาตรฐานโฮมสเตย์: ที่พัก
 ลักษณะบ้านพักที่เป็นสัดส่วน เป็นห้องนอน หรือเป็นพื้นที่ที่เจ้าของบ้าน
แบ่งปันให้นักท่องเที่ยวได้พัก ไม่สามารถใช้บ้านที่แยกมาอีกหลังเพื่อให้
นักท่องเที่ยวเข้าพักได้
 ที่นอนที่สะอาดและสบาย หากเป็นนักท่องเที่ยวเข้ามาพักกลุ่มใหม่ก็ควร
มีการเปลี่ยนเครื่องนอนตามความเหมาะสมให้ มีราวตากผ้าหรือที่เก็บ
เสื้อผ้าอย่างเป็นระเบียบ
 ห้องอาบน้าสะอาด ไม่ลื่น มีอุปกรณ์การอาบน้าอย่างเหมาะสม น้าที่ใช้
จะต้องเป็นน้าสะอาด มีถังขยะ
 มุมพักผ่อนที่สงบ สบาย ภายในบ้านหรือบริเวณโดยรอบ
มาตรฐานโฮมสเตย์: อาหาร
 วัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบ
อาหาร ควรมีปริมาณที่เหมาะสม
 ปรุงอาหารอย่างถูกสุขอนามัย
 ใช้ผักพื้นบ้านหรือวัตถุดิบที่เป็น
เอกลักษณ์ในท้องถิ่น
 ใช้น้าที่สะอาด ควรผ่าน
กระบวนการทาความสะอาดมา
ก่อน ภาชนะเก็บน้าที่สะอาด ไม่
มีตะกอน และมีฝาปิด
มาตรฐานโฮมสเตย์: อาหาร
 ภาชนะที่บรรจุอาหารก็ควรจะรักษาความ
สะอาด ไม่มีคราบ และกลิ่นคาว
 ห้องครัวอาจจะอยู่ในบ้าน หรือแยกจาก
ตัวบ้านก็ได้ตามวัฒนธรรมชนบทต่างๆ
 อุปกรณ์การเก็บเครื่องปรุงวัตถุดิบต่างๆ
ควรจะสะอาดสามารถป้องกันเชื้อโรคและ
สิ่งสกปรก
 มีการกาจัดขยะที่ถูกสุขอนามัย
มาตรฐานโฮมสเตย์: ความปลอดภัย
 การตรวจตรา เวรยาม
 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น มียา
สามัญประจาบ้านอยู่ในสภาพใช้
งานได้
 เจ้าของบ้านควรจะซักถามโรค
ประจาตัวของคนที่จะเข้ามาพัก
 แจ้งให้ผู้ใหญ่บ้านได้รับทราบว่า
มีนักท่องเที่ยวมาเข้าพัก
มาตรฐานโฮมสเตย์: อัธยาศัยไมตรี
 เมื่อมีนักท่องเที่ยวเข้ามาพัก ทุกครัวเรือน
จะต้องรู้จักการเรียนรู้วิถีชีวิตของเจ้าของ
บ้านผ่านกิจกรรมต่างๆ
 มีแขกมาก็ต้องต้อนรับ มอบดอกไม้
พวงมาลัย มีคนในชุมชนมาต้อนรับ
 มีการสร้างกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ใน
วิถีของชุมชน เจ้าของบ้าน มีการ
แลกเปลี่ยนข้อมูล เช่น ดูไร่นา เก็บใบชา
ทอผ้า ตกปลา ปลูกหม่อน เลี้ยงไหม
มาตรฐานโฮมสเตย์: รายการนาเที่ยว
 ในชุมชนมีกิจกรรมที่สามารถให้
นักท่องเที่ยวสามารถท่องเที่ยวได้
 มีรายการนาเที่ยวที่ชัดเจน ซึ่งผ่านการ
ยอมรับจากชุมชน
 มีการวางแผนการท่องเที่ยวร่วมกับ
ชุมชนโฮมสเตย์เพื่อกระจายรายได้
 มีโปรแกรมการท่องเที่ยวที่เผยแพร่สู่
สาธารณะและนักท่องเที่ยวอย่างชัดเจน
มาตรฐานโฮมสเตย์: รายการนาเที่ยว
 นากิจกรรมมานาเสนอให้นักท่องเที่ยวตาม
รูปแบบวิถีชีวิตของชุมชนนั้นๆ
 นาเสนอภูมิปัญญาพื้นบ้านที่มีลักษณะโดด
เด่น
 มีกิจกรรมบันเทิง เช่น ดนตรี เต้นรา
พื้นบ้านในยามว่างหรือตอนเย็น
 มีการท่องเที่ยวที่หลากหลายแตกต่างกันไป
ตามวัฒนธรรมเพื่อให้นักท่องเที่ยวเลือกได้
มาตรฐานโฮมสเตย์: รายการนาเที่ยว
 เจ้าของบ้านควรจะเป็นมัคคุเทศก์
ท้องถิ่น หรือ สามารถประสานงาน
กับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นได้
 ควรจะมีการจัดทาสื่อ โบรชัวร์ เช่น
รูปถ่าย ภาพวาด
มาตรฐานโฮมสเตย์:ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม
 แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนหรือแหล่ง
ใกล้เคียง ควรจะเป็นแหล่งที่
สามารถดึงดูดความสนใจ
นักท่องเที่ยว
 ชุมชนควรจะมีกฎกติกาการใช้
ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ชัดเจน
 มีกิจกรรมที่สัมพันธ์กับการอนุรักษ์
ฟื้ นฟู เช่น การปลูกป่า ค่ายอนุรักษ์
เยาวชน
มาตรฐานโฮมสเตย์:ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
 ควรจะมีมาตรฐาน แผนงาน และ
แนวทางในการปฏิบัติในการจัดการ
แยกขยะอย่างถูกวิธี
 มีแผนงานที่จะช่วยลดผลกระทบของ
ภาวะโลกร้อน หรือ Green
Tourism
 มีกิจกรรมในการลดผลกระทบจาก
การท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานโฮมสเตย์: ด้านวัฒนธรรม
 เน้นการดารงรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรม ประเพณี
ท้องถิ่น
 มีการรวบรวมองค์ความรู้และวัฒนธรรม
ท้องถิ่นเพื่อนาสู่การเผยแพร่ที่ถูกต้องแก่
นักท่องเที่ยว
 ชุมชนและโรงเรียนควรจะมีแผนการฟื้ นฟู
อนุรักษ์ และถ่ายทอดศิลปะ การละเล่น
พื้นบ้าน
 ผู้แสดงทางวัฒนธรรมและผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้อง
ส่วนร่วมในการวางแผน เนื้อหา รูปแบบ และ
การนาเสนอ
มาตรฐานโฮมสเตย์: ด้านวัฒนธรรม
 การรักษาวิถีชุมชน ไม่ควร
เปลี่ยนการจัดทาใหม่ หรือ
สร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนอง
ความต้องการของ
นักท่องเที่ยว
มาตรฐานโฮมสเตย์:
การสร้างคุณค่าและมูลค่าของผลิตภัณฑ์
 การผลิตของจากชุมชนเพื่อ
จาหน่ายเป็นของที่ระลึกให้แก่
นักท่องเที่ยว
 การนาความรู้ ภูมิปัญญาใน
ท้องถิ่น มาจัดกิจกรรม
เพื่อให้คนในท้องถิ่น
ภาคภูมิใจ
มาตรฐานโฮมสเตย์:
การสร้างคุณค่าและมูลค่าของผลิตภัณฑ์
 การบริหารจัดการต้องเป็นการรวมกลุ่ม
ดาเนินการร่วมกันของชุมชน
 สมาชิกกลุ่มของชุมชนต้องมีความรู้ ความ
เข้าใจในแนวคิด หลักการ วัตถุประสงค์ของ
โฮมสเตย์
 การรวมกลุ่มกันเป็นสมาชิกสหกรณ์โฮมสเตย์
เพื่อตอบแทนสมาชิก
 มีการเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารงาน
มาตรฐานโฮมสเตย์:
การสร้างคุณค่าและมูลค่าของผลิตภัณฑ์
 มีกฎกติกาการทางานของคณะกรรมการ
 มีการจัดสรรเงินรายได้ของส่วนกลางเพื่อ
เข้าสู่ชุมชน
 แนวปฏิบัติของกลุ่ม เช่น ต้อนรับ ให้
ข้อมูล จัดลาดับกิจกรรม
 มีแนวปฏิบัติในการจองห้องพักล่วงหน้า
 จะต้องมีหลักเกณฑ์ การเปิดรับสมัคร
สมาชิก กาหนดขีดความสามารถในการ
รองรับนักท่องเที่ยว
มาตรฐานโฮมสเตย์:
การสร้างคุณค่าและมูลค่าของผลิตภัณฑ์
 กาหนดอัตราค่าบริการควรจะเป็นที่
ยอมรับของกลุ่ม มีการชาระเงินที่
กองกลางที่เดียว
 ควรมีการลงทะเบียนของนักท่องเที่ยวเพื่อ
เป็นข้อมูลในการเตรียมการและให้บริการ
แก่นักท่องเที่ยว
 ระบุค่าธรรมเนียมอย่างชัดเจนให้เป็น
ธรรมในแผ่นพับประชาสัมพันธ์
มาตรฐานโฮมสเตย์:ประชาสัมพันธ์
 เอกสาร สิ่งพิมพ์ คู่มือ แผ่นพับ
แผนที่การเดินทาง โปรแกรมการ
ท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว
ช่องทางการติดต่ออย่างละเอียด
 เอกสารสิ่งพิมพ์เหล่านี้อาจจะได้รับ
การสนับสนุนจากอบต.หมู่บ้าน
หรือ NGO รวมทั้งสถาบันศึกษา
มาตรฐานโฮมสเตย์:ประชาสัมพันธ์
 การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ควรจะมีเป้าหมายการเผยแพร่
กับกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน
 การประชาสัมพันธ์ผ่าน Website
ก็เป็นเรื่องที่สาคัญ เช่น การโฆษณา
ผ่านหน้า Page ของ
Facebook
ปั จจัยความสาเร็จของโฮมสเตย์
 การมีส่วนร่วม
 การกระจายบทบาทของการทางาน
 การกระจายผลประโยชน์และรายได้
 การทางานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้
 มาตรการในการป้องกันและควบคุมผลกระทบทางสังคม
 E-Marketing หรือ การตลาดออนไลน์ ก็ถือว่าเป็น
เครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้ทางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

More Related Content

What's hot

บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มBenjamas Kamma
 
ความรู้เกี่ยวกับมื้ออาหารและการจัดเลี้ยง
ความรู้เกี่ยวกับมื้ออาหารและการจัดเลี้ยงความรู้เกี่ยวกับมื้ออาหารและการจัดเลี้ยง
ความรู้เกี่ยวกับมื้ออาหารและการจัดเลี้ยงBenjamas Kamma
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนDr.Pirun Chinachot
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.chickyshare
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมNurat Puankhamma
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่มMai Nuntanuch
 

What's hot (20)

บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
 
ความรู้เกี่ยวกับมื้ออาหารและการจัดเลี้ยง
ความรู้เกี่ยวกับมื้ออาหารและการจัดเลี้ยงความรู้เกี่ยวกับมื้ออาหารและการจัดเลี้ยง
ความรู้เกี่ยวกับมื้ออาหารและการจัดเลี้ยง
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืน
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
Meetings
MeetingsMeetings
Meetings
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
Incentive
IncentiveIncentive
Incentive
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 

More from Mint NutniCha

8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่นMint NutniCha
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme Mint NutniCha
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทยMint NutniCha
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้าMint NutniCha
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการMint NutniCha
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 

More from Mint NutniCha (20)

Draft programme
Draft programmeDraft programme
Draft programme
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
 

6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ