SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม จังหวัด
เชียงราย
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต NaCl
ประกอบด้วย
1. การผลิตโซเดียมคลอไรด์ (NaCl)
1.1) เกลือสมุทร
1.2) เกลือสินเธาว์
2. การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)
แก๊ส Cl2 และ H2
3. การผลิตโซดาแอช (Na2CO3)
4. การผลิตสารฟอกขาว (NaOCl)
1. การผลิตโซเดียมคลอไรด์
(NaCl)โซเดียมคลอไรด์ หรือ เกลือแกง มีสูตรเป็น NaCl เป็นสารประกอบที่
ประกอบด้วยธาตุ Na และ Cl เชื่อมกันด้วยพันธะไอออนิก ลักษณะเป็นผลึกสีขาว รส
เค็ม รูปผลึกเป็นทรงลูกบาศก์ จุดหลอมเหลว 801C ละลายน้าได้ดี โดยมากได้จาก
น้าทะเล และจากดิน
เกลือแกงแบ่งตามวิธีในการผลิตมี 2 ประเภทคือ
1.เกลือสมุทร คือ โซเดียมคลอไรด์ หรือเกลือแกงที่ผลิตได้จากน้าทะเล
2.เกลือสินเธาว์ คือ โซเดียมคลอไรด์ หรือ เกลือแกงที่ผลิตได้จากเกลือ
หิน
ซึ่งพบใต้เปลือกโลกในชั้นหินทราย หรือในผิวดิน หรือน้าใต้ดิน
ปัจจุบัน เกลือสินเธาว์ (เกลือหิน) ได้ถูกนามาใช้
ประโยชน์อย่างแพร่หลายและเป็นคู่แข่งกับเกลือสมุทร
(เกลือทะเล) เพราะสามารถใช้ทดแทนกันได้ แต่เกลือ
สินเธาว์ไม่มีธาตุไอโอดีน
1.1) การผลิตเกลือสมุทร
ประเทศในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ โดยมากทาเกลือปีละ 2 ครั้ง คือ ฤดูใบไม้ผลิ
และฤดูใบไม้ร่วง ในประเทศไทยมีอากาศแห้งแล้งติดต่อกันประมาณครึ่งปี ดังนั้น การทา
นาเกลือจึงเริ่มทาตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนพฤษภาคม หากปีใดฝนตกชุกใน
ระยะดังกล่าวการทานาเกลือจะไม่ได้ผลเท่าที่ควร
การผลิตเกลือสมุทร มี 2 ขั้นตอน คือ
1. ขั้นเตรียมพื้นที่นา จะต้องปรับพื้นดินให้เรียบและแน่นแบ่งที่นาเป็น
แปลงๆแปลงละประมาณ 1 ไร่ ยกขอบให้สูงเหมือนคันนา และทาร่องระบายน้าระหว่าง
แปลงพื้นที่นาเกลือแบ่งเป็น 3 ตอน คือ นาตาก นาเชื้อ และนาปลง ที่นาทั้ง 3 ตอน
ควรมีพื้นที่ลดหลั่นกันลงมาเพื่อความสะดวกในการระบายน้า
2. ขั้นตอนทานาเกลือ
2. ขั้นตอนทานาเกลือ
น้าทะเล
วังน้าขัง
นาตาก
นาเชื้อ
นาปลง
ถพ. 1.08
ถพ. 1.2
ระเหย
ระเหย
ระเหย
ระเหย
ตกผลึก NaCl
ผลผลิต 2.5 – 6
กิโลกรัม ต่อพื้นที่
1 ตารางเมตร
ตกผลึก CaSO4
(ยิปซัม)
การผลิตเกลือสมุทร ใช้หลักการทางเคมี
1. ความถ่วงจาเพาะ
2. การละลาย
3. การระเหย
4. การตกผลึก
Na+, Cl-, Mg2+,
Ca2+, SO4
2-
ทาให้โคลนตม
ตกตะกอน
ทาให้สิ่งสกปรก
ตกตะกอน
ข้อสังเกต
1. ผลพลอยได้จากการทาเกลือสมุทร คือ ยิปซัม (CaSO4) ซึ่งตกในนาเชื้อ ส่วน
NaCl ตกในนาปลง
2. MgSO4 จะเป็ นตัวที่ทาให้เกลือมีคุณภาพต่า เพราะดูดความชื้นได้ดีมากดังสูตร
(MgSO4.7H2O) ทาให้เกลือมีความชื้นสูง ป้ องกันโดนการโรยปูนขาว (Ca(OH)2) ในนาเชื้อ
ซึ่ง Ca2+ จะเข้าไปจับกับ SO4
2- ทาให้ได้ยิปซัมเพิ่ม และ OH- เข้าไปจับกับ Mg2+ ตกตะกอนเป็น
Mg(OH)2
3. ระดับน้าในนาปลงควรสูงประมาณ 5 ซม. ถ้าสูงกว่านี้เกลือจะตกผลึกช้า และถ้า
ต่ากว่านี้ เกลือจะตกผลึกเร็วเกินไป เม็ดเกลือที่ได้มีขนาดใหญ่อุ้มน้ามาก เกลือจะชื้น
4. สิ่งเจือปนที่ติดมากับเกลือ NaCl ได้แก่ Mg2+, Ca2+, SO4
2- กาจัดโดยเติม
สารดังนี้
1) NaOH เพื่อกาจัด Mg2+
2) BaCl2 เพื่อกาจัด SO4
2-
3) Na2CO3 เพื่อกาจัด Ca2+ และ Ba2+ มากเกินพอ
4) HCl เพื่อกาจัด CO3
2- ที่มากเกินพอ
1.2) การผลิตเกลือสินเธาว์
เกลือสินเธาว์ผลิตได้จากแร่เกลือ ( Rock salt ) พบอยู่ตามพื้นดินแถบภาค
อีสาน เช่น จังหวัดชัยภูมิ มหาสารคราม ยโสธร อุบลราชธานี และอุดรธานี
การผลิตเกลือสินเธาว์จากเกลือหินโดยทั่วไปใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
คือ ใช้การละลาย การกรอง การระเหย และการตกผลึก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของเกลือ
ที่เกิดขึ้นในแหล่งนั้นๆ
แบ่งตามลักษณะการเกิด คือ
1. เกลือจากผิวดิน
2. เกลือจากน้าเกลือบาดาล
3. เกลือจากชั้นเกลือหิน
1. เกลือจากผิวดิน จะใช้วิธีขุดคราบเกลือตามผิวดินมาละลายน้า กรอง
เศษตะกอนออก แล้วนาน้าเกลือไปเคี้ยวให้แห้ง จะได้ตะกอนเกลือตกผลึกออกมา
ออกมา นิยมทาเกลือชนิดนี้ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดนคราชสีมา
สีมา ชัยภูมิ มหาสารคาม อุดรธานี สกลนคร และร้อยเอ็ด
2. เกลือจากน้าเกลือบาดาล อาจลึกจากผิวดิน 5-10 เมตร หรือ 30
เมตร ใช้วิธีการขุดหรือเจาะลงไปใต้ดินและสูบน้าเกลือขึ้นมา ต้มน้าเกลือในกระทะ
กระทะเหล็กใบใหญ่ โดยใช้ฟืนหรือลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิง จนน้าเกลือแห้ง จะได้เกลือ
เกลือตกผลึกออกมา
การผลิตเกลือนี้นอกจากจะต้มแล้ว อาจจะใช้วิธีการตาก ซึ่ งไม่
ค่าใช้จ่ายในด้านเชื้อเพลิง เพราะใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ด้วยการสูบเกลือ
เ ก ลื อ จ า ก
บ่อน้าบาดาลมาใส่ไว้ในนาตาก ซึ่งทาเป็นลานดินหรือลานซีเมนต์ แล้ว
แล้วทาให้น้า ระเหยออกไปจะได้เกลือตกผลึกออกมา เรียกวิธีนี้ว่า
วิธีการผลิตเกลือสินเธาว์
3. เกลือจากชั้นเกลือหิน ทำโดย
1. อัดน้ำจืดลงไปละลำยเกลือในดิน
2. ทำสำรละลำยที่ได้ให้บริสุทธิ์โดยกำรเติม
NaOH เพื่อกำจัด Mg2+
Na2CO3 เพื่อกำจัด Ca2+
CaCl2 เพื่อกำจัด CO3
2- , SO4
2-
3. เมื่อตกผลึกเกลือไปนำนๆ สำรละลำยอำจจะยังเหลือ Na2CO3
,Na2SO4
อยู่บ้ำง เรียกว่ำ “น้ำขม” จะกำจัดโดยกำรเติม CaCl2 ลงไป
วิธีการผลิตเกลือ
สินเธาว์
เกลือสินเธาว์ : เหมำะสำหรับใช้งำนในอุตสำหกรรม | เกลือสมุทร : เหมำะ
สำหรับกำรบริโภค
**กำรเพิ่มแร่ธำตุ ไอโอดีน ให้แก่เกลือสินเธำว์ เรียกว่ำ “เกลืออนำมัย” หรือ
“เกลือไอโอเดต”
ปัญหาที่เกิดจากการผลิตเกลือ : ทำให้ดินเค็ม และ เกิดกำรยุบตัวของดินและ
2. การผลิต NaOH แก๊ส H2 , Cl2 จาก
NaCl เมื่อนา NaCl ที่ผลิตได้มาแยกด้วยวิธีการต่าง ๆ จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น
NaOH , H2 และ Cl2 ซึ่งสามารถนาไปใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่าง ๆ
มากมาย โดยการผลิต NaOH อาศัยหลักการอิเล็กโทรไลต์ มีวิธีการผลิตดังนี้
1. การผลิต NaOH ด้วยกระแสไฟฟ้ า
2. การผลิต NaOH โดยใช้ไดอะแฟรม
3. การผลิต NaOH โดยใช้เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน
4. การผลิต NaOH โดยใช้เซลล์ปรอท
2.1) การผลิต NaOH ด้วย
กระแสไฟฟ้ าการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์และแก๊สคลอรีน โดยอาศัยหลักการของเซลล์
อิเล็กโทรไลต์ หลังจากการทดลองแยก สารละลายด้วยกระแสไฟฟ้ า โดยใช้สารละลาย
NaCl อิ่มตัว เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ แตกตัวได้ดังนี้ :
NaCl (aq) Na+ (aq) + Cl- (aq)
+
_
- CathodeAnode +
Na+ Cl-
เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้ าลงไป จะเกิดปฏิกิริยา ดังนี้
Anode (+) : 2Cl- (aq) Cl2 (g) + 2e-
โดยแก๊สคลอรีนทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสสีแดง และสีน้าเงินชื้น จะ
เปลี่ยนเป็นสีขาว เพราะ Cl2(g) ทาปฏิกิริยากับ H2O ได้ HCl , HClO ซึ่งฟอกจางสี
Cathode (-) : 2H2O (l) + 2e- 2OH- (aq) + H2 (g)
โดยแก๊สไฮโดรเจนใช้ก้านธูปที่มีเปลวไฟไปจ่อที่ขั้วลบของแบตเตอรี่ ไฟจะดับ
พร้อมเกิดเสียงดังเป๊ าะ และ OH- (aq) จะมีสมบัติเป็นเบส จึงทดสอบได้เมื่อหยด
สารละลายฟีนอฟทาลีน ในสารละลายจะสังเกตเห็นสีชมพูบริเวณขั้วลบของ
แบตเตอรี่ แสดงว่ามี OH- (aq) เกิดขึ้น
ปฏิกิริยารวม :
2Cl- (aq) + 2H2O (l) 2OH- (aq) + H2 (g) + Cl2 (g)
สารละลายที่เหลือจากการแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้ าจะมีโซเดียมไฮดรอก
ไซด์ (NaOH) จาก Na+ (aq) + OH- (aq) NaOH (aq)
ดังนั้น เมื่อนาสารละลายไประเหยจะพบโซเดียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งเป็นสาร
สีขาวเหลืออยู่
ผลผลิตที่ได้ : NaOH , Cl2 และ H2
ในการผลิต NaOH ในอุตสาหกรรมนั้น จะใช้อุปกรณ์ที่ซับซ้อน โดยผ่าน
NaCl (aq) อิ่มตัว เข้าไปในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ตลอดเวลา H2 (g) , Cl2 (g) และ
NaOH (aq) ที่เกิดขึ้นจะต้องแยกออกจากกัน เพื่อป้ องกันการปนเปื้อนของสาร
ข้อเสีย : NaOH ที่ได้ไม่บริสุทธิ์ จะเกิดการรวมกับ
NaCl ที่ เ ป็ น
สารตั้งต้น และเกิดรวมกับผงฟอกขาว (NaOCl) ที่เกิดจาก
NaOH
2.2) การผลิต NaOH โดยใช้เซลล์ไดอะแฟรม
เซลล์ไดอะแฟรม มีแผ่นไดอะแฟรมที่ยอมให้เฉพาะไอออนต่างๆ ผ่านได้ แต่ไม่
ยอมให้แก๊สผ่าน กั้นอยู่ระหว่างขั้วทั้งสอง เซลล์นี้มีการปรับความดันด้าน Anode
มากกว่า Cathode ทาให้ Na+ และ Cl- เคลื่อนมาทาง Cathode ทั้งหมด เป็นผลให้ได้
NaOH ที่ไม่บริสุทธิ์
- CathodeAnode +
(ยอมให้ไอออนไหลผ่านแต่ไม่ยอมให้แก๊สไหลผ่าน)
Na+
Cl-
H2O
NaCl
เข้มข้น
เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้ าลงไป จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้
Anode (+) : 2Cl- (aq) Cl2 (g) + 2e-
Cathode (-) : 2H2O (l) + 2e- 2OH- (aq) + H2 (g)
แก๊ส Cl2 และ H2 ที่เกิดขึ้นจะออกไปทางส่วนบนของเซลล์ เนื่องจากเซลล์
นี้มีการปรับความดันด้าน Anode มากกว่าด้าน Cathode Na+ จึงเคลื่อนไปรวม
กับ OH- เป็น NaOH 10% ที่ด้าน Cathode รวมถึง Cl- ที่ทาปฏิกิริยาไม่หมดก็
เคลื่อนมาด้าน Cathode เช่นกัน ทาไห้เกิด NaCl 15% เจือปนด้วย
ดังนั้นด้าน Cathode จะมี NaOH ผสมกับ NaCl โดยสามารถแยกสาร
สอง ด้วยวิธีการตกผลึก โดย NaCl จะตกออกมาก่อน จะได้ NaOH
ประมาณ 50% และอาจมี NaCl ปนอยู่ประมาณ 1% ปัจจุบันไม่
นิยมผลิตด้วย วิธีนี้ เพราะสารที่ได้ไม่บริสุทธิ์ มี NaCl เจือ
ปนมาก
2.3) การผลิต NaOH โดยใช้เยื่อแลกเปลี่ยน
ไอออนเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนจัดเป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ ขั้ว Anode ทาด้วย
ไทเทเนียม ขั้ว Cathode ทาจากเหล็ก โดยมีเยื่อแลกเปลี่ยนไอออนที่ยอมให้
เฉพาะไอออนบวกผ่านได้กั้นอยู่ระหว่างขั้วทั้งสอง มีคุณภาพดีกว่าเยื่อไดอะแฟรม
- CathodeAnode +
(ยอมให้ไอออนบวกไหลผ่านได้)
เมื่อสารละลาย NaCl ที่บริสุทธิ์และอิ่มตัว เข้าทางด้าน Anode และผ่าน
กระแสไฟฟ้ าลงไป
Anode (+) : 2Cl- (aq) Cl2 (g) + 2e-
Cathode (-) : 2H2O (l) + 2e- 2OH- (aq) + H2 (g)
Na+ ที่เหลือจากด้าน Anode จะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อแลกเปลี่ยน
ไอออน ไปยังขั้ว Cathode รวมตัวกับ OH- เป็น NaOH
ข้อดี : - สารละลาย NaOH ที่ได้มีความเข้มข้นสูงประมาณ 30-40% โดยมวล
- ได้สารที่บริสุทธิ์สูง ไม่เกิดผงฟอกขาว
- Cl- เจือปนน้อยลง เมื่อเทียบกับการผลิตโดยใช้ไดอะแฟรมและเซลล์
ปรอท
***วิธีนี้จึงนิยมใช้ผลิตในปัจจุบัน
2.3) การผลิต NaOH โดยใช้เซลล์
ปรอท
สารละลาย NaOH
สารละลาย NaCl
มลพิษจากกระบวนการผลิตนี้
HgCl2 อาจปนเปื้อนมากับน้าทิ้งของโรงงานลงสู่แม่น้า และถูก
จุลินทรีย์ย่อยสลาย เป็นสารอินทรีย์ในรูปต่างๆ เช่น ไดเมทิลเมอร์คิวรี
HgCl2 (CH3)2Hg
สารนี้กลับเข้ามาสู่คน ในรูปของห่วงโซ่อาหาร ปัจจุบันเลิกใช้เซลล์ชนิด
ชนิดนี้แล้ว
Cathode (-) : Na+(aq) + e- + nHg(l) NaHgn (aq)
Anode (+) : 2Cl- (aq) Cl2 (g) + 2e-
Na/Hg เมื่อผ่านน้าบริสุทธิ์เข้าไป Na จะทาปฏิกิริยากับน้า ดังสมการ
NaHgn (aq) + H2O (l) NaOH (aq) + H2 (g) + nHg (l)
การผลิตโดยวิธีนี้ จะได้สารละลาย NaOH ที่มีความเข้มข้นสูง ประมาณ 50%
โดยมวล แต่ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน เนื่องจากมีอันตรายจากสารปรอท
(โซเดียมอะมัลกัม)
นากลับมาใช้ใหม่
ระเหย
• H2 (g) 1. เตรียมกรด HCl
2. เตรียม NH3 (g)
3. ใช้ในปฏิกิริยาการเติม H2 ในน้ามันพืช
การนา NaOH , ก๊าซ Cl2 และ H2 ไปใช้
ประโยชน์
• Cl2 (g) 1. ฆ่าเชื้อโรคในน้าประปา
2. ฟอกสีในเยื่อกระดาษ เส้นใยพืช
3. เป็นวัตถุดิบในการผลิตสารเคมี เช่น พลาสติก
สารกาจัดแมลง สารฟอกขาว CCl4
4. รวมกับแก๊สไฮโดรเจน เป็นกรด HCl
• NaOH (aq) 1. สบู่ , ผงซักฟอก
2. ผงชูรส
3. ทากระดาษ
4. ผลิตโซดาแอช (Na2CO3)
3. การผลิตโซดาแอช
(Na2CO3)
โซดาแอช มีชื่อทางเคมีว่า โซเดียมคาร์บอเนต มีสูตรเป็น
Na2CO3
การผลิตโซดาแอช เรียกว่า กระบวนการโซลเวย์ หรือโซดาแอมโมเนีย
มีสารตั้งต้นในการผลิตคือ
1. โซเดียมคลอไรด์ (NaCl)
2. แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)
3. แก๊สแอมโมเนีย (NH3)
3. กรองแยก NaHCO3 (s) ออก แล้วนาไปเผา ได้ Na2CO3 (s) หรือโซดา
แอช
NaHCO3 (s) Na2CO3 (s) + H2O (l) + CO2 (g)
1. นา CaCO3 (s) มาเผา ได้ CaO (s) และ CO2 (g) ดังสมการ
CaCO3 (s) CaO (s) + CO2 (g)
กระบวนการผลิตโซดาแอช (Na2CO3)
2. นา CO2 (g) ไปทาปฏิกิริยากับ NaCl (aq) เข้มข้น และ NH3 (g) ได้
NaHCO3(s) และ NH4Cl (aq) ดังสมการ
CO2 (g) + NaCl (aq) + NH3 (g) NaHCO3 (s) + NH4Cl (aq)
(ปุ๋ ย
ไนโตรเจน)
แผนผังกระบวนการผลิตโซดาแอช (Na2CO3)
1. CO2 (g) จากการเผา NaHCO3 (s)
CaO (s) จากการเผา CaCO3 (s)
และเมื่อ Ca(OH)2 (aq) ทาปฏิกิริยากับ NH4Cl (aq) จะได้ NH3 (g) กลับมา
ใช้ในขั้นตอนที่ 2 อีกครั้ง และเกิด CaCl2(s) นาไปใช้เป็นใช้เป็นสารดูดความชื้น
แต่มีการนาไปใช้น้อย จึงเกิดปัญหาในการกาจัด
2. NH3 (g) ได้จาก CaO(s) + 2NH4Cl(aq) CaCl2(s) + 2NH3(g) +
H2O(l)
3. NaHCO3 (s) ทาผงฟู
4. NH4Cl (aq) ทาปุ๋ ยเคมี
ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นแล้วนากลับมา
ใช้ได้อีก
เมื่อนามาละลายน้า จะได้
Ca(OH)2 (aq)
ข้อเสียของโรงงำนผลิตโซดำแอช
1. น้ำทิ้งจำกโรงงำนมีอุณหภูมิสูงทำให้เกิดน้ำเสีย
2. CaCl2(s) จำกกระบวนกำรโซลเวย์ยังใช้ประโยชน์ได้น้อย ส่วนใหญ่
ฝังกลบ ทำให้ดินเป็นกรด
เพิ่มเติม :
- บำงประเทศที่ผลิต NaOH ได้มำกเกินต้องกำร อำจผลิตโซดำแอช
โ ด ย ผ่ ำ น
CO2 (g) ลงใน NaOH (aq) โดยตรง ได้ NaHCO3 (s) เมื่อเผำแล้วจะได้โซดำ
แอช
- นอกจำกกำรผลิตด้วยกระบวนกำรโซลเวย์ ยังได้จำกแร่โซดำแอชใน
ธรรมชำติ
พบมำกใน สหรัฐอเมริกำ แคนำดำ บรำซิล อินเดีย รัสเซีย จีน
4. การผลิตสารฟอกขาว
(NaOCl)• การทดลองเตรียมสารฟอกขาว
1.เตรียมแก๊ส Cl2 โดยใส่ KMnO4
ประมาณ 3 กรัม ในหลอดทดลองที่มีแขนข้าง ซึ่งมี
สายยางต่อไปจุ่มในหลอดทดลองขนาดกลางที่บรรจุ
สารละลาย NaOH เข้มข้น 1.0 mol/dm3 จานวน
5 cm3 และแช่อยู่ใน
บีกเกอร์ที่มีน้าแข็งบรรจุอยู่
2. ปิดหลอดทดลองด้วยจุกยางซึ่งมีหลอด
หยดบรรจุกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เข้มข้นเสียบอยู่
3. หยดกรด HCl เข้มข้นลงบน KMnO4
อย่างช้าๆ และผ่านก๊าซที่เกิดขึ้นลงไปในสารละลาย
NaOH ประมาณ 10 นาที
HCl
KMnO4
สารละลาย
NaOHน้าแข็ง
สารฟอกขาวเป็ นสารประกอบ
ป ร ะ เ ภ ท
ไฮโปคลอไรต์ ใช้ในอุตสาหกรรม
การฟอกย้อมเส้นด้าย เยื่อกระดาษ
และใช้เป็ นสารฆ่าเชื้อโรคในน้า
1.) สมการปฏิกิริยาการเตรียมแก๊สคลอรีน (Cl2)
2KMnO4(s) + 16HCl(aq) 2KCl(aq) + 2MnCl2(aq) + 8H2O(l) + 5Cl2(g)
2.) เมื่อผ่านแก๊ส Cl2 ลงในสารละลาย NaOH เกิดปฏิกิริยาการผลิตสารฟอกขาว
ดังนี้
2NaOH (aq) + Cl2 (g) NaOCl (aq) + NaCl (aq) + H2O (l)
**ผลิตภัณฑ์ที่ได้เป็นสารละลาย แสดงว่า NaOCl ที่
เกิดขึ้นละลายได้ในน้า และเมื่อทดสอบบนกระดาษลิตมัสสี
แดง และน้าเงิน กระดาษทั้งสองสีเปลี่ยนเป็นสีขาวแสดงว่า
NaOCl มีสมบัติฟอกจางสี
**การฟอกจางสีของสารฟอกขาวเกิดจากแก๊ส
คลอรีนที่สลายตัวจากโซเดียมไฮโปคลอไรต์ ซึ่งมีสมบัติในการ
กัดกร่อนสูง
แหล่งอ้างอิง
• หนังสือเรียนเคมี อาจารย์อุ๊ Entrance เล่ม 4
• http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=69382
• https://sites.google.com/site/chemeeci/xutsahkrrm-sodeiym-
sodeiym-khlx-rid
• http://mirantree2.blogspot.com/
• http://wwwfreedomlove.blogspot.com/2011/08/blog-post.html
post.html
• http://www.samakkhi.ac.th:81/Education_Online/Data/
สื่อ_ICT-2/ผลงานนักเรียน/วิทยาศาสตร์/อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการ
ผลิต%20NaCl.ppt
ผู้จัดทา
1. นางสาว กาญจนา ไชติคะ เลขที่
4
2. นาย อรรถวิชย์ ปานพาน เลขที่
12
3. นางสาว พิมพ์พนิต วิญญารัตน์ เลขที่
14
4. นาย ณัฏฐชัย ไชยชมภู เลขที่ 17
5. นาย นฤทธิ์ นวนด้วง เลขที่ 19
6. นางสาว ขวัญหทัย ปัญจขันธ์ เลขที่ 22
7. นางสาว ศิรินรัตน์ อุประคา เลขที่
เลขที่ 28
8. นาย จุติณัฏฐ์ กิตติพิชญ์กุล เลขที่ 30

More Related Content

What's hot

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคTANIKAN KUNTAWONG
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์Wichai Likitponrak
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 

Similar to อุตสาหกรรมเกลือ

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์Tao Captain
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมTutor Ferry
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบชัยยันต์ ไม้กลาง
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2konosor
 
อุตสาหกรรมนาเกลือ
อุตสาหกรรมนาเกลืออุตสาหกรรมนาเกลือ
อุตสาหกรรมนาเกลือkansuda wongsasuwan
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิสประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิสKasemsanThumwisad1
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)ssuserb3caf5
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
ElectrochemNapajit
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 

Similar to อุตสาหกรรมเกลือ (20)

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2
 
อุตสาหกรรมนาเกลือ
อุตสาหกรรมนาเกลืออุตสาหกรรมนาเกลือ
อุตสาหกรรมนาเกลือ
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิสประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
 
กรด เบส 6
กรด เบส 6กรด เบส 6
กรด เบส 6
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
 
Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 

อุตสาหกรรมเกลือ

  • 2. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต NaCl ประกอบด้วย 1. การผลิตโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 1.1) เกลือสมุทร 1.2) เกลือสินเธาว์ 2. การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) แก๊ส Cl2 และ H2 3. การผลิตโซดาแอช (Na2CO3) 4. การผลิตสารฟอกขาว (NaOCl)
  • 3. 1. การผลิตโซเดียมคลอไรด์ (NaCl)โซเดียมคลอไรด์ หรือ เกลือแกง มีสูตรเป็น NaCl เป็นสารประกอบที่ ประกอบด้วยธาตุ Na และ Cl เชื่อมกันด้วยพันธะไอออนิก ลักษณะเป็นผลึกสีขาว รส เค็ม รูปผลึกเป็นทรงลูกบาศก์ จุดหลอมเหลว 801C ละลายน้าได้ดี โดยมากได้จาก น้าทะเล และจากดิน เกลือแกงแบ่งตามวิธีในการผลิตมี 2 ประเภทคือ 1.เกลือสมุทร คือ โซเดียมคลอไรด์ หรือเกลือแกงที่ผลิตได้จากน้าทะเล 2.เกลือสินเธาว์ คือ โซเดียมคลอไรด์ หรือ เกลือแกงที่ผลิตได้จากเกลือ หิน ซึ่งพบใต้เปลือกโลกในชั้นหินทราย หรือในผิวดิน หรือน้าใต้ดิน ปัจจุบัน เกลือสินเธาว์ (เกลือหิน) ได้ถูกนามาใช้ ประโยชน์อย่างแพร่หลายและเป็นคู่แข่งกับเกลือสมุทร (เกลือทะเล) เพราะสามารถใช้ทดแทนกันได้ แต่เกลือ สินเธาว์ไม่มีธาตุไอโอดีน
  • 4. 1.1) การผลิตเกลือสมุทร ประเทศในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ โดยมากทาเกลือปีละ 2 ครั้ง คือ ฤดูใบไม้ผลิ และฤดูใบไม้ร่วง ในประเทศไทยมีอากาศแห้งแล้งติดต่อกันประมาณครึ่งปี ดังนั้น การทา นาเกลือจึงเริ่มทาตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนพฤษภาคม หากปีใดฝนตกชุกใน ระยะดังกล่าวการทานาเกลือจะไม่ได้ผลเท่าที่ควร การผลิตเกลือสมุทร มี 2 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นเตรียมพื้นที่นา จะต้องปรับพื้นดินให้เรียบและแน่นแบ่งที่นาเป็น แปลงๆแปลงละประมาณ 1 ไร่ ยกขอบให้สูงเหมือนคันนา และทาร่องระบายน้าระหว่าง แปลงพื้นที่นาเกลือแบ่งเป็น 3 ตอน คือ นาตาก นาเชื้อ และนาปลง ที่นาทั้ง 3 ตอน ควรมีพื้นที่ลดหลั่นกันลงมาเพื่อความสะดวกในการระบายน้า 2. ขั้นตอนทานาเกลือ
  • 5. 2. ขั้นตอนทานาเกลือ น้าทะเล วังน้าขัง นาตาก นาเชื้อ นาปลง ถพ. 1.08 ถพ. 1.2 ระเหย ระเหย ระเหย ระเหย ตกผลึก NaCl ผลผลิต 2.5 – 6 กิโลกรัม ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร ตกผลึก CaSO4 (ยิปซัม) การผลิตเกลือสมุทร ใช้หลักการทางเคมี 1. ความถ่วงจาเพาะ 2. การละลาย 3. การระเหย 4. การตกผลึก Na+, Cl-, Mg2+, Ca2+, SO4 2- ทาให้โคลนตม ตกตะกอน ทาให้สิ่งสกปรก ตกตะกอน
  • 6. ข้อสังเกต 1. ผลพลอยได้จากการทาเกลือสมุทร คือ ยิปซัม (CaSO4) ซึ่งตกในนาเชื้อ ส่วน NaCl ตกในนาปลง 2. MgSO4 จะเป็ นตัวที่ทาให้เกลือมีคุณภาพต่า เพราะดูดความชื้นได้ดีมากดังสูตร (MgSO4.7H2O) ทาให้เกลือมีความชื้นสูง ป้ องกันโดนการโรยปูนขาว (Ca(OH)2) ในนาเชื้อ ซึ่ง Ca2+ จะเข้าไปจับกับ SO4 2- ทาให้ได้ยิปซัมเพิ่ม และ OH- เข้าไปจับกับ Mg2+ ตกตะกอนเป็น Mg(OH)2 3. ระดับน้าในนาปลงควรสูงประมาณ 5 ซม. ถ้าสูงกว่านี้เกลือจะตกผลึกช้า และถ้า ต่ากว่านี้ เกลือจะตกผลึกเร็วเกินไป เม็ดเกลือที่ได้มีขนาดใหญ่อุ้มน้ามาก เกลือจะชื้น 4. สิ่งเจือปนที่ติดมากับเกลือ NaCl ได้แก่ Mg2+, Ca2+, SO4 2- กาจัดโดยเติม สารดังนี้ 1) NaOH เพื่อกาจัด Mg2+ 2) BaCl2 เพื่อกาจัด SO4 2- 3) Na2CO3 เพื่อกาจัด Ca2+ และ Ba2+ มากเกินพอ 4) HCl เพื่อกาจัด CO3 2- ที่มากเกินพอ
  • 7. 1.2) การผลิตเกลือสินเธาว์ เกลือสินเธาว์ผลิตได้จากแร่เกลือ ( Rock salt ) พบอยู่ตามพื้นดินแถบภาค อีสาน เช่น จังหวัดชัยภูมิ มหาสารคราม ยโสธร อุบลราชธานี และอุดรธานี การผลิตเกลือสินเธาว์จากเกลือหินโดยทั่วไปใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ ใช้การละลาย การกรอง การระเหย และการตกผลึก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของเกลือ ที่เกิดขึ้นในแหล่งนั้นๆ แบ่งตามลักษณะการเกิด คือ 1. เกลือจากผิวดิน 2. เกลือจากน้าเกลือบาดาล 3. เกลือจากชั้นเกลือหิน
  • 8. 1. เกลือจากผิวดิน จะใช้วิธีขุดคราบเกลือตามผิวดินมาละลายน้า กรอง เศษตะกอนออก แล้วนาน้าเกลือไปเคี้ยวให้แห้ง จะได้ตะกอนเกลือตกผลึกออกมา ออกมา นิยมทาเกลือชนิดนี้ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดนคราชสีมา สีมา ชัยภูมิ มหาสารคาม อุดรธานี สกลนคร และร้อยเอ็ด 2. เกลือจากน้าเกลือบาดาล อาจลึกจากผิวดิน 5-10 เมตร หรือ 30 เมตร ใช้วิธีการขุดหรือเจาะลงไปใต้ดินและสูบน้าเกลือขึ้นมา ต้มน้าเกลือในกระทะ กระทะเหล็กใบใหญ่ โดยใช้ฟืนหรือลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิง จนน้าเกลือแห้ง จะได้เกลือ เกลือตกผลึกออกมา การผลิตเกลือนี้นอกจากจะต้มแล้ว อาจจะใช้วิธีการตาก ซึ่ งไม่ ค่าใช้จ่ายในด้านเชื้อเพลิง เพราะใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ด้วยการสูบเกลือ เ ก ลื อ จ า ก บ่อน้าบาดาลมาใส่ไว้ในนาตาก ซึ่งทาเป็นลานดินหรือลานซีเมนต์ แล้ว แล้วทาให้น้า ระเหยออกไปจะได้เกลือตกผลึกออกมา เรียกวิธีนี้ว่า วิธีการผลิตเกลือสินเธาว์
  • 9. 3. เกลือจากชั้นเกลือหิน ทำโดย 1. อัดน้ำจืดลงไปละลำยเกลือในดิน 2. ทำสำรละลำยที่ได้ให้บริสุทธิ์โดยกำรเติม NaOH เพื่อกำจัด Mg2+ Na2CO3 เพื่อกำจัด Ca2+ CaCl2 เพื่อกำจัด CO3 2- , SO4 2- 3. เมื่อตกผลึกเกลือไปนำนๆ สำรละลำยอำจจะยังเหลือ Na2CO3 ,Na2SO4 อยู่บ้ำง เรียกว่ำ “น้ำขม” จะกำจัดโดยกำรเติม CaCl2 ลงไป วิธีการผลิตเกลือ สินเธาว์ เกลือสินเธาว์ : เหมำะสำหรับใช้งำนในอุตสำหกรรม | เกลือสมุทร : เหมำะ สำหรับกำรบริโภค **กำรเพิ่มแร่ธำตุ ไอโอดีน ให้แก่เกลือสินเธำว์ เรียกว่ำ “เกลืออนำมัย” หรือ “เกลือไอโอเดต” ปัญหาที่เกิดจากการผลิตเกลือ : ทำให้ดินเค็ม และ เกิดกำรยุบตัวของดินและ
  • 10. 2. การผลิต NaOH แก๊ส H2 , Cl2 จาก NaCl เมื่อนา NaCl ที่ผลิตได้มาแยกด้วยวิธีการต่าง ๆ จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น NaOH , H2 และ Cl2 ซึ่งสามารถนาไปใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่าง ๆ มากมาย โดยการผลิต NaOH อาศัยหลักการอิเล็กโทรไลต์ มีวิธีการผลิตดังนี้ 1. การผลิต NaOH ด้วยกระแสไฟฟ้ า 2. การผลิต NaOH โดยใช้ไดอะแฟรม 3. การผลิต NaOH โดยใช้เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน 4. การผลิต NaOH โดยใช้เซลล์ปรอท
  • 11. 2.1) การผลิต NaOH ด้วย กระแสไฟฟ้ าการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์และแก๊สคลอรีน โดยอาศัยหลักการของเซลล์ อิเล็กโทรไลต์ หลังจากการทดลองแยก สารละลายด้วยกระแสไฟฟ้ า โดยใช้สารละลาย NaCl อิ่มตัว เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ แตกตัวได้ดังนี้ : NaCl (aq) Na+ (aq) + Cl- (aq) + _ - CathodeAnode + Na+ Cl-
  • 12. เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้ าลงไป จะเกิดปฏิกิริยา ดังนี้ Anode (+) : 2Cl- (aq) Cl2 (g) + 2e- โดยแก๊สคลอรีนทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสสีแดง และสีน้าเงินชื้น จะ เปลี่ยนเป็นสีขาว เพราะ Cl2(g) ทาปฏิกิริยากับ H2O ได้ HCl , HClO ซึ่งฟอกจางสี Cathode (-) : 2H2O (l) + 2e- 2OH- (aq) + H2 (g) โดยแก๊สไฮโดรเจนใช้ก้านธูปที่มีเปลวไฟไปจ่อที่ขั้วลบของแบตเตอรี่ ไฟจะดับ พร้อมเกิดเสียงดังเป๊ าะ และ OH- (aq) จะมีสมบัติเป็นเบส จึงทดสอบได้เมื่อหยด สารละลายฟีนอฟทาลีน ในสารละลายจะสังเกตเห็นสีชมพูบริเวณขั้วลบของ แบตเตอรี่ แสดงว่ามี OH- (aq) เกิดขึ้น ปฏิกิริยารวม : 2Cl- (aq) + 2H2O (l) 2OH- (aq) + H2 (g) + Cl2 (g)
  • 13. สารละลายที่เหลือจากการแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้ าจะมีโซเดียมไฮดรอก ไซด์ (NaOH) จาก Na+ (aq) + OH- (aq) NaOH (aq) ดังนั้น เมื่อนาสารละลายไประเหยจะพบโซเดียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งเป็นสาร สีขาวเหลืออยู่ ผลผลิตที่ได้ : NaOH , Cl2 และ H2 ในการผลิต NaOH ในอุตสาหกรรมนั้น จะใช้อุปกรณ์ที่ซับซ้อน โดยผ่าน NaCl (aq) อิ่มตัว เข้าไปในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ตลอดเวลา H2 (g) , Cl2 (g) และ NaOH (aq) ที่เกิดขึ้นจะต้องแยกออกจากกัน เพื่อป้ องกันการปนเปื้อนของสาร ข้อเสีย : NaOH ที่ได้ไม่บริสุทธิ์ จะเกิดการรวมกับ NaCl ที่ เ ป็ น สารตั้งต้น และเกิดรวมกับผงฟอกขาว (NaOCl) ที่เกิดจาก NaOH
  • 14. 2.2) การผลิต NaOH โดยใช้เซลล์ไดอะแฟรม เซลล์ไดอะแฟรม มีแผ่นไดอะแฟรมที่ยอมให้เฉพาะไอออนต่างๆ ผ่านได้ แต่ไม่ ยอมให้แก๊สผ่าน กั้นอยู่ระหว่างขั้วทั้งสอง เซลล์นี้มีการปรับความดันด้าน Anode มากกว่า Cathode ทาให้ Na+ และ Cl- เคลื่อนมาทาง Cathode ทั้งหมด เป็นผลให้ได้ NaOH ที่ไม่บริสุทธิ์ - CathodeAnode + (ยอมให้ไอออนไหลผ่านแต่ไม่ยอมให้แก๊สไหลผ่าน) Na+ Cl- H2O NaCl เข้มข้น
  • 15. เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้ าลงไป จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้ Anode (+) : 2Cl- (aq) Cl2 (g) + 2e- Cathode (-) : 2H2O (l) + 2e- 2OH- (aq) + H2 (g) แก๊ส Cl2 และ H2 ที่เกิดขึ้นจะออกไปทางส่วนบนของเซลล์ เนื่องจากเซลล์ นี้มีการปรับความดันด้าน Anode มากกว่าด้าน Cathode Na+ จึงเคลื่อนไปรวม กับ OH- เป็น NaOH 10% ที่ด้าน Cathode รวมถึง Cl- ที่ทาปฏิกิริยาไม่หมดก็ เคลื่อนมาด้าน Cathode เช่นกัน ทาไห้เกิด NaCl 15% เจือปนด้วย ดังนั้นด้าน Cathode จะมี NaOH ผสมกับ NaCl โดยสามารถแยกสาร สอง ด้วยวิธีการตกผลึก โดย NaCl จะตกออกมาก่อน จะได้ NaOH ประมาณ 50% และอาจมี NaCl ปนอยู่ประมาณ 1% ปัจจุบันไม่ นิยมผลิตด้วย วิธีนี้ เพราะสารที่ได้ไม่บริสุทธิ์ มี NaCl เจือ ปนมาก
  • 16. 2.3) การผลิต NaOH โดยใช้เยื่อแลกเปลี่ยน ไอออนเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนจัดเป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ ขั้ว Anode ทาด้วย ไทเทเนียม ขั้ว Cathode ทาจากเหล็ก โดยมีเยื่อแลกเปลี่ยนไอออนที่ยอมให้ เฉพาะไอออนบวกผ่านได้กั้นอยู่ระหว่างขั้วทั้งสอง มีคุณภาพดีกว่าเยื่อไดอะแฟรม - CathodeAnode + (ยอมให้ไอออนบวกไหลผ่านได้)
  • 17. เมื่อสารละลาย NaCl ที่บริสุทธิ์และอิ่มตัว เข้าทางด้าน Anode และผ่าน กระแสไฟฟ้ าลงไป Anode (+) : 2Cl- (aq) Cl2 (g) + 2e- Cathode (-) : 2H2O (l) + 2e- 2OH- (aq) + H2 (g) Na+ ที่เหลือจากด้าน Anode จะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อแลกเปลี่ยน ไอออน ไปยังขั้ว Cathode รวมตัวกับ OH- เป็น NaOH ข้อดี : - สารละลาย NaOH ที่ได้มีความเข้มข้นสูงประมาณ 30-40% โดยมวล - ได้สารที่บริสุทธิ์สูง ไม่เกิดผงฟอกขาว - Cl- เจือปนน้อยลง เมื่อเทียบกับการผลิตโดยใช้ไดอะแฟรมและเซลล์ ปรอท ***วิธีนี้จึงนิยมใช้ผลิตในปัจจุบัน
  • 18. 2.3) การผลิต NaOH โดยใช้เซลล์ ปรอท สารละลาย NaOH สารละลาย NaCl
  • 19. มลพิษจากกระบวนการผลิตนี้ HgCl2 อาจปนเปื้อนมากับน้าทิ้งของโรงงานลงสู่แม่น้า และถูก จุลินทรีย์ย่อยสลาย เป็นสารอินทรีย์ในรูปต่างๆ เช่น ไดเมทิลเมอร์คิวรี HgCl2 (CH3)2Hg สารนี้กลับเข้ามาสู่คน ในรูปของห่วงโซ่อาหาร ปัจจุบันเลิกใช้เซลล์ชนิด ชนิดนี้แล้ว Cathode (-) : Na+(aq) + e- + nHg(l) NaHgn (aq) Anode (+) : 2Cl- (aq) Cl2 (g) + 2e- Na/Hg เมื่อผ่านน้าบริสุทธิ์เข้าไป Na จะทาปฏิกิริยากับน้า ดังสมการ NaHgn (aq) + H2O (l) NaOH (aq) + H2 (g) + nHg (l) การผลิตโดยวิธีนี้ จะได้สารละลาย NaOH ที่มีความเข้มข้นสูง ประมาณ 50% โดยมวล แต่ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน เนื่องจากมีอันตรายจากสารปรอท (โซเดียมอะมัลกัม) นากลับมาใช้ใหม่ ระเหย
  • 20. • H2 (g) 1. เตรียมกรด HCl 2. เตรียม NH3 (g) 3. ใช้ในปฏิกิริยาการเติม H2 ในน้ามันพืช การนา NaOH , ก๊าซ Cl2 และ H2 ไปใช้ ประโยชน์ • Cl2 (g) 1. ฆ่าเชื้อโรคในน้าประปา 2. ฟอกสีในเยื่อกระดาษ เส้นใยพืช 3. เป็นวัตถุดิบในการผลิตสารเคมี เช่น พลาสติก สารกาจัดแมลง สารฟอกขาว CCl4 4. รวมกับแก๊สไฮโดรเจน เป็นกรด HCl • NaOH (aq) 1. สบู่ , ผงซักฟอก 2. ผงชูรส 3. ทากระดาษ 4. ผลิตโซดาแอช (Na2CO3)
  • 21. 3. การผลิตโซดาแอช (Na2CO3) โซดาแอช มีชื่อทางเคมีว่า โซเดียมคาร์บอเนต มีสูตรเป็น Na2CO3 การผลิตโซดาแอช เรียกว่า กระบวนการโซลเวย์ หรือโซดาแอมโมเนีย มีสารตั้งต้นในการผลิตคือ 1. โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 2. แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) 3. แก๊สแอมโมเนีย (NH3)
  • 22. 3. กรองแยก NaHCO3 (s) ออก แล้วนาไปเผา ได้ Na2CO3 (s) หรือโซดา แอช NaHCO3 (s) Na2CO3 (s) + H2O (l) + CO2 (g) 1. นา CaCO3 (s) มาเผา ได้ CaO (s) และ CO2 (g) ดังสมการ CaCO3 (s) CaO (s) + CO2 (g) กระบวนการผลิตโซดาแอช (Na2CO3) 2. นา CO2 (g) ไปทาปฏิกิริยากับ NaCl (aq) เข้มข้น และ NH3 (g) ได้ NaHCO3(s) และ NH4Cl (aq) ดังสมการ CO2 (g) + NaCl (aq) + NH3 (g) NaHCO3 (s) + NH4Cl (aq) (ปุ๋ ย ไนโตรเจน)
  • 24. 1. CO2 (g) จากการเผา NaHCO3 (s) CaO (s) จากการเผา CaCO3 (s) และเมื่อ Ca(OH)2 (aq) ทาปฏิกิริยากับ NH4Cl (aq) จะได้ NH3 (g) กลับมา ใช้ในขั้นตอนที่ 2 อีกครั้ง และเกิด CaCl2(s) นาไปใช้เป็นใช้เป็นสารดูดความชื้น แต่มีการนาไปใช้น้อย จึงเกิดปัญหาในการกาจัด 2. NH3 (g) ได้จาก CaO(s) + 2NH4Cl(aq) CaCl2(s) + 2NH3(g) + H2O(l) 3. NaHCO3 (s) ทาผงฟู 4. NH4Cl (aq) ทาปุ๋ ยเคมี ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นแล้วนากลับมา ใช้ได้อีก เมื่อนามาละลายน้า จะได้ Ca(OH)2 (aq)
  • 25. ข้อเสียของโรงงำนผลิตโซดำแอช 1. น้ำทิ้งจำกโรงงำนมีอุณหภูมิสูงทำให้เกิดน้ำเสีย 2. CaCl2(s) จำกกระบวนกำรโซลเวย์ยังใช้ประโยชน์ได้น้อย ส่วนใหญ่ ฝังกลบ ทำให้ดินเป็นกรด เพิ่มเติม : - บำงประเทศที่ผลิต NaOH ได้มำกเกินต้องกำร อำจผลิตโซดำแอช โ ด ย ผ่ ำ น CO2 (g) ลงใน NaOH (aq) โดยตรง ได้ NaHCO3 (s) เมื่อเผำแล้วจะได้โซดำ แอช - นอกจำกกำรผลิตด้วยกระบวนกำรโซลเวย์ ยังได้จำกแร่โซดำแอชใน ธรรมชำติ พบมำกใน สหรัฐอเมริกำ แคนำดำ บรำซิล อินเดีย รัสเซีย จีน
  • 26. 4. การผลิตสารฟอกขาว (NaOCl)• การทดลองเตรียมสารฟอกขาว 1.เตรียมแก๊ส Cl2 โดยใส่ KMnO4 ประมาณ 3 กรัม ในหลอดทดลองที่มีแขนข้าง ซึ่งมี สายยางต่อไปจุ่มในหลอดทดลองขนาดกลางที่บรรจุ สารละลาย NaOH เข้มข้น 1.0 mol/dm3 จานวน 5 cm3 และแช่อยู่ใน บีกเกอร์ที่มีน้าแข็งบรรจุอยู่ 2. ปิดหลอดทดลองด้วยจุกยางซึ่งมีหลอด หยดบรรจุกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เข้มข้นเสียบอยู่ 3. หยดกรด HCl เข้มข้นลงบน KMnO4 อย่างช้าๆ และผ่านก๊าซที่เกิดขึ้นลงไปในสารละลาย NaOH ประมาณ 10 นาที HCl KMnO4 สารละลาย NaOHน้าแข็ง สารฟอกขาวเป็ นสารประกอบ ป ร ะ เ ภ ท ไฮโปคลอไรต์ ใช้ในอุตสาหกรรม การฟอกย้อมเส้นด้าย เยื่อกระดาษ และใช้เป็ นสารฆ่าเชื้อโรคในน้า
  • 27. 1.) สมการปฏิกิริยาการเตรียมแก๊สคลอรีน (Cl2) 2KMnO4(s) + 16HCl(aq) 2KCl(aq) + 2MnCl2(aq) + 8H2O(l) + 5Cl2(g) 2.) เมื่อผ่านแก๊ส Cl2 ลงในสารละลาย NaOH เกิดปฏิกิริยาการผลิตสารฟอกขาว ดังนี้ 2NaOH (aq) + Cl2 (g) NaOCl (aq) + NaCl (aq) + H2O (l) **ผลิตภัณฑ์ที่ได้เป็นสารละลาย แสดงว่า NaOCl ที่ เกิดขึ้นละลายได้ในน้า และเมื่อทดสอบบนกระดาษลิตมัสสี แดง และน้าเงิน กระดาษทั้งสองสีเปลี่ยนเป็นสีขาวแสดงว่า NaOCl มีสมบัติฟอกจางสี **การฟอกจางสีของสารฟอกขาวเกิดจากแก๊ส คลอรีนที่สลายตัวจากโซเดียมไฮโปคลอไรต์ ซึ่งมีสมบัติในการ กัดกร่อนสูง
  • 28. แหล่งอ้างอิง • หนังสือเรียนเคมี อาจารย์อุ๊ Entrance เล่ม 4 • http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=69382 • https://sites.google.com/site/chemeeci/xutsahkrrm-sodeiym- sodeiym-khlx-rid • http://mirantree2.blogspot.com/ • http://wwwfreedomlove.blogspot.com/2011/08/blog-post.html post.html • http://www.samakkhi.ac.th:81/Education_Online/Data/ สื่อ_ICT-2/ผลงานนักเรียน/วิทยาศาสตร์/อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการ ผลิต%20NaCl.ppt
  • 29. ผู้จัดทา 1. นางสาว กาญจนา ไชติคะ เลขที่ 4 2. นาย อรรถวิชย์ ปานพาน เลขที่ 12 3. นางสาว พิมพ์พนิต วิญญารัตน์ เลขที่ 14 4. นาย ณัฏฐชัย ไชยชมภู เลขที่ 17 5. นาย นฤทธิ์ นวนด้วง เลขที่ 19 6. นางสาว ขวัญหทัย ปัญจขันธ์ เลขที่ 22 7. นางสาว ศิรินรัตน์ อุประคา เลขที่ เลขที่ 28 8. นาย จุติณัฏฐ์ กิตติพิชญ์กุล เลขที่ 30