SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
254
เรื่อง Acute glomerulonephritis
ชั้นเรียนที่สอน นศพ.ปที่ 4
อาจารยผูสอน พญ.กาญจนา ตั้งนรารัชชกิจ
จุดประสงค 1. อธิบายกลไกการเกิด glomerulonephritis ได
2. จําแนกลักษณะทางคลีนิค และลักษณะทางพยาธิวิทยาของ acute
glomerulonephritis
3. อธิบายการเกิด การวินิจฉัย หลักการรักษา และการพยากรณโรค acute
poststreptococcal glomerulonephritis ได
เนื้อหาวิชา 1. Pathogenesis of glomerular disease, especially of
immune complex
glomerulonephritis
2. Clinical and pathological classification of glomerular
disease
3. Acute poststreptococcal glomerulonephritis
- epidemiology – pathogenesis and physiologic
change
- clinical manifestation – investigation
- treatment – prevention – prognosis
********************
Acute Glomerulonephritis
Acute glomerulonephritis หมายถึงโรคไตอักเสบเฉียบพลันที่เปนผลมาจากกลไกทางอิมมูน
เปนกลุมอาการที่ประกอบดวย อาการบวม, ความดันโลหิตสูง, ปสสาวะนอยลง (oliguria) มี hematuria และ/
หรือ proteinuria สวนใหญเกิดตามหลังการติดเชื้อ แตก็อาจเกิดไดจากสาเหตุอื่นๆ เชน
membranoproliferative glomerulonephritis, lupus nephritis, Schoenlein-Henoch syndrome, systemic
vasculitis
Acute postinfectious glomerulonephritis (APIGN) หมายถึง ไตอักเสบเฉียบพลันที่เกิด
ตามหลังการติดเชื้อตางๆ เชน แบคทีเรีย, ไวรัส, parasites, rickettsia และเชื้อรา สาเหตุที่พบบอยที่สุดในเด็ก
คือตามหลังการติดเชื้อ group A, β hemolytic streptococcus
255
ตารางที่ 1. สาเหตุของ postinfectious glomerulonephritis
Bacterial infection
Group A, β-hemolytic streptococcus
Streptococcus viridans
Staphylococcus aureus
Staphylococcus albus
Treponema pallidum
Mycobacterium leprae
Streptococcus pneumoniae
Klebsiella pneumoniae
Salmonella typhosa
Corynebacterium bovis
Proponibacterium acnes
Brucella suis
Diphtheroids
Leptospira
Actinobacillus
Viral infection
Hepatitis B
Cytomegalovirus
Varicella-zoster
Epstein-Barr
Enteric cytopathogenic human orphan (ECHO)
Coxsackie
Rubella
Mumps
Guillain-Barre
Onconavirus
Rickettsial infection
Scrub typhus
Fungal infection
Coccidiodes immitus
Parasitic infestration
Plasmodium malariae and falciparum
Toxoplasma gondii
Schistosma mansoni
Filaria
Trypanosomes
Trichinosis
256
Pathogenesis of Immune Complex Glomerulonephritis
ปจจุบันพบวามีกลไกหลายอยางในการเกิดของ immune complex
glomerulonephritis ไดแก
1. antibody to glomerular antigens
กลไกนี้เกิดจากการมี antibody ตอ glomerular antigen ในกระแสเลือด เชน
anti-glomerular basement membrance ซึ่งไปจับกับ glomerular basement
membrane (GBM) ทําใหตรวจพบการเกาะของ Ig G เปนแบบ linear จากการยอม
immunofluorescence (IF) ทําใหเกิดโรค anti-GBM nephritis หรือมี antibody ตอ
glomerular antigen อื่นๆ ก็อาจตรวจพบการเกาะของ immune complex แบบ granular
pattern ตามตําแหนงตางๆ ใน glomeruli ได ดังนั้นการตรวจพบ immune complex ทั้งแบบ
ชนิด linear และ granular ใน glomeruli ก็อาจเกิดไดจากการมี antibody ไปเกาะจับกับ
glomerular antigen เองได
2. antibody to non-glomerular antigen
เกิดจากการมี antigen ที่ไมใชสวนประกอบของ glomeruli ในกระแสเลือด ไปเกาะติดที่
ตําแหนงตางๆ ของ glomeruli แลว antibody ไปจับทีหลัง เกิดเปน immune complex in situ
3. circulating immune complex trapping
กลไกนี้เกิดขึ้นโดยมีการเกิด immune complex ในกระแสเลือดโดยเกิดจาก antigen จาก
ภายนอก แลวไปเกาะติดที่ glomeruli โดยกลไก glomerular trapping เมื่อเกิด immune complex ภายใน
glomeruli จะมีการกระตุน complement pathway ทําใหเกิดการอักเสบของglomeruli และอาการของ nephritis
มากนอยขึ้นกับตําแหนงของ immune complex ใน glomeruli
Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis (APSGN)
Etiology
เกิดตามหลังการติดเชื้อ group A β hemolytic streptococcus ชนิดที่เปน Nephritiogenic
strain การติดเชื้อภายในลําคอมักเปน M type 12 อาจพบ M type 1, 3, 4, 6, 25 และ 49 การติดเชื้อที่ผิวหนัง
มักเปน M type 49 M type อื่นที่พบไดแก 2, 53, 55, 56, 57 และ 60
ระบาดวิทยา
ประเทศไทยพบ APSGN ไดบอย ที่รพ.รามาธิบดี คนไขสวนใหญอายุ 5-9 ป และพบบอย
ชวงหนาฝนเดือนมิถุนายน - สิงหาคม กับชวงเดือนธันวาคม - กุมภาพันธ (ในตางประเทศหนาหนาวมักจะเปน
จาก pharyngitis หนารอนเปนจาก pyoderma)
อุบัติการ
อัตราการเกิดโรค APSGN ที่แนนอนยังไมทราบ เพราะสวนใหญไมมีอาการ หรือตรวจ
พบเฉพาะ microscopic hematuria (asymptomatic หรือ subclinical) จึงไมไดพบแพทย
ยกเวนผูปวยที่มีอาการมาก เชน บวม, ความดันโลหิตสูงจึงมาพบแพทย ฉะนั้นคนไขที่มาพบแพทยจะมี
257
ประมาณ 1
/3
ของที่เปน APSGN เทานั้น พบวาปจจัยเกี่ยวกับ host factor และ immunologia
virulence ของเชื้อเปนตัวแปรสําคัญที่ทําใหเกิดโรค
พยาธิกําเนิดและพยาธิวิทยา
APSGN เปนกลุมของ immune complex nephritis หลังการติดเชื้อ
streptococci แลวจะมี latent period อยูประมาณ 1-3 สัปดาห โดยมีการเกิด immune
complex ในกระแสเลือด ซึ่งจะไปจับกับ glomerular basement membrane หรือเปน in
situ immune complex ก็ได เกิด inflammatory response ทําให glomeruli บวมและมี
cell เพิ่มขึ้นอยางมาก inflammatory response มีการใช complement ทั้งทาง classical
และ alternative pathway โดยพบวามีการกระตุนทาง alternative pathway มากกวา โดยมี
หลักฐานสนับสนุนจากการตรวจพบระดับ C3 ที่ลดลงอยางมากแต early complement ไดแก C1q,
C2 และ C4 มีระดับปกติหรือต่ําเพียงเล็กนอย
ลักษณะพยาธิวิทยาจะเปนแบบ diffuse endocapillary proliferative
glomerulonephritis โดยพบวา glomeruli มีขนาดใหญขึ้น มี cell เพิ่มมากเปน mesangial
cell proliferation, PMN infiltration, endothelial cell swelling มีการเพิ่มของ
mesangial metrix เมื่อยอม immunofluorescense จะพบมีการติดของ Ig G, C3 และ
properdin เปนลักษณะแบบ granular deposit ที่ capillary wall และ mesangium การ
ตรวจดวย electron microscope จะพบ hump electron dense deposit ที่บริเวณ
subepithelium ดวย ภายหลัง 6 สัปดาห การเปลี่ยนแปลงสวนใหญจะหายไป การเปลี่ยนแปลงใน
mesangium จะกลับเปนปกติไดหลังสุด
ลักษณะอาการทางคลีนิค
อาการสําคัญมีดังนี้
1. Edema อาการบวมจะเกิดขึ้นในชวงเวลาไมกี่วัน มักบวมไมมาก บวมเปนแบบ non
pitting edema บริเวณที่หนังตาและขา เกิดจากการคั่งของน้ําและเกลือในรางกาย บางรายอาจบวมมาก
แบบ nephrotic syndrome โดยปกติจะบวมประมาณ 2-3 วัน แตก็อาจจะอยูไดนานถึง 2 สัปดาห
2. Gross hematuria พบบอยไดรอยละ 30-70 ของผูปวยที่รับไวในโรงพยาบาล
โดยปสสาวะจะเปนสีโคลา, สีชาหรือสีน้ําลางเนื้อ สวนใหญอาการ gross hematuria จะหายไปภายใน
2-3 วัน บางรายอาจอยูไดนานถึง 2-3 สัปดาห สวน microscopic hematuria พบในเด็กเกือบทุก
คนที่เปน APSGN
3. Hypertension สวนใหญจะเปนแบบ mild ถึง moderate degree แตบางรายอาจมี
severe hypertension จนอาจเกิด hypertensive encephalopathy ไดโดยมีอาการปวดศรีษะ ตาพรามัว
คลื่นไส อาเจียน ซึมลง ชักและหมดสติ สาเหตุของความดันโลหิตสูงที่แทจริงยังไมทราบ เชื่อวาเกิดจากปจจัย
หลายอยาง สวนหนึ่งเกิดจากปริมาณของน้ําและเกลือที่เพิ่มขึ้นในรางกาย บางครั้งความดันโลหิตสูงอาจเกิด
เปน 2 ระยะ (biphasic character) โดยระยะแรกจะอยูใน 3-5 วันแรก อาการมักจะรุนแรง หลังจากนั้นความดัน
จะลดลงมาในชวงสั้นๆ 2-5 วันแลวจะมีความโลหิตสูงขึ้นมาอีก แตมักไมรุนแรงอยูประมาณ 1-2 สัปดาห
258
4. อาการอื่นๆ ที่พบไดแก ภาวะ circulatory congestion มีอาการหายใจหอบ,
dyspnea, orthopnea, pumonary edema และ congestive heart failure อาการ
ทั้งหมดเกิดจากการมีน้ําและเกลือคั่งมากในรางกาย ภาวะ oliguria พบไดบอย เกิดจากการที่ GFR
ลดลงอยางทันทีทันใด สวน anuria พบไดนอย บางรายมี acute renal failure และบางรายเขาไดกับ
กลุมที่เรียกวา rapidly progressive glomerulonephritis (cresentic
glomerulonephritis) อาจพบไขต่ํา ๆ คลื่นไสอาเจียน abdominal pain และพบอาการซีดได
อาการดังกลาวเกิดหลังการติดเชื้อ streptococcus โดยมี latent period 7-14 วัน
ในรายที่เกิดจาก pharyngitis และ 14-21 วัน ในรายที่เกิดจาก impetigo
การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา ดังนี้
Glomerular injury
GFR Hematuria/proteinuria
Renal insufficiency Salt/H2O excretion Oliguria
Azotemia
Retention of ECV Edema
Hypertension Pulmonary congestion
Cardiac failure
Hypertensive crisis Pulmonary edema
ตารางที่ 2. สรุปลักษณะทางคลีนิคของ APSGN
Common Variable
hematuria encephalopathy :
edema confuse
hypertension headache
oliguria convulsion
Frequent somnolence
circulatory congestion Systemic symptoms
pulmonary edema low grade fever
dyspnea nausea
anemia vomiting
abdominal pain
epistaxis
no symptoms
259
Uncommon
anuria and acute renal
failure From : Jordan SC, Lemire JM. Acute
glomerulonephritis diagnosis and
treatment. Pediatr Clin North Am 1982;29-863
การตรวจทางหองปฏิบัติการ
การตรวจทางหองปฏิบัติการที่จําเปน มีดังนี้
1. Urinalysis จะพบมี hematuria เกือบทุกราย และพบ WBC และ
granular cast ไดเสมอ ถาพบ RBC cast จะชวยในการวินิจฉัยไดมาก ตรวจพบ proteinuria ได
เล็กนอยถึง moderate เปนสวนใหญมีนอยรายที่พบ heavy proteinuria specific gravity
มักจะมีคาสูง pH ของปสสาวะต่ําเนื่องจาก hemoglobin ในปสสาวะเปลี่ยนเปนกรดฮีมาติน
2. Blood chemistry คา BUN และ creatinine ในเลือดสูงขึ้นเล็กนอยเพราะมี
renal insufficiency แต BUN จะสูงกวามักไมเปนสัดสวนกับ creatinine hyponatremia
พบไดจาก dilution effect hyperkalemia อาจพบได ถาพบรวมกับ hyperchloremia และ
acidosis ควรคิดถึง renal tubular acidosis type IV ไวดวย
3. Serology พบ antibody titer ตอ streptococcal products สูงขึ้น เชน
antistreptolysin O (ASO) antihyaluronidase (AHase),
antideoxyribonuclease - B (ADNase-B), antinicotyladenine โดย ASO จะสูงใน
พวกที่มี pharyngeal infection แต ADNase-B และ AHase จะสูงขึ้นไดมากกวารอยละ 90
ใน skin infection โดย ASO titer จะเริ่มสูงขึ้นหลังเกิดจากติดเชื้อ streptococcus 10-14 วัน
และถึงระดับสูงสุดเมื่อ 3 ถึง 5 สัปดาห และจะคอยๆ ลดลงภายใน 1 ถึง 6 เดือน การไดรับยา penicillin
รักษา streptococcal infection ตั้งแตระยะแรก จะทําใหระดับ ASO titer ไมสูงได
ปจจุบันเชื่อวา anti DNase B titer เนนตัวบงชี้ที่ไวที่สุดในการยืนยันวามีการติด
เชื้อ streptococcus นํามากอน ระดับ antibody ที่สูงขึ้นมากนอยไมมีความสัมพันธกับความรุนแรง
ของโรคหรือการพยากรณโรค
4. Complement level พบวา C3, C4 และ total hemolytic
complement จะต่ําในระยะแรกเกือบทุกรายเพราะมีการใช complement ทั้งทาง classial และ
alternative pathway ไมพบความสัมพันธระหวางระดับ C3 ที่ลดลงกับความรุนแรงของโรค หรือกับ
ตําแหนงที่ติดเชื้อหรือกับการพยากรณโรคระดับ complement ควรกลับเปนปกติภายใน 6 สัปดาห
5. Chest film พบวามีหัวใจโต และมี pulmonary congestion ถามีน้ําและ
เกลือคั่งมากอาจพบ ลักษณะ CXR แบบ pulmonary edema ได
6. Bacteriological work up การเพาะเชื้อจากคอและผิวหนังเมื่อคนไขมีอาการ
APSGN แลวมักไมขึ้นและแมวาเพาะขึ้นเชื้อ β hemolytic streptococcus group A แตเรายัง
ไมสามารถตรวจสอบวาเปน nephritogenic strain หรือไม
การวินิจฉัยโรค
ควรมี criteria ดังนี้
1. Evidence ของ nephritis ไดแก บวม, hypertension, hematuria
with or without proteinuria
260
2. Evidence ของ immunological mechanism โดยมี ระดับ C3 ต่ําใน
ระยะ acute phase
3. Evidence ของ recent streptococcal infection คือมี ASO และ/หรือ
ASTZ (antistreptozymetiter) ที่สูงหรือมี rising titer
การวินิจฉัยแยกโรค
1. Acute exacerbation of chronic glomerulonephritis
2. Schonlein - Henoch nephritis
3. Idiopathic hematuria
4. Familial nephritis (Alport syndrome)
5. SLE
6. Nephrotic syndrome
7. Rapidly progressive glomerulonephritis (RPGN)
261
ขอบงชี้ในการทํา kidney biopsy ในผูปวย APSGN (ตารางที่ 3)
Atypical presentaion
Etiology:
Absence of infection prior to onset
Onset of renal symptoms coincident with infection
Absence of serologic evidence of streptococcal etiology
(using appropriate tests)
Absence of depression of serum complement or C3
Early clinical course:
Anuria
Presence of nephrotic syndrome
Azotemia out of proportion to other clinical findings
Miscellaneous factors:
age less than 2 years and over 12 years
prior history of renal disease
abnormal growth data
family history of nephritis
significant systemic symptomatology
Delay in rate of "resolution"
Early:
Oliguria and/or azotemia presisting past 2 weeks
Hypertension presisting past 3 weeks
Gross hematuria presisting past 3 weeks
C3 continues low beyond 6 weeks
Late:
Persistent proteinuria and hematuria past 6 months
Persistent proteinuria past 6 months
Persistent hematuria past 12 months
การดําเนินโรค
APSGN เปนโรคที่มีการพยากรณโรคดีมากในเด็ก ผูปวยสวนใหญมีอาการดีขึ้นใน 1-2
สัปดาห โดยยุบบวม ปสสาวะออกมากขึ้น ความดันเลือดลดลง gross hematuria จะหายไปในเวลา 3-4
วัน มีนอยรายที่เปนนานเกิน 2-3 สัปดาห ระดับ C3 จะกลับเปนปกติภายใน 6 สัปดาห การตรวจปสสาวะจะ
พบ proteinuria ไดนานถึง 6 เดือน และ microscopic hematuria ไดนาน 1-2 ป เมื่อติดตาม
ผูปวยระยะยาวมักไมพบ hypertension หรือ รองรอยของไตวายเรื้อรัง ยกเวนผูปวยที่มีอาการรุนแรง
แบบ RPGN (rapidly progressive glomerulonephritis)
ปจจัยที่มีผลตอการพยากรณโรค ไดแก อายุผูปวย เด็กเล็กมีพยากรณโรคดีกวา ความรุนแรง
ของโรคตอการทํางานของไต และการเปลี่ยนแปลงทางจุลพยาธิวิทยา
การรักษา
262
เนื่องจากไมมียาใดที่สามารถเปลี่ยนแปลงการดําเนินโรคของ APSGN ดังนั้นการรักษาจึง
มุงเนนที่จะปองกัน และลดความรุนแรงของอาการแทรกซอนที่เกิดขึ้น
1. Bed rest
ยังไมมีหลักฐานวาการออกกําลังกายทําให GFR ลดลง หรือทําใหโรคหายชาขึ้น แตอาจ
มี proteinuria และ hematuria เพิ่มได ดังนั้นจึงไมแนะนําให absolute bed rest ยกเวนรายที่อาการรุนแรง
เชน มี hypertension หรือ cardiac failure
2. Fluid overload
การมี fluid overload ทําใหเกิด congestive heart failure แกไขโดยให potent diuretic
ไดแกพวก loop diuretic เชน furosemide 1-2 mg/kg กินหรือฉีดเขาหลอดเลือดดํา อาจซ้ําไดทุก 4-6 ชั่วโมง
ถามีอาการ pulmonary edema ใหรักษาโดยการให diuretic, oxygen, sedation, phlebotomy อาจตองชวย
การหายใจโดยใช positive end expiratory pressure
กรณีปสสาวะออกนอย ควรใหน้ํานอยกวา insensible loss (400
ml/m2
/day) รวมกับ urine output เครื่องบงชี้วาปสสาวะออกนอยที่ดีคือ การชั่งน้ําหนักทุกวัน และ
บันทึกปริมาตรของน้ําที่ไดรับเขาไปและที่ถายออกมาในแตละวัน
3. Hypertension
เกิดจากมี fluid และ salt retention การให diuretic จะชวยลดความดันโลหิตลงได ถาใช
diuretic อยางเดียวความดันโลหิตไมลง อาจให antihypertensive drug ตัวอื่นชวย ไดแก hydralazine รายที่
ความดันสูงไมมาก อาจใหยากิน ถาความดันโลหิตสูงมาก ควรให hydralazine ขนาด 0.15-0.3 mg/kg ใหทาง
หลอดเลือดดําหรือเขากลามเนื้อซ้ําไดทุก 6 ชั่วโมง รวมกับ furosemide 1-2 mg/kg
ถาความดันสูงมากและมีอาการทางสมอง (hypertensive encephalopathy)
ควรลดความดันโดยเร็ว ควรใหการรักษาโดยให diazoxide ขนาด 2-5 mg/kg ฉีดเขาหลอดเลือดดํา
ภายใน 15-30 วินาที (เพื่อปองกันไมใหยาจับกับ plasma protein) ความดันโลหิตจะลดลงภายใน 15
วินาที ถาความดันยังสูงอาจซ้ําไดภายในครึ่งชั่วโมง จะไดผลดีมากถาใหรวมกับ furosemide ถาไมมี
diazoxide ใหใช sodium nitroprusside infusion โดยเริ่มจาก 1 µgm/kg/min แลวเพิ่ม
ขนาดใชจนสามารถควบคุมความดันโลหิตได ควบคุมความดันไดก็เปลี่ยนเปนยากิน
4. Electrolyte imbalance
เชน ภาวะ hyponatremia แกโดย fluid restriction ถามีอาการอาจจําเปนตองให 3%
NaCl เขาทางหลอดเลือดดํา สําหรับภาวะ hyperkalemia ใหแกตามระดับความรุนแรงของภาวะดังกลาว
5. Rapidly progressive (cresentic) glomerulonephritis (RPGN)
อาจพบรวมกับ APSGN การรักษาเหมือนกับ RPGN ทั่วๆ ไปคือให pulse
methylprednisolone ขนาด 30 mg/kg ไมเกิน 1 gm ใหทางหลอดเลือดดํา 3 วัน จากนั้นใหตอดวย
prednisolone ชนิดกิน 1-2 mg/kg/day
การปองกัน
การใหยาปฏิชีวนะเมื่อมี streptococcal infection พบวาไมสามารถปองกันการเกิด APSGN
แตอาจลดความรุนแรงของโรคได และเมื่อมีอาการของ APSGN แลว การใหยาปฏิชีวนะ penicillin ชวยกําจัด
เชื้อในตัวผูปวย และลดการแพรกระจายเชื้อนี้ไปยังคนขางเคียงแตไมมีผลตอการดําเนินโรค APSGN การให
long term antibiotic prophylaxis ในผูปวย APSGN ไมมีความจําเปน เนื่องจากมีโอกาสเปนซ้ําอีกนอย
263
เอกสารประกอบ
1. วิวัฒน ตปนียโอฬาร, เฉลิมศรี ตปนียโอฬาร. Glomerular diseases. ใน : วันดี วราวิทย,
ประพุทธ ศิริปุณย, สุรางค เจียมจรรยา, บรรณาธิการ. ตํารากุมารเวชศาสตร. ฉบับเรียบเรียงใหม เลม
1. กรุงเทพฯ : โฮลิสติก พับลิชชิ่ง, 2540:387-420.
2. Acute glomerulonephritis. ใน : อรุณ วงษจิราษฎร, อัจฉรา สัมบุณณานนท, ประไพพิมพ
ธีรคุปต, บรรณาธิการ. ปญหาสารน้ํา อิเล็กโทรไลต และโรคไตในเด็ก. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ,
2540:229-41.
3. Behrmand RE, Vaughan VC III. Nelson’s textbook of pediatrics. 15th
Ed. Philadelphia : WB Saunders Company, 1996:1484-8.
4. Rudolph AM. Pediatrics. 20th
Ed, New York : Appleton-Century-
Crofts, 1996:1351-8.

More Related Content

What's hot

Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia Utai Sukviwatsirikul
 
Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Hummd Mdhum
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injurySiwaporn Khureerung
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 

What's hot (20)

Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5
 
Peptic Ulcer Perforate
Peptic Ulcer PerforatePeptic Ulcer Perforate
Peptic Ulcer Perforate
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Guideline for management of gout
Guideline for management of goutGuideline for management of gout
Guideline for management of gout
 
Hepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinomaHepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinoma
 

Viewers also liked

PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESAphisit Aunbusdumberdor
 
19 Acute Glomerulonephritis
19 Acute Glomerulonephritis19 Acute Glomerulonephritis
19 Acute Glomerulonephritisghalan
 
Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal GlomerulonephritisAcute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal GlomerulonephritisHakimah Suhaimi
 
Glomerulonephritis =)
Glomerulonephritis =)Glomerulonephritis =)
Glomerulonephritis =)kskb
 
23 Urinalysis
23 Urinalysis23 Urinalysis
23 Urinalysiskdiwavvou
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetJiradet Dongroong
 
20100603 acute glomerulonephritis
20100603 acute glomerulonephritis20100603 acute glomerulonephritis
20100603 acute glomerulonephritisSumit Prajapati
 
clinical approach to Rapidly Progressive Glomerulonephritis
clinical approach to Rapidly Progressive Glomerulonephritisclinical approach to Rapidly Progressive Glomerulonephritis
clinical approach to Rapidly Progressive GlomerulonephritisDr santosh km
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
Lupus nephritis by dr saddique 2
Lupus nephritis by dr saddique 2Lupus nephritis by dr saddique 2
Lupus nephritis by dr saddique 2West Medicine Ward
 
A positive aso titre
A positive aso titreA positive aso titre
A positive aso titreImtiaz Baig
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney DiseaseCAPD AngThong
 
5696 6770-1-pb
5696 6770-1-pb5696 6770-1-pb
5696 6770-1-pbNew Srsn
 
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551taem
 

Viewers also liked (20)

PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
19 Acute Glomerulonephritis
19 Acute Glomerulonephritis19 Acute Glomerulonephritis
19 Acute Glomerulonephritis
 
Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal GlomerulonephritisAcute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
 
Glomerulonephritis =)
Glomerulonephritis =)Glomerulonephritis =)
Glomerulonephritis =)
 
23 Urinalysis
23 Urinalysis23 Urinalysis
23 Urinalysis
 
Renal failure
Renal failureRenal failure
Renal failure
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
 
20100603 acute glomerulonephritis
20100603 acute glomerulonephritis20100603 acute glomerulonephritis
20100603 acute glomerulonephritis
 
clinical approach to Rapidly Progressive Glomerulonephritis
clinical approach to Rapidly Progressive Glomerulonephritisclinical approach to Rapidly Progressive Glomerulonephritis
clinical approach to Rapidly Progressive Glomerulonephritis
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Pathology of Glomerulonephritis
Pathology of GlomerulonephritisPathology of Glomerulonephritis
Pathology of Glomerulonephritis
 
Home ost(1)
Home ost(1)Home ost(1)
Home ost(1)
 
Lupus nephritis by dr saddique 2
Lupus nephritis by dr saddique 2Lupus nephritis by dr saddique 2
Lupus nephritis by dr saddique 2
 
A positive aso titre
A positive aso titreA positive aso titre
A positive aso titre
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
 
5696 6770-1-pb
5696 6770-1-pb5696 6770-1-pb
5696 6770-1-pb
 
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
 

Similar to Acute glomerulonephritis

Patients with weakness
Patients with weaknessPatients with weakness
Patients with weaknessHummd Mdhum
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557Utai Sukviwatsirikul
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education atit604
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Patinya Yutchawit
 
หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx
หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx
หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx pop Jaturong
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Acute glomerulonephritis (8)

Patients with weakness
Patients with weaknessPatients with weakness
Patients with weakness
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)
 
หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx
หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx
หลักพยาธิ บ.4การตาย pptx
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 

Acute glomerulonephritis

  • 1. 254 เรื่อง Acute glomerulonephritis ชั้นเรียนที่สอน นศพ.ปที่ 4 อาจารยผูสอน พญ.กาญจนา ตั้งนรารัชชกิจ จุดประสงค 1. อธิบายกลไกการเกิด glomerulonephritis ได 2. จําแนกลักษณะทางคลีนิค และลักษณะทางพยาธิวิทยาของ acute glomerulonephritis 3. อธิบายการเกิด การวินิจฉัย หลักการรักษา และการพยากรณโรค acute poststreptococcal glomerulonephritis ได เนื้อหาวิชา 1. Pathogenesis of glomerular disease, especially of immune complex glomerulonephritis 2. Clinical and pathological classification of glomerular disease 3. Acute poststreptococcal glomerulonephritis - epidemiology – pathogenesis and physiologic change - clinical manifestation – investigation - treatment – prevention – prognosis ******************** Acute Glomerulonephritis Acute glomerulonephritis หมายถึงโรคไตอักเสบเฉียบพลันที่เปนผลมาจากกลไกทางอิมมูน เปนกลุมอาการที่ประกอบดวย อาการบวม, ความดันโลหิตสูง, ปสสาวะนอยลง (oliguria) มี hematuria และ/ หรือ proteinuria สวนใหญเกิดตามหลังการติดเชื้อ แตก็อาจเกิดไดจากสาเหตุอื่นๆ เชน membranoproliferative glomerulonephritis, lupus nephritis, Schoenlein-Henoch syndrome, systemic vasculitis Acute postinfectious glomerulonephritis (APIGN) หมายถึง ไตอักเสบเฉียบพลันที่เกิด ตามหลังการติดเชื้อตางๆ เชน แบคทีเรีย, ไวรัส, parasites, rickettsia และเชื้อรา สาเหตุที่พบบอยที่สุดในเด็ก คือตามหลังการติดเชื้อ group A, β hemolytic streptococcus
  • 2. 255 ตารางที่ 1. สาเหตุของ postinfectious glomerulonephritis Bacterial infection Group A, β-hemolytic streptococcus Streptococcus viridans Staphylococcus aureus Staphylococcus albus Treponema pallidum Mycobacterium leprae Streptococcus pneumoniae Klebsiella pneumoniae Salmonella typhosa Corynebacterium bovis Proponibacterium acnes Brucella suis Diphtheroids Leptospira Actinobacillus Viral infection Hepatitis B Cytomegalovirus Varicella-zoster Epstein-Barr Enteric cytopathogenic human orphan (ECHO) Coxsackie Rubella Mumps Guillain-Barre Onconavirus Rickettsial infection Scrub typhus Fungal infection Coccidiodes immitus Parasitic infestration Plasmodium malariae and falciparum Toxoplasma gondii Schistosma mansoni Filaria Trypanosomes Trichinosis
  • 3. 256 Pathogenesis of Immune Complex Glomerulonephritis ปจจุบันพบวามีกลไกหลายอยางในการเกิดของ immune complex glomerulonephritis ไดแก 1. antibody to glomerular antigens กลไกนี้เกิดจากการมี antibody ตอ glomerular antigen ในกระแสเลือด เชน anti-glomerular basement membrance ซึ่งไปจับกับ glomerular basement membrane (GBM) ทําใหตรวจพบการเกาะของ Ig G เปนแบบ linear จากการยอม immunofluorescence (IF) ทําใหเกิดโรค anti-GBM nephritis หรือมี antibody ตอ glomerular antigen อื่นๆ ก็อาจตรวจพบการเกาะของ immune complex แบบ granular pattern ตามตําแหนงตางๆ ใน glomeruli ได ดังนั้นการตรวจพบ immune complex ทั้งแบบ ชนิด linear และ granular ใน glomeruli ก็อาจเกิดไดจากการมี antibody ไปเกาะจับกับ glomerular antigen เองได 2. antibody to non-glomerular antigen เกิดจากการมี antigen ที่ไมใชสวนประกอบของ glomeruli ในกระแสเลือด ไปเกาะติดที่ ตําแหนงตางๆ ของ glomeruli แลว antibody ไปจับทีหลัง เกิดเปน immune complex in situ 3. circulating immune complex trapping กลไกนี้เกิดขึ้นโดยมีการเกิด immune complex ในกระแสเลือดโดยเกิดจาก antigen จาก ภายนอก แลวไปเกาะติดที่ glomeruli โดยกลไก glomerular trapping เมื่อเกิด immune complex ภายใน glomeruli จะมีการกระตุน complement pathway ทําใหเกิดการอักเสบของglomeruli และอาการของ nephritis มากนอยขึ้นกับตําแหนงของ immune complex ใน glomeruli Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis (APSGN) Etiology เกิดตามหลังการติดเชื้อ group A β hemolytic streptococcus ชนิดที่เปน Nephritiogenic strain การติดเชื้อภายในลําคอมักเปน M type 12 อาจพบ M type 1, 3, 4, 6, 25 และ 49 การติดเชื้อที่ผิวหนัง มักเปน M type 49 M type อื่นที่พบไดแก 2, 53, 55, 56, 57 และ 60 ระบาดวิทยา ประเทศไทยพบ APSGN ไดบอย ที่รพ.รามาธิบดี คนไขสวนใหญอายุ 5-9 ป และพบบอย ชวงหนาฝนเดือนมิถุนายน - สิงหาคม กับชวงเดือนธันวาคม - กุมภาพันธ (ในตางประเทศหนาหนาวมักจะเปน จาก pharyngitis หนารอนเปนจาก pyoderma) อุบัติการ อัตราการเกิดโรค APSGN ที่แนนอนยังไมทราบ เพราะสวนใหญไมมีอาการ หรือตรวจ พบเฉพาะ microscopic hematuria (asymptomatic หรือ subclinical) จึงไมไดพบแพทย ยกเวนผูปวยที่มีอาการมาก เชน บวม, ความดันโลหิตสูงจึงมาพบแพทย ฉะนั้นคนไขที่มาพบแพทยจะมี
  • 4. 257 ประมาณ 1 /3 ของที่เปน APSGN เทานั้น พบวาปจจัยเกี่ยวกับ host factor และ immunologia virulence ของเชื้อเปนตัวแปรสําคัญที่ทําใหเกิดโรค พยาธิกําเนิดและพยาธิวิทยา APSGN เปนกลุมของ immune complex nephritis หลังการติดเชื้อ streptococci แลวจะมี latent period อยูประมาณ 1-3 สัปดาห โดยมีการเกิด immune complex ในกระแสเลือด ซึ่งจะไปจับกับ glomerular basement membrane หรือเปน in situ immune complex ก็ได เกิด inflammatory response ทําให glomeruli บวมและมี cell เพิ่มขึ้นอยางมาก inflammatory response มีการใช complement ทั้งทาง classical และ alternative pathway โดยพบวามีการกระตุนทาง alternative pathway มากกวา โดยมี หลักฐานสนับสนุนจากการตรวจพบระดับ C3 ที่ลดลงอยางมากแต early complement ไดแก C1q, C2 และ C4 มีระดับปกติหรือต่ําเพียงเล็กนอย ลักษณะพยาธิวิทยาจะเปนแบบ diffuse endocapillary proliferative glomerulonephritis โดยพบวา glomeruli มีขนาดใหญขึ้น มี cell เพิ่มมากเปน mesangial cell proliferation, PMN infiltration, endothelial cell swelling มีการเพิ่มของ mesangial metrix เมื่อยอม immunofluorescense จะพบมีการติดของ Ig G, C3 และ properdin เปนลักษณะแบบ granular deposit ที่ capillary wall และ mesangium การ ตรวจดวย electron microscope จะพบ hump electron dense deposit ที่บริเวณ subepithelium ดวย ภายหลัง 6 สัปดาห การเปลี่ยนแปลงสวนใหญจะหายไป การเปลี่ยนแปลงใน mesangium จะกลับเปนปกติไดหลังสุด ลักษณะอาการทางคลีนิค อาการสําคัญมีดังนี้ 1. Edema อาการบวมจะเกิดขึ้นในชวงเวลาไมกี่วัน มักบวมไมมาก บวมเปนแบบ non pitting edema บริเวณที่หนังตาและขา เกิดจากการคั่งของน้ําและเกลือในรางกาย บางรายอาจบวมมาก แบบ nephrotic syndrome โดยปกติจะบวมประมาณ 2-3 วัน แตก็อาจจะอยูไดนานถึง 2 สัปดาห 2. Gross hematuria พบบอยไดรอยละ 30-70 ของผูปวยที่รับไวในโรงพยาบาล โดยปสสาวะจะเปนสีโคลา, สีชาหรือสีน้ําลางเนื้อ สวนใหญอาการ gross hematuria จะหายไปภายใน 2-3 วัน บางรายอาจอยูไดนานถึง 2-3 สัปดาห สวน microscopic hematuria พบในเด็กเกือบทุก คนที่เปน APSGN 3. Hypertension สวนใหญจะเปนแบบ mild ถึง moderate degree แตบางรายอาจมี severe hypertension จนอาจเกิด hypertensive encephalopathy ไดโดยมีอาการปวดศรีษะ ตาพรามัว คลื่นไส อาเจียน ซึมลง ชักและหมดสติ สาเหตุของความดันโลหิตสูงที่แทจริงยังไมทราบ เชื่อวาเกิดจากปจจัย หลายอยาง สวนหนึ่งเกิดจากปริมาณของน้ําและเกลือที่เพิ่มขึ้นในรางกาย บางครั้งความดันโลหิตสูงอาจเกิด เปน 2 ระยะ (biphasic character) โดยระยะแรกจะอยูใน 3-5 วันแรก อาการมักจะรุนแรง หลังจากนั้นความดัน จะลดลงมาในชวงสั้นๆ 2-5 วันแลวจะมีความโลหิตสูงขึ้นมาอีก แตมักไมรุนแรงอยูประมาณ 1-2 สัปดาห
  • 5. 258 4. อาการอื่นๆ ที่พบไดแก ภาวะ circulatory congestion มีอาการหายใจหอบ, dyspnea, orthopnea, pumonary edema และ congestive heart failure อาการ ทั้งหมดเกิดจากการมีน้ําและเกลือคั่งมากในรางกาย ภาวะ oliguria พบไดบอย เกิดจากการที่ GFR ลดลงอยางทันทีทันใด สวน anuria พบไดนอย บางรายมี acute renal failure และบางรายเขาไดกับ กลุมที่เรียกวา rapidly progressive glomerulonephritis (cresentic glomerulonephritis) อาจพบไขต่ํา ๆ คลื่นไสอาเจียน abdominal pain และพบอาการซีดได อาการดังกลาวเกิดหลังการติดเชื้อ streptococcus โดยมี latent period 7-14 วัน ในรายที่เกิดจาก pharyngitis และ 14-21 วัน ในรายที่เกิดจาก impetigo การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา ดังนี้ Glomerular injury GFR Hematuria/proteinuria Renal insufficiency Salt/H2O excretion Oliguria Azotemia Retention of ECV Edema Hypertension Pulmonary congestion Cardiac failure Hypertensive crisis Pulmonary edema ตารางที่ 2. สรุปลักษณะทางคลีนิคของ APSGN Common Variable hematuria encephalopathy : edema confuse hypertension headache oliguria convulsion Frequent somnolence circulatory congestion Systemic symptoms pulmonary edema low grade fever dyspnea nausea anemia vomiting abdominal pain epistaxis no symptoms
  • 6. 259 Uncommon anuria and acute renal failure From : Jordan SC, Lemire JM. Acute glomerulonephritis diagnosis and treatment. Pediatr Clin North Am 1982;29-863 การตรวจทางหองปฏิบัติการ การตรวจทางหองปฏิบัติการที่จําเปน มีดังนี้ 1. Urinalysis จะพบมี hematuria เกือบทุกราย และพบ WBC และ granular cast ไดเสมอ ถาพบ RBC cast จะชวยในการวินิจฉัยไดมาก ตรวจพบ proteinuria ได เล็กนอยถึง moderate เปนสวนใหญมีนอยรายที่พบ heavy proteinuria specific gravity มักจะมีคาสูง pH ของปสสาวะต่ําเนื่องจาก hemoglobin ในปสสาวะเปลี่ยนเปนกรดฮีมาติน 2. Blood chemistry คา BUN และ creatinine ในเลือดสูงขึ้นเล็กนอยเพราะมี renal insufficiency แต BUN จะสูงกวามักไมเปนสัดสวนกับ creatinine hyponatremia พบไดจาก dilution effect hyperkalemia อาจพบได ถาพบรวมกับ hyperchloremia และ acidosis ควรคิดถึง renal tubular acidosis type IV ไวดวย 3. Serology พบ antibody titer ตอ streptococcal products สูงขึ้น เชน antistreptolysin O (ASO) antihyaluronidase (AHase), antideoxyribonuclease - B (ADNase-B), antinicotyladenine โดย ASO จะสูงใน พวกที่มี pharyngeal infection แต ADNase-B และ AHase จะสูงขึ้นไดมากกวารอยละ 90 ใน skin infection โดย ASO titer จะเริ่มสูงขึ้นหลังเกิดจากติดเชื้อ streptococcus 10-14 วัน และถึงระดับสูงสุดเมื่อ 3 ถึง 5 สัปดาห และจะคอยๆ ลดลงภายใน 1 ถึง 6 เดือน การไดรับยา penicillin รักษา streptococcal infection ตั้งแตระยะแรก จะทําใหระดับ ASO titer ไมสูงได ปจจุบันเชื่อวา anti DNase B titer เนนตัวบงชี้ที่ไวที่สุดในการยืนยันวามีการติด เชื้อ streptococcus นํามากอน ระดับ antibody ที่สูงขึ้นมากนอยไมมีความสัมพันธกับความรุนแรง ของโรคหรือการพยากรณโรค 4. Complement level พบวา C3, C4 และ total hemolytic complement จะต่ําในระยะแรกเกือบทุกรายเพราะมีการใช complement ทั้งทาง classial และ alternative pathway ไมพบความสัมพันธระหวางระดับ C3 ที่ลดลงกับความรุนแรงของโรค หรือกับ ตําแหนงที่ติดเชื้อหรือกับการพยากรณโรคระดับ complement ควรกลับเปนปกติภายใน 6 สัปดาห 5. Chest film พบวามีหัวใจโต และมี pulmonary congestion ถามีน้ําและ เกลือคั่งมากอาจพบ ลักษณะ CXR แบบ pulmonary edema ได 6. Bacteriological work up การเพาะเชื้อจากคอและผิวหนังเมื่อคนไขมีอาการ APSGN แลวมักไมขึ้นและแมวาเพาะขึ้นเชื้อ β hemolytic streptococcus group A แตเรายัง ไมสามารถตรวจสอบวาเปน nephritogenic strain หรือไม การวินิจฉัยโรค ควรมี criteria ดังนี้ 1. Evidence ของ nephritis ไดแก บวม, hypertension, hematuria with or without proteinuria
  • 7. 260 2. Evidence ของ immunological mechanism โดยมี ระดับ C3 ต่ําใน ระยะ acute phase 3. Evidence ของ recent streptococcal infection คือมี ASO และ/หรือ ASTZ (antistreptozymetiter) ที่สูงหรือมี rising titer การวินิจฉัยแยกโรค 1. Acute exacerbation of chronic glomerulonephritis 2. Schonlein - Henoch nephritis 3. Idiopathic hematuria 4. Familial nephritis (Alport syndrome) 5. SLE 6. Nephrotic syndrome 7. Rapidly progressive glomerulonephritis (RPGN)
  • 8. 261 ขอบงชี้ในการทํา kidney biopsy ในผูปวย APSGN (ตารางที่ 3) Atypical presentaion Etiology: Absence of infection prior to onset Onset of renal symptoms coincident with infection Absence of serologic evidence of streptococcal etiology (using appropriate tests) Absence of depression of serum complement or C3 Early clinical course: Anuria Presence of nephrotic syndrome Azotemia out of proportion to other clinical findings Miscellaneous factors: age less than 2 years and over 12 years prior history of renal disease abnormal growth data family history of nephritis significant systemic symptomatology Delay in rate of "resolution" Early: Oliguria and/or azotemia presisting past 2 weeks Hypertension presisting past 3 weeks Gross hematuria presisting past 3 weeks C3 continues low beyond 6 weeks Late: Persistent proteinuria and hematuria past 6 months Persistent proteinuria past 6 months Persistent hematuria past 12 months การดําเนินโรค APSGN เปนโรคที่มีการพยากรณโรคดีมากในเด็ก ผูปวยสวนใหญมีอาการดีขึ้นใน 1-2 สัปดาห โดยยุบบวม ปสสาวะออกมากขึ้น ความดันเลือดลดลง gross hematuria จะหายไปในเวลา 3-4 วัน มีนอยรายที่เปนนานเกิน 2-3 สัปดาห ระดับ C3 จะกลับเปนปกติภายใน 6 สัปดาห การตรวจปสสาวะจะ พบ proteinuria ไดนานถึง 6 เดือน และ microscopic hematuria ไดนาน 1-2 ป เมื่อติดตาม ผูปวยระยะยาวมักไมพบ hypertension หรือ รองรอยของไตวายเรื้อรัง ยกเวนผูปวยที่มีอาการรุนแรง แบบ RPGN (rapidly progressive glomerulonephritis) ปจจัยที่มีผลตอการพยากรณโรค ไดแก อายุผูปวย เด็กเล็กมีพยากรณโรคดีกวา ความรุนแรง ของโรคตอการทํางานของไต และการเปลี่ยนแปลงทางจุลพยาธิวิทยา การรักษา
  • 9. 262 เนื่องจากไมมียาใดที่สามารถเปลี่ยนแปลงการดําเนินโรคของ APSGN ดังนั้นการรักษาจึง มุงเนนที่จะปองกัน และลดความรุนแรงของอาการแทรกซอนที่เกิดขึ้น 1. Bed rest ยังไมมีหลักฐานวาการออกกําลังกายทําให GFR ลดลง หรือทําใหโรคหายชาขึ้น แตอาจ มี proteinuria และ hematuria เพิ่มได ดังนั้นจึงไมแนะนําให absolute bed rest ยกเวนรายที่อาการรุนแรง เชน มี hypertension หรือ cardiac failure 2. Fluid overload การมี fluid overload ทําใหเกิด congestive heart failure แกไขโดยให potent diuretic ไดแกพวก loop diuretic เชน furosemide 1-2 mg/kg กินหรือฉีดเขาหลอดเลือดดํา อาจซ้ําไดทุก 4-6 ชั่วโมง ถามีอาการ pulmonary edema ใหรักษาโดยการให diuretic, oxygen, sedation, phlebotomy อาจตองชวย การหายใจโดยใช positive end expiratory pressure กรณีปสสาวะออกนอย ควรใหน้ํานอยกวา insensible loss (400 ml/m2 /day) รวมกับ urine output เครื่องบงชี้วาปสสาวะออกนอยที่ดีคือ การชั่งน้ําหนักทุกวัน และ บันทึกปริมาตรของน้ําที่ไดรับเขาไปและที่ถายออกมาในแตละวัน 3. Hypertension เกิดจากมี fluid และ salt retention การให diuretic จะชวยลดความดันโลหิตลงได ถาใช diuretic อยางเดียวความดันโลหิตไมลง อาจให antihypertensive drug ตัวอื่นชวย ไดแก hydralazine รายที่ ความดันสูงไมมาก อาจใหยากิน ถาความดันโลหิตสูงมาก ควรให hydralazine ขนาด 0.15-0.3 mg/kg ใหทาง หลอดเลือดดําหรือเขากลามเนื้อซ้ําไดทุก 6 ชั่วโมง รวมกับ furosemide 1-2 mg/kg ถาความดันสูงมากและมีอาการทางสมอง (hypertensive encephalopathy) ควรลดความดันโดยเร็ว ควรใหการรักษาโดยให diazoxide ขนาด 2-5 mg/kg ฉีดเขาหลอดเลือดดํา ภายใน 15-30 วินาที (เพื่อปองกันไมใหยาจับกับ plasma protein) ความดันโลหิตจะลดลงภายใน 15 วินาที ถาความดันยังสูงอาจซ้ําไดภายในครึ่งชั่วโมง จะไดผลดีมากถาใหรวมกับ furosemide ถาไมมี diazoxide ใหใช sodium nitroprusside infusion โดยเริ่มจาก 1 µgm/kg/min แลวเพิ่ม ขนาดใชจนสามารถควบคุมความดันโลหิตได ควบคุมความดันไดก็เปลี่ยนเปนยากิน 4. Electrolyte imbalance เชน ภาวะ hyponatremia แกโดย fluid restriction ถามีอาการอาจจําเปนตองให 3% NaCl เขาทางหลอดเลือดดํา สําหรับภาวะ hyperkalemia ใหแกตามระดับความรุนแรงของภาวะดังกลาว 5. Rapidly progressive (cresentic) glomerulonephritis (RPGN) อาจพบรวมกับ APSGN การรักษาเหมือนกับ RPGN ทั่วๆ ไปคือให pulse methylprednisolone ขนาด 30 mg/kg ไมเกิน 1 gm ใหทางหลอดเลือดดํา 3 วัน จากนั้นใหตอดวย prednisolone ชนิดกิน 1-2 mg/kg/day การปองกัน การใหยาปฏิชีวนะเมื่อมี streptococcal infection พบวาไมสามารถปองกันการเกิด APSGN แตอาจลดความรุนแรงของโรคได และเมื่อมีอาการของ APSGN แลว การใหยาปฏิชีวนะ penicillin ชวยกําจัด เชื้อในตัวผูปวย และลดการแพรกระจายเชื้อนี้ไปยังคนขางเคียงแตไมมีผลตอการดําเนินโรค APSGN การให long term antibiotic prophylaxis ในผูปวย APSGN ไมมีความจําเปน เนื่องจากมีโอกาสเปนซ้ําอีกนอย
  • 10. 263 เอกสารประกอบ 1. วิวัฒน ตปนียโอฬาร, เฉลิมศรี ตปนียโอฬาร. Glomerular diseases. ใน : วันดี วราวิทย, ประพุทธ ศิริปุณย, สุรางค เจียมจรรยา, บรรณาธิการ. ตํารากุมารเวชศาสตร. ฉบับเรียบเรียงใหม เลม 1. กรุงเทพฯ : โฮลิสติก พับลิชชิ่ง, 2540:387-420. 2. Acute glomerulonephritis. ใน : อรุณ วงษจิราษฎร, อัจฉรา สัมบุณณานนท, ประไพพิมพ ธีรคุปต, บรรณาธิการ. ปญหาสารน้ํา อิเล็กโทรไลต และโรคไตในเด็ก. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ, 2540:229-41. 3. Behrmand RE, Vaughan VC III. Nelson’s textbook of pediatrics. 15th Ed. Philadelphia : WB Saunders Company, 1996:1484-8. 4. Rudolph AM. Pediatrics. 20th Ed, New York : Appleton-Century- Crofts, 1996:1351-8.