SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม จัดทำโดย นางสาวจารุวรรณ  ทวยมาตร  นิสิต ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอน ปีการศึกษา  2545 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
[object Object],1.อุตสาหกรรมแร่ 2.  อุตสาหกรรมเซรามิกส์ 4.  อุตสาหกรรมปุ๋ย ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมแร่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประกอบด้วย เรื่อง ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],2. จำแนกแร่ตามประโยชน์ทางเศรษฐกิจ มี  2  ประเภท ,[object Object],ชนิดของแร่
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การถลุงแร่ ,[object Object],[object Object],คาร์บอนไดออกไชด์ การถลุงสินแร่ที่เป็นสารประกอบออกไซด์  การถลุงสินแร่ที่เป็นสารประกอบชัลไฟด มี  2  ประเภท + + 1. สารประกอบ ออกไชด์ คาร์บอน โลหะ + + สารประกอบ ซัลไซด์ ออกซิเจน ก๊าชซัลเฟอร์ สารประกอบออกไชด์
+ + 2. การถลุงสารประกอบคาร์บอเนต สารประกอบคาร์บอเนต สารประกอบ ออกไชด์ คาร์บอนไดออกไชด์ + + + สารประกอบ ซัลไซด์ คาร์บอน โลหะ ซัลเฟอไดออกไชด์ สารประกอบออกไชด์ คาร์บอน โลหะ คาร์บอนไดออกไชด์
ดีบุก  ( Sn ) ถลุงได้จากแร่แคสซิเทอไรต์  ( SnO 2 ) ส่วนมากพบในภาคใต้ ระนอง พังงา ภูเก็ต สุราษธานี  นครศรีธรรมราช กาญจนบุรี ตาก แม่ฮ่องสอน เชียงราย วิธีการถลุง  นำเอาแร่แคสซิเทอไรต์ ( SnO 2 )  ผสมกับถ่านโค๊ก และดินปูน ในอัตราส่วน  20 :4:5 ใส่ในเตาเผาแบบนอน ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นดังนี้  ,[object Object],[object Object],[object Object]
สำหรับหินปูนที่ใส่ลงไปจะช่วยแยก  SiO 2 ซึ่งเป็นสารปนเปื้อน ออกมาในรูปตะกรันโดยเกิดปฎิกิริยาดังนี้ ,[object Object],[object Object],งานฉาบแผ่นเหล็กเพื่อทำกระป๋องบรรจุอาหาร ทำบัดกรีผสมกับตะกั่ว และพลวงเป็นโลหะคอมพิวเตอร์เป็นชิ้นส่วนของเครื่องบิน ภาชนะบรรจุเชื้อเพลิงในเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู ใช้อุตสาหกรรมเคลือบ ดีบุกที่ได้ต้องนำไปทำให้บริสุทธิ์อีกครั้ง ประโยชน์ของดีบุก
พบมากในสุราษฎรธานี เชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน แร่ที่นำมาถลุงคือแร่สติบไนต์หรือพลวงเงิน  ( Sb 2 S 3 )  ย่างก่อน คือ ให้ซัลไฟด์เป็นออกไซด์ก่อนโดยการเผา 2Sb 2 S 3 (s)  + 9 O 2   (g) Sb 2 O 3 (s) + 6SO 2 (g) จากนั้นนำ   Sb 2 O 3 มาถลุงต่อไป คือ ผสมกับถ่านหิน และ  Na 2 CO 3 ในอัตราส่วน  20 : 4 : 1  เตาเผาแบบนอน อุณหภูมิคือ  800 – 900  C 0 ,[object Object],[object Object]
ผสมกับตะกั่วและดีบุกทำตัวพิมพ์โลหะ ผสมกับตะกั่วทำ แผ่นตะกั่วในแบตอรี่ใช้เป็นส่วนผสมในหัวกระสุนปืนใช้ในอุตสาหกรรม ยาง  สี และเซรามิกส์ เป็นต้น  ส่วน   Na 2 CO 3   ที่เติมจะกำจัดโลหะปนเปื้อนให้กลายเป็นตะกอนลอยอยู่บน พลวงเหลวจากนั้นไขเอาพลวงเหลวออกจาเตาแล้วเทใส่เบ้าเพื่ออัดเป็นแท่ง ประโยชน์ของพลวง
[object Object],[object Object],[object Object],สังกะสีและแคดเมียม ในประเทศไทยพบในแม่สอด จังหวัดตาก ,[object Object],[object Object],การถลุงคือ
ในการถลุงสังกะสีใช้อุณหภูมิที่ 1100  จากนั้นนำเอา   ZnO   มาทำปฏิกริยากับคาร์บอนซึ่งทำหน้าที่เป็น ตัวออกซิไดสจะได้สังกะสีกับก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ดังสมการ 2   ZnO(s) +  C(s)   2Zn(s) + CO 2 (g) ให้ทำกล่องไฟฉายเคลือบแผ่นเหล็กใช้ มุงหลังคาบ้าน ยา และอาหารสัตว์ ผสมกับทองแดงเป็นทองเหลือง ใช้ในอุตสาหกรรมสี ประโยชน์ของสังกะสี
คือ  แคดเมียม  มีการกากแคดเมียมมาเติมกรดซัลฟิวริก  ทำให้เป็นกลางด้วยปูนขาว นำไปกรองจะได้แคดเมียมพรุ่น ไปสกัดด้วยกรดซัลฟิวริกอีกครั้ง แล้วน้ำแคดเมียมซัลเฟต ที่ได้ไปแยกด้วยการอิเล็กโทไลซิส แล้วหล่อเป็นแท่ง  ใช้ในอุตสาหกรรม ถ่านไฟฉาย แบตอรี่ สี และพลาสติก เคลือบเหล็กกล้า ทองแดงเพื่อป้องการการผุกร่อน ประโยชน์ของแคดเมียม ในการถลุงสังกะสีมีกากของเหลือที่ร้ายแรง
แทนทาลัม ( Ta ) และไนโอเบียม ( Nb ) อยู่ร่วมกันในสินแร่ แทนทาไลต์ - โคลัมไบต์  [(FeMn)(TaNb) 2 O 6 ] ซึ่งพบได้ในตะกรัน ที่ได้จากการถลุงแร่ดีบุก แทนทาลัม ( Ta ) และไนโอเบียม ( Nb ) เอากรันดีบุกมาบดแล้วละลายด้วยกรด   HF  และ   H 2 SO 4 แล้ว เติมเมทิลไอโซบิวทิลคีโตน ( MIBK ) และพบว่าแทนทาลัมและไนโอเบียม ละลายอยู่บนชั้น  MIBK นำไปเติม   H 2 SO 4   เจือจางพบว่าไนโอเบียมละลาย อยู่บนในชั้นกรดปรับสภาพด้วย  NH 3   นำตะกอนไปเผาจะได้  Nb 2 O 5 ผลิต  Nb 2 O 5
  แยกด้วยการผ่านไอน้ำเข้าไป แทนทาลัมจะอยู่ในชั้นน้ำ  ในรูป  H 2 TaF 7   เติม  KCl  แล้วไปตกผลึกจะได้   K 2 TaF 7 นำไปเผาจะได้ Ta 2 O 5   นำไปใช้ประโชน์ ได้เลยถ้าต้องการ  Ta Nb  จะต้องใช้ โลหะแคลเซียมทำปฏิกิริยาดังต่อไปนี้ ส่วนแทนทาลัมอยู่ในชั้น   MIBK ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ไนโอเบียม   เป็นโลหะสีเทาเงิน จุดหลอมเหลวสูง   2487  C 0 ความแข็งและความเหนียวใกล้เคียงกับทองแดงนำความร้อนนำไฟฟ้าใช้ทำโลหะผสมพิเศษคือไม่เป็นสนิม ใช้สร้างเครื่องอิเล็กโทรนิค อุปกรณ์นิวเคลียร์ สมบัติและประโยชน์แทนทาลัมและไนโอเบีย แทนทาลัม   เป็นโลหะสีเงินมีจุดเดือด  5472  C 0   ทนไฟ แข็งแรง เหนียวใกล้กับเหล็กกล้า ในการสร้างเครื่องบินไอพ่นและจรวด ทำอุปกรณ์ไฟฟ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องอิเล็กโทรนิค เครื่องมือสื่อสาร
1.  นำไปถลุงที่  800-1000  C 0   ใช้คาร์บอนเป็นตัวรีดิวส์  2.  นำมาเผาที่ 500  C 0   โดยพ่นก๊าชคลอรีนตลอดเวลา จะได้ไอ  ZrCl 4   นำไปผ่านเครื่องควบแน่นจะได้ผลึก  ZrCl 4 นำไปทำปฎิกริยากับ แมกนีเซียม พบมากตามแหล่งดีบุก ในรูปของเซอร์คอน ( ZrSiO 4 ) การถลุง เซอร์โคเนียม
ใช้ทำโลหะผสมเพื่อหุ้มแท่งเชื้อเพลิงยูเรเนียมเป็น โลหะในโครงสร้างแกนเตาปรมาณู ใช้เป็นวัสดุเคลือบเซรามิก เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการกลั่นน้ำมัน ZrCl 4  (s) + 6 Mg(l)  Zr(s)  + 2MgCl 2 (s) ประโยชน์เซอร์โคเนียม ภายใต้บรรยากาศก๊าชซฮีเลียม จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ
[object Object],[object Object],[object Object],แร่รัตนชาติ มีสมบัติต่างจากแร่ชนิดอื่นคือ แร่รัตนชาติเป็นแร่เศรษฐกิจประเภทอโลหะที่เกิดในรูปผลึกมีความสวยงาม หาได้ยาก และมีความคงทน
เพชรเทียม  คือ สารประกอบหลายชนิดเช่น รูไทล์สังเคราะห์  ( TiO 2 )  สทอนเซียมไททาเนต (SrTiO 3 )   คิวบิกมอยศ์แซนไนต์  (SiC)   และอื่น ๆ จะกระจายแสงความกว่าเพชร ทำให้มีความวาวมากกว่าเพชร เพชรสังเคราะห์  คือเพชรที่มีองค์ประกอบเหมือนเพชรจริงทุกประการ แต่เกิดจากการสังเคราะห์ เพชร ชนิดต่าง ๆ
[object Object],แหล่งกำเนิดแร่รัตนชาติ ,[object Object]
ระบบ ผลึกของแร่รัตนชาติ ระบบนี้มี  3  แกนมีแกนยาว 2  เท่ากัน ตัดกันที  90  0   ในระนาบเดียวกันส่วนแกนที่สามยาวกว่า  2  แกนแรก แร่ คือ เพทาย 1.  ระบบไอโซเมทรอกหรือคิวบิก ระบบนี้มี  3  แกนเท่ากัน และตัดกันที่กึ่งกลางเป็นมุมฉาก แร่ที่จัดในระบบนี้คือ เพชร โกเมน เป็นต้น 2. ระบบเตตระโกนาล
ระบบนี้มี  4  แกน โดยที่  3  แกนอยู่ในระนาบเดียวกันและตัดกันที่  60  0   ส่วนแกนที่  4  ตั้งฉากกับระนาบนี้แร่ที่อยู่ในระบบได้แก่ ควอร์ตช์ คอรันดรัม ทัวมาลีน 3. ระบบเฮกซะโกนาลหรือระบบไตรโกนาล ระบบมี  3  แกน ที่ยาวไม่เท่ากัน และทั้งสามตัวกันทำมุม  90  0   แร่ที่อยู่ในระบบนี้คือ เพอริดอท คริสโซเบอริล เป็นต้นล 4. ระบบออโทรอมบิก
ระบบนี้แกนความยาวและมุมไม่เท่ากัน แร่ที่จัดอยู่ในระบบคือ  เทอร์ควอยซ์ เป็นต้น มี  3  แกนไม่เท่ากัน โดยมี  1  แกนตั้งฉากอี  2  แกน แร่ที่อยุ่ในระบบนี้คือเช่น สปอดูมีน หยก เนฟไฟรท์ เป็นต้น 5. ระบบมอนอคลินิก 6. ระบบไตรคลีนิก
ต้องประกอบด้วย  1. ความสวยงาม  2. ความหายาก 3. ความคงทน  ความคงทนแบ่งออกเป็น  ความแข็ง ความเหนียว ความทนทาน สมบัติของแร่รัตนชาติ
คือ ความทนทานในการขีดข่วน เราวัดความแตกต่างความแข็งของเพชรพลอย และแร่ต่าง ๆ โดยใช้มาตราฐานของโมส ความแข็งของรัตนชาติ หมายถึง ความคงทนต่อสารเคมีทีสามารถทำให้โครงสร้างของพลอยชำรุดหรือแตกสลายเช่น กรด เบส แอลกอฮอล์ ความเหนียวของรัตนชาติ หมายถึง ความคงทนต่อการแตกเป็นหรือแยกออกเมื่อถูกกดดัน ความทนทาน
ตารางมาตราฐานของโมส โดยเริ่มความแข็งดังนี้
[object Object],การปรับปรุงคุณภาพของพลอย วิธีการปรับปรุง การเผาด้วยความร้อน  การฟอกสี การฉายแสง การย้อมสี การแช่น้ำมัน   การเคลือบพลอยด้วยขี้ผึ้ง การเคลือบพลอยด้วยสีต่าง ๆ
เผาได้ทั้งเป็นก้อน และพลอยที่เจียไนแล้ว วิธีคือนำพลอยใส่ในเบ้าแล้วเผาด้วยแก๊ส อาจเผาที่ละเม็ด หรือรวมกัน ส่วนมากเป็นเคล็ดลับไม่เปิดเผย การเผาด้วยความร้อน ทำกับพลอยประเภทคอรันดัม คือ ไพลิน ทับทิม เนื่องจากการเผาไม่ทำให้สีสดขึ้น จึงได้มีการธาตุมาเผารวมกับพลอย สีของไพลินได้มาจากเหล็ก การซ่านพลอย
[object Object],การย้อมสีพลอย  ตามต้องการ พลอยต้องมีรอยแตกร้าวพอที่สารละลายแทรกซึมเข้าไปได้ ตัวอย่างเช่น ควอร์ตซ์ ปะการัง หยก เป็นต้น การฉายแสง
  การฟอกสี   จะทำกับไข่มุก และงาช้าง ปละหยด โดยใช้สารเคมีฃฟอกเพื่อให้ดูสีเรียบสะอาดและมีความวาว โดยเฉพาะไข่มุกและงาช้าง มักทำการเคลือบสีพลอยด้วยสี การแช่น้ำมัน  ทำกับพลอยที่มีร้อยร้าวตามผบริเวณผิวพลอยดูสวยขึ้นทั้งสีและความสะอาด เพราะน้ำมันจะซึมเข้าไปในเนื้อพลอยเพื่อปกปิดร้อยร้าว ส่วนมากจะทำในพลอยมรกต เพราะเป็นพลอยที่มีรอยร้าวมากที่สุด
การเคลือบพลอยด้วยขี้ผึ้งหรือพลาสติก  เพื่อประสารรอยร้าวไม่ให้ร้าวมากขึ้นหรือเพื่อทำให้พื้นที่ผิวพลอยเรียบ มีหลายลักษณะดังนี้ 1. การทาสีที่ผิวพลอย เป็นการทาสีที่ก้นผิวพลอยเพื่อเปลี่ยนสี 2. การเคลือบสีที่พื้นผิวพลอย เป็นการเคลือบไว้รอบ ๆ มีสีเข้มขึ้น 3. การอุดหรือปะ ในพลอยที่ผิวไม่เรียบเพื่อให้ดูเรียบทำให้ราคาดีขึ้น 4. การฉาบสีไว้ที่ก้นพลอย ส่วนใหญ่ทำให้พลอยดูมีความวาวมากขึ้น การเคลือบสีพลอยด้วยสีต่าง ๆ
คืออุตสาหกรรมที่ทำการผลิต ผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ ได้มาจากสารอนินทรีย์จำพวกดิน หิน แร่ ซึ่ง ทำให้เป็นรูปร่างแล้วนำไปให้เผา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],อุตสาหกรรมเซรามิกส์ คือ อุตสาหกรรมเซรามิก ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],ผลิตภัณฑ์เซรามิก ทนความร้อน ทนต่อสารเคมี และมีสมบัติทางไฟฟ้าพิเศษ กว่าสารอื่น จึงนำมาใช้ทำฉนวนไฟฟ้า ทำแผ่นวงจรรวม  ( IC ) ทำแผ่นซิลิคอนในเซลสุริยะ  ,[object Object]
อุตสาหกรรมเกี่ยวกับโซเดียมคลอไรด์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การผลิตโซเดียมคลอไรด์  ( NaCl ) มี  2  ชนิดคือ  เกลือสมุทร เกลือสินเธาว์ เกลือสินเธาว์ใช้ในการผลิตอุตสาหกรรม  ส่วนเกลือสมุทธนิยม ใช้ในการบริโภค เพราะมีไอโอดีนเยอะ
[object Object],การผลิตเกลือสมุทร 1.  การเตรียมที่นา  เป็น  3  ขั้นตอน คือ นาตาก นาเชื้อ นาปลง ซึ่งมีระดับพื้นที่ลดหลั่นตามลำดับเพื่อสะดวกในการระบายน้ำ และขังน้ำ
แผนผังที่  1.0  แสดงการ ผลิต เกลือ สมุทธ อย่างง่าย รูปแบบการผลิตเกลือสมุทร
เกลือสินเธาว์อยู่ในรูปเกลือหิน  ( Rock Salt )   การผลิตมี  2  วิธี  การผลิตเกลือสินเธาว์ 2  วิธีให้หลักการละลายน้ำ นำมากรอง นำมาระเหย นำมาตกผลึก
[object Object],การผลิตเกลือกับปัญหาสิ่งแวดล้อม 2. ทำการเพาะปลูกไม่ได้ผลและเมื่อลงไปในแม่น้ำลำคลองมีผลต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ
ในปัจจุบันได้มีการตกผลึกเกลือโดยใช้หม้อเคี่ยวระบบสูญญากาศเพื่อ นอกจากนี้ยังมีการยุบตัวของบริเวณทีมีการผลิตเกลือจากชั้นกินเกลืออีกด้วย ลดปัญหาการแพร่กระจายของดินเค็ม
1. ในกระบวนการอิเล็กโทรลิซิสของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์และก๊าชคลอรีน รูปที่  2.0   แสดงเซลล์อิเล็กโทไลต์อย่างง่าย  ( เซลล์ปรอท ) ในการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์
จะได้โซเดียมไฮดรอกไซด์และก๊าชคลอรีน และก๊าชไฮโดรเจนเป็นผลิตภัณฑ์ ดังนี้ ปฎิกิริยาที่เกิดขึ้น ที่ขั้วแอโนด  ( ขั้วบวก )  : 2Cl -  (aq) Cl 2  (g)  + 2 e- ที่ขั้วแคโทด  ( ขั้วลบ )   : 2Na + (aq) +2e 2Na(s) เมื่อนำเอาโลหะอะมัลกรัมมาทำปฏิกิริยากับน้ำ จะได้โซเดียมไฮดรอกไซด์ ดังสมการ  2NaHg (x) (l) + 2H 2 O (l)   H 2 (g)  + 2 NaOH (aq)  +  2XHg (l)
[object Object],ข้อดี  คือ  จะได้โซเดียมไฮดรอกไซด์ที่บริสุทธิ์ 1. การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์อิเล็กโทรลิซิส มีลักษณะ
ที่ขั้วแอโนด  : 2Cl -  (aq) Cl 2  (g)  + 2 e - ที่ขั้วแคโทด  :  H 2 0(l ) +2e - 2 OH - ( aq )  + H 2  (g) 2.  การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ด้วยเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน เซลล์ชนิดนี้มีคุณสมบัติพิเศษคือยอมให้อิออนบวกผ่านเท่านั้น เกิดปฎิกริยาดังสมการ
จะได้ก๊าช  H 2 และ OH - ที่แคโทด แล้ว  OH -   จะไปรวมตัวกับ   Na + เกิดเป็น  ในขณะเดียวกัน ก๊าช  Cl 2   ไม่สามารถผ่านเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนอิออนได้ ทำให้ได้แต่  NaOH   ออกมา
ประโยชน์ของโซเดียมไฮดรอกไซด์ และคลอรีน NaOH   นำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสบู่ ผงซักฟอก ผงชูรส ฯลฯ 2NaOH (aq) + Cl 2 (g)  NaOCl (aq) +  NaCl (aq) +  H2O(l) ยังใช้คลอรีนทำพลาสติก การกลั่นน้ำมัน ฟอกเยื่อกระดาษ ฯลฯ Cl 2   ใช้เป็นวัตถุดิบในสารฟอกขาว เกิดจากการผ่านก๊าชคลอรีนสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์  ดังสมการ
2.  นำก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้ไป เตรียมโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอนเนต  ( NaHCO 3 ) การผลิตโซดาแอชจากโซเดียมคลอไรด์ โซดาแอชจากโซเดียม คลอไรด์  ( Na 2 CO 3 )   ผลิตด้วยกระบวนการโซลเลย์ 1.   นำหินปูนมาเผาได้แคลเซียมออกไซด์กับก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ CaCO 3  (s) CaO (s) + CO 2  (g) CO 2 (g) + NH 3  (g) + H 2 O (l) +NaCl (aq)   2NaHCO 3   (s) + NH 4 Cl (aq)
3. นำโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอนเนตมาเผาจะได้โซเดียมคาร์บอเนต  2NaHCO 3  (s)     Na 2 CO 3  (s) +  H 2 O(l)  + CO 2 (g) โซดาแอช เป็นวัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตแก้ว ผลิตกระดาษ ผลิตสารเคมี ชนิดต่าง ๆ อุตสาหกรรมสิ่งทอ  อุตสาหกรรมปิโตรเลียม การผลิตสบู่ และสารกำจัดความกระด้างของน้ำ
การผลิตผงชูรส 2NaOH (aq)  +  HOOC(CH 2 ) 2 CH(NH 2 )COOH (s)  HOOC(CH 2 ) 2 CH(NH 2 )COONa (aq) + H 2 O เตรียมจาก ปฎิกิริยาระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด กับกรดกลูตามิก กรดกลูตามิกเตรียมได้จากแป้งมันสำปะหลังหรือโมลาส ดังนี้
1.  เป็นผลึกรูปแท่งเข็ม ขาวไม่มาก ผิวไม่เป็นประกาย 2. ละลายน้ำได้ดี  สารละลายเป็นกลาง  ( เพราะมี – COOH   และ  NH 2   ซึ่งเป็นกรดและเบสเหลืออยู่อย่างละหมู่ ) 3.  มีรสหวานและเค็มอย่างเล็กน้อย มีกลิ่นคาวเล็กน้อย  คุณสมบัติทั่วไปของผงชูรส
สารเจือปนที่พบคือ 1. เกลือแกลง 2. น้ำตาลทราย 3. Sodium Meta phosphate (NaPO 3 ) 4.Sodium tetra borate (Na 2 B 4 O 7 10H 2 O)  หรือน้ำประสาททอง ผงชูรสปลอม ผงชูรสที่มี  Mono Sodium glutsmate  ต่ำกว่า  95 %
โดยเฉพาะสารบอเร็กนั้นมีอันตรายมากที่สุด จะสะสมในร่างกาย จะระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหารเบื่ออาหาร อาเจียน ผิวหนังเป็นผื่นแดง กล้ามเนื้อและเท้ากระตุก ความดันโลหิตต่ำ  และ  NaPO 3 ทำให้มีอาการท้องเดิน  อันตรายจากผงชูรสปลอม
การทดสอบหาสิ่งเจือปนในผงชูรส (1)  ทดสอบ เกลือแกง  นำผงชูรสที่สงสัยเติม   + dilute HNO 3   ถ้ามีจะเกิดตะกอนสีขาวของ ที่   AgCl   ละลายน้ำได้ดี การเกิดปฎิกิริยาดังนี้  AgNO 3   (aq)  +  NaCl (aq)  AgCl (s)+ NaNO 3  (aq) ทดสอบน้ำตาล   นำชูรสที่ต้องสงสัยมา ละลายน้ำ ใช้ กรดไฮโดรคลอริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาจากนั้นนำมาการทดสอบด้วย  benedic  ได้ตะกอนสีแดง ของ  Cu 2 O ( หลังการต้ม )
การทดสอบหาสิ่งเจือปนในผงชูรส (2)  ทดสอบ  NaPO 3 โดยการนำเอาสารละลายมาทำให้เป็นกรดด้วย  HNO 3   แล้วเติมสารละลายอัมโมเนียโมลิบเดตลงไป จะได้ตะกอนสีเหลือง ทดสอบสารประสาททอง  Borax   มี  2  วิธี ดังสมการ 1. ผงชูรสที่สงสัย  +  เอทานอล  เติม กรดซัลฟิวริกเข้มข้นเป็นตัวเร่ง จากนั้น เผาไฟ ถ้ามี  Borax   จะเกิด เปลวไฟสีเขียว 2. ผงชูรสที่สงสัย  +  กรดไฮโดรคลอริก  จากนั้นเคี่ยวเกือบแห้ง ใช้กระดาษขมิ้นจุ่ม ถ้ามี  Borax   กระดาษจะมีสีชมพูเกิดขึ้น
อุตสาหกรรมปุ๋ย ปุ๋ยอนินทรีย์ หรือ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ คือปุ๋ยที่ได้จากการสังเคราะห์   ปุ๋ยอินทรีย์ คือ ปุ๋ยที่ได้จากซากสิ่งมีชีวิต โดยมีแบคทีเรียเป็นต้นเหตุ ได้แก่ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก เป็นปุ๋ยที่ได้จากมูลสัตว์ที่ปล่อยให้ย่อยสลายด้วยเองโดยธรรมชาติ
ที่สำคัญคือปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต  ยูเรีย  และฟอตเฟต  มี วิธีการผลิต ดังนี้  วัตถุดิบที่สำคัญในการเตรียมปุ๋ยวิทยาศาสตร์คือ  NH 3   , CO 2   และ  H 2 SO 4 ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ก๊าช คาร์บอนไดออกไซด์ได้มาจากการทำปฏิกิริยาของ ก๊าช คาร์บอนมอนอกไซด์กับไอน้ำ ดังสมการ CO(g) + H 2 O(g)  FeO,Cr 2 O  3   CO 2 (g) + H 2  (g)   400 C0 1.  การเตรียมก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์
-  วัตถุดิบที่ใช้เตรียม  NH 3   คือ  N 2   และ  H 2 N 2  (g) + 3H 2 (g)  2NH 3 (g)  -  ก๊าชไนโตรเจนได้จากอากาศ ส่วนก๊าชไฮโดรเจนเกิดจาการทำปฏิกิริยา ของก๊าชมีเทนที่สภาวะเหมาะสมดังสมการ  2 CH 4 (g) + O 2  (g)  Ni   2 CO(g) + 4 H 2 (g) 2.  การเตรียมก๊าชแอมโมเนีย หรือเกิดจากการทำปฎิกิริยาของก๊าชมีเทนกับไอน้ำที่สภาวะเหมาะสม CH 4 (g) + H2O (g)  Ni   CO(g) + 4 H 2 (g)
นำเอาก๊าช  SO 2   ไปทำปฏิกิริยากับก๊าชออกซิเจนเป็น   SO 3 ดังสมการ   2   SO 2 + O 2  (g)   2SO 3 (g) แล้วนำเอาก๊าช  SO 3 ไปทำปฎิกิริยากับกรด  H 2 SO 4   เข้มข้น  ( เกือบบริสุทธิ์ )   จะได้โอเลียม ( H 2 S 2 O 7 )  ดังสมการ SO 3 (g) +  H 2 SO 4  (aq)   H 2 S 2 O 7 (aq) เมื่อนำเอาโอเลียมมาละลายน้ำจะได้สารละลายกรดซัลฟิวริก 3. เตรียมกรดซัลฟิวริก เมื่อเตรียมได้ สารตั้งต้น ครบ 3 ชนิดก็นำมาเตรียมเป็นปุ๋ยได้เลย
2.  การผลิตปุ๋ยฟอสเฟต มีการผลิตได้จากขั้นตอนต่อไปนี้  1. ใช้กรดซัลฟิวริกเข้มข้น  4-5  โมลต่อลิตร ทำปฎิกิริยากับ หินฟอสเฟต  [CaF 2 .3Ca 3 (PO 4 ) 2 ]  ดังสมการ ,[object Object],[object Object],1. การผลิตปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟตและยูเรีย มีการผลิตได้จากขั้นตอนดังสมการ  CaF 2 .3Ca 3 (PO 4 ) 2   (s) + 10 H 2 SO 4  (aq) 6H 3 PO 4  (aq) 10 CaSO 4  (s) + 2HF(aq)
นอกจากนี้ยังเตรียมโดยตรงได้จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ นำ   H 3 PO 4   ที่เกิดขึ้นมาทำปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือดังสมการ CaF 2 .3Ca 3 (PO 4 ) 2  (s) + 14 H 3 PO 4 (aq) 10Ca(H 2 PO 4 ) 2  (s)+ 2HF(aq) CaF 2 .3Ca 3 (PO 4 ) 2  (s) + 7H 2 SO 4  (aq)+ 3H 2 O(l)   3Ca(H 2 PO 4 ) 2 .H 2 O+ CaSO 4  (s)+ 2HF(aq)
อุตสาหกรรมเคมีทุกชนิดล้วนแต่อาศัยหลักการทางเคมีและมีผลต่อการพัฒนาประเทศทั้งสึ้น ถ้านำหลักเคมีไปใช้อย่างถูกต้องจะต้องเกิดประโยชน์ในการพัฒนาประเทศอย่างมาก ถ้าใช้อย่างไม่ระมัดระวังจะทำให้เกิดปัญหาต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ได้ สรุปสุดท้าย The end
เอกสารอ้างอิง วารี เนื่องจำนงค์  คอนเซป เคมี  ,   สำนักพิมพ์แมค์  ,  กรุงเทพมหานคร  , ปีที่พิมพ์  2540 ,  หน้า  399-407  สมชาย ฉันทศิริวรรณ และคณะ  เคมีซัมมารี่  ,   สำนักพิมพ์ พีบีซี จำกัด  ,  กรุงเทพมหานคร ,  ปีที่พิมพ์  2539,  หน้า  104-113 สำราญ  พฤษ์สุนทร  เคมีเล่ม 4   สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา    กรุงเทพมหานคร ,  ปีที่พิมพ์  2543 , หน้า  353-383 www.google.com  ที่ค้นหารูปภาพ

More Related Content

What's hot

มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมPannathat Champakul
 
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิสประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิสKasemsanThumwisad1
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30PamPaul
 

What's hot (12)

Iia
IiaIia
Iia
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
 
06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน
 
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิสประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
2 4
2 42 4
2 4
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
Minerals
MineralsMinerals
Minerals
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
Na cl
Na clNa cl
Na cl
 
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
 

Viewers also liked

การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมsailom
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือChantana Yayod
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์Chantana Yayod
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมTutor Ferry
 
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยkansuda wongsasuwan
 
Project report on polystyrene (ps)
Project report on polystyrene (ps)Project report on polystyrene (ps)
Project report on polystyrene (ps)Lanka Anil raj
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยSurasek Tikomrom
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01Surasek Tikomrom
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
The biodegradation of Polystyrene
The biodegradation of PolystyreneThe biodegradation of Polystyrene
The biodegradation of PolystyrenePat Pataranutaporn
 
Polyethylene (PE)
Polyethylene (PE)Polyethylene (PE)
Polyethylene (PE)Kamal Batra
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41Angkana Potha
 

Viewers also liked (19)

การผลิตเกลือ
การผลิตเกลือการผลิตเกลือ
การผลิตเกลือ
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
 
โพรพิลีน
โพรพิลีนโพรพิลีน
โพรพิลีน
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือ
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
Electric chem8
Electric chem8Electric chem8
Electric chem8
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
 
Polystyrene
PolystyrenePolystyrene
Polystyrene
 
Project report on polystyrene (ps)
Project report on polystyrene (ps)Project report on polystyrene (ps)
Project report on polystyrene (ps)
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
 
polystyrene
polystyrenepolystyrene
polystyrene
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
The biodegradation of Polystyrene
The biodegradation of PolystyreneThe biodegradation of Polystyrene
The biodegradation of Polystyrene
 
Polyethylene (PE)
Polyethylene (PE)Polyethylene (PE)
Polyethylene (PE)
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41
 

Similar to Industrial11 (6)

Slide 2
Slide 2 Slide 2
Slide 2
 
(TMP) Corrosion Technologies. _ Innovation for Corrosion Control.pdf
(TMP) Corrosion Technologies. _ Innovation for Corrosion Control.pdf(TMP) Corrosion Technologies. _ Innovation for Corrosion Control.pdf
(TMP) Corrosion Technologies. _ Innovation for Corrosion Control.pdf
 
4 3
4 34 3
4 3
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
สายกีตาร์
สายกีตาร์สายกีตาร์
สายกีตาร์
 
สายกีตาร์
สายกีตาร์สายกีตาร์
สายกีตาร์
 

Industrial11

  • 1. ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม จัดทำโดย นางสาวจารุวรรณ ทวยมาตร นิสิต ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอน ปีการศึกษา 2545 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. + + 2. การถลุงสารประกอบคาร์บอเนต สารประกอบคาร์บอเนต สารประกอบ ออกไชด์ คาร์บอนไดออกไชด์ + + + สารประกอบ ซัลไซด์ คาร์บอน โลหะ ซัลเฟอไดออกไชด์ สารประกอบออกไชด์ คาร์บอน โลหะ คาร์บอนไดออกไชด์
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11. ผสมกับตะกั่วและดีบุกทำตัวพิมพ์โลหะ ผสมกับตะกั่วทำ แผ่นตะกั่วในแบตอรี่ใช้เป็นส่วนผสมในหัวกระสุนปืนใช้ในอุตสาหกรรม ยาง สี และเซรามิกส์ เป็นต้น ส่วน Na 2 CO 3 ที่เติมจะกำจัดโลหะปนเปื้อนให้กลายเป็นตะกอนลอยอยู่บน พลวงเหลวจากนั้นไขเอาพลวงเหลวออกจาเตาแล้วเทใส่เบ้าเพื่ออัดเป็นแท่ง ประโยชน์ของพลวง
  • 12.
  • 13. ในการถลุงสังกะสีใช้อุณหภูมิที่ 1100 จากนั้นนำเอา ZnO มาทำปฏิกริยากับคาร์บอนซึ่งทำหน้าที่เป็น ตัวออกซิไดสจะได้สังกะสีกับก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ดังสมการ 2 ZnO(s) + C(s) 2Zn(s) + CO 2 (g) ให้ทำกล่องไฟฉายเคลือบแผ่นเหล็กใช้ มุงหลังคาบ้าน ยา และอาหารสัตว์ ผสมกับทองแดงเป็นทองเหลือง ใช้ในอุตสาหกรรมสี ประโยชน์ของสังกะสี
  • 14. คือ แคดเมียม มีการกากแคดเมียมมาเติมกรดซัลฟิวริก ทำให้เป็นกลางด้วยปูนขาว นำไปกรองจะได้แคดเมียมพรุ่น ไปสกัดด้วยกรดซัลฟิวริกอีกครั้ง แล้วน้ำแคดเมียมซัลเฟต ที่ได้ไปแยกด้วยการอิเล็กโทไลซิส แล้วหล่อเป็นแท่ง ใช้ในอุตสาหกรรม ถ่านไฟฉาย แบตอรี่ สี และพลาสติก เคลือบเหล็กกล้า ทองแดงเพื่อป้องการการผุกร่อน ประโยชน์ของแคดเมียม ในการถลุงสังกะสีมีกากของเหลือที่ร้ายแรง
  • 15. แทนทาลัม ( Ta ) และไนโอเบียม ( Nb ) อยู่ร่วมกันในสินแร่ แทนทาไลต์ - โคลัมไบต์ [(FeMn)(TaNb) 2 O 6 ] ซึ่งพบได้ในตะกรัน ที่ได้จากการถลุงแร่ดีบุก แทนทาลัม ( Ta ) และไนโอเบียม ( Nb ) เอากรันดีบุกมาบดแล้วละลายด้วยกรด HF และ H 2 SO 4 แล้ว เติมเมทิลไอโซบิวทิลคีโตน ( MIBK ) และพบว่าแทนทาลัมและไนโอเบียม ละลายอยู่บนชั้น MIBK นำไปเติม H 2 SO 4 เจือจางพบว่าไนโอเบียมละลาย อยู่บนในชั้นกรดปรับสภาพด้วย NH 3 นำตะกอนไปเผาจะได้ Nb 2 O 5 ผลิต Nb 2 O 5
  • 16.
  • 17. ไนโอเบียม เป็นโลหะสีเทาเงิน จุดหลอมเหลวสูง 2487 C 0 ความแข็งและความเหนียวใกล้เคียงกับทองแดงนำความร้อนนำไฟฟ้าใช้ทำโลหะผสมพิเศษคือไม่เป็นสนิม ใช้สร้างเครื่องอิเล็กโทรนิค อุปกรณ์นิวเคลียร์ สมบัติและประโยชน์แทนทาลัมและไนโอเบีย แทนทาลัม เป็นโลหะสีเงินมีจุดเดือด 5472 C 0 ทนไฟ แข็งแรง เหนียวใกล้กับเหล็กกล้า ในการสร้างเครื่องบินไอพ่นและจรวด ทำอุปกรณ์ไฟฟ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องอิเล็กโทรนิค เครื่องมือสื่อสาร
  • 18. 1. นำไปถลุงที่ 800-1000 C 0 ใช้คาร์บอนเป็นตัวรีดิวส์ 2. นำมาเผาที่ 500 C 0 โดยพ่นก๊าชคลอรีนตลอดเวลา จะได้ไอ ZrCl 4 นำไปผ่านเครื่องควบแน่นจะได้ผลึก ZrCl 4 นำไปทำปฎิกริยากับ แมกนีเซียม พบมากตามแหล่งดีบุก ในรูปของเซอร์คอน ( ZrSiO 4 ) การถลุง เซอร์โคเนียม
  • 19. ใช้ทำโลหะผสมเพื่อหุ้มแท่งเชื้อเพลิงยูเรเนียมเป็น โลหะในโครงสร้างแกนเตาปรมาณู ใช้เป็นวัสดุเคลือบเซรามิก เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการกลั่นน้ำมัน ZrCl 4 (s) + 6 Mg(l) Zr(s) + 2MgCl 2 (s) ประโยชน์เซอร์โคเนียม ภายใต้บรรยากาศก๊าชซฮีเลียม จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ
  • 20.
  • 21. เพชรเทียม คือ สารประกอบหลายชนิดเช่น รูไทล์สังเคราะห์ ( TiO 2 ) สทอนเซียมไททาเนต (SrTiO 3 ) คิวบิกมอยศ์แซนไนต์ (SiC) และอื่น ๆ จะกระจายแสงความกว่าเพชร ทำให้มีความวาวมากกว่าเพชร เพชรสังเคราะห์ คือเพชรที่มีองค์ประกอบเหมือนเพชรจริงทุกประการ แต่เกิดจากการสังเคราะห์ เพชร ชนิดต่าง ๆ
  • 22.
  • 23. ระบบ ผลึกของแร่รัตนชาติ ระบบนี้มี 3 แกนมีแกนยาว 2 เท่ากัน ตัดกันที 90 0 ในระนาบเดียวกันส่วนแกนที่สามยาวกว่า 2 แกนแรก แร่ คือ เพทาย 1. ระบบไอโซเมทรอกหรือคิวบิก ระบบนี้มี 3 แกนเท่ากัน และตัดกันที่กึ่งกลางเป็นมุมฉาก แร่ที่จัดในระบบนี้คือ เพชร โกเมน เป็นต้น 2. ระบบเตตระโกนาล
  • 24. ระบบนี้มี 4 แกน โดยที่ 3 แกนอยู่ในระนาบเดียวกันและตัดกันที่ 60 0 ส่วนแกนที่ 4 ตั้งฉากกับระนาบนี้แร่ที่อยู่ในระบบได้แก่ ควอร์ตช์ คอรันดรัม ทัวมาลีน 3. ระบบเฮกซะโกนาลหรือระบบไตรโกนาล ระบบมี 3 แกน ที่ยาวไม่เท่ากัน และทั้งสามตัวกันทำมุม 90 0 แร่ที่อยู่ในระบบนี้คือ เพอริดอท คริสโซเบอริล เป็นต้นล 4. ระบบออโทรอมบิก
  • 25. ระบบนี้แกนความยาวและมุมไม่เท่ากัน แร่ที่จัดอยู่ในระบบคือ เทอร์ควอยซ์ เป็นต้น มี 3 แกนไม่เท่ากัน โดยมี 1 แกนตั้งฉากอี 2 แกน แร่ที่อยุ่ในระบบนี้คือเช่น สปอดูมีน หยก เนฟไฟรท์ เป็นต้น 5. ระบบมอนอคลินิก 6. ระบบไตรคลีนิก
  • 26. ต้องประกอบด้วย 1. ความสวยงาม 2. ความหายาก 3. ความคงทน ความคงทนแบ่งออกเป็น ความแข็ง ความเหนียว ความทนทาน สมบัติของแร่รัตนชาติ
  • 27. คือ ความทนทานในการขีดข่วน เราวัดความแตกต่างความแข็งของเพชรพลอย และแร่ต่าง ๆ โดยใช้มาตราฐานของโมส ความแข็งของรัตนชาติ หมายถึง ความคงทนต่อสารเคมีทีสามารถทำให้โครงสร้างของพลอยชำรุดหรือแตกสลายเช่น กรด เบส แอลกอฮอล์ ความเหนียวของรัตนชาติ หมายถึง ความคงทนต่อการแตกเป็นหรือแยกออกเมื่อถูกกดดัน ความทนทาน
  • 29.
  • 30. เผาได้ทั้งเป็นก้อน และพลอยที่เจียไนแล้ว วิธีคือนำพลอยใส่ในเบ้าแล้วเผาด้วยแก๊ส อาจเผาที่ละเม็ด หรือรวมกัน ส่วนมากเป็นเคล็ดลับไม่เปิดเผย การเผาด้วยความร้อน ทำกับพลอยประเภทคอรันดัม คือ ไพลิน ทับทิม เนื่องจากการเผาไม่ทำให้สีสดขึ้น จึงได้มีการธาตุมาเผารวมกับพลอย สีของไพลินได้มาจากเหล็ก การซ่านพลอย
  • 31.
  • 32. การฟอกสี จะทำกับไข่มุก และงาช้าง ปละหยด โดยใช้สารเคมีฃฟอกเพื่อให้ดูสีเรียบสะอาดและมีความวาว โดยเฉพาะไข่มุกและงาช้าง มักทำการเคลือบสีพลอยด้วยสี การแช่น้ำมัน ทำกับพลอยที่มีร้อยร้าวตามผบริเวณผิวพลอยดูสวยขึ้นทั้งสีและความสะอาด เพราะน้ำมันจะซึมเข้าไปในเนื้อพลอยเพื่อปกปิดร้อยร้าว ส่วนมากจะทำในพลอยมรกต เพราะเป็นพลอยที่มีรอยร้าวมากที่สุด
  • 33. การเคลือบพลอยด้วยขี้ผึ้งหรือพลาสติก เพื่อประสารรอยร้าวไม่ให้ร้าวมากขึ้นหรือเพื่อทำให้พื้นที่ผิวพลอยเรียบ มีหลายลักษณะดังนี้ 1. การทาสีที่ผิวพลอย เป็นการทาสีที่ก้นผิวพลอยเพื่อเปลี่ยนสี 2. การเคลือบสีที่พื้นผิวพลอย เป็นการเคลือบไว้รอบ ๆ มีสีเข้มขึ้น 3. การอุดหรือปะ ในพลอยที่ผิวไม่เรียบเพื่อให้ดูเรียบทำให้ราคาดีขึ้น 4. การฉาบสีไว้ที่ก้นพลอย ส่วนใหญ่ทำให้พลอยดูมีความวาวมากขึ้น การเคลือบสีพลอยด้วยสีต่าง ๆ
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37. การผลิตโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) มี 2 ชนิดคือ เกลือสมุทร เกลือสินเธาว์ เกลือสินเธาว์ใช้ในการผลิตอุตสาหกรรม ส่วนเกลือสมุทธนิยม ใช้ในการบริโภค เพราะมีไอโอดีนเยอะ
  • 38.
  • 39. แผนผังที่ 1.0 แสดงการ ผลิต เกลือ สมุทธ อย่างง่าย รูปแบบการผลิตเกลือสมุทร
  • 40. เกลือสินเธาว์อยู่ในรูปเกลือหิน ( Rock Salt ) การผลิตมี 2 วิธี การผลิตเกลือสินเธาว์ 2 วิธีให้หลักการละลายน้ำ นำมากรอง นำมาระเหย นำมาตกผลึก
  • 41.
  • 43. 1. ในกระบวนการอิเล็กโทรลิซิสของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์และก๊าชคลอรีน รูปที่ 2.0 แสดงเซลล์อิเล็กโทไลต์อย่างง่าย ( เซลล์ปรอท ) ในการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์
  • 44. จะได้โซเดียมไฮดรอกไซด์และก๊าชคลอรีน และก๊าชไฮโดรเจนเป็นผลิตภัณฑ์ ดังนี้ ปฎิกิริยาที่เกิดขึ้น ที่ขั้วแอโนด ( ขั้วบวก ) : 2Cl - (aq) Cl 2 (g) + 2 e- ที่ขั้วแคโทด ( ขั้วลบ ) : 2Na + (aq) +2e 2Na(s) เมื่อนำเอาโลหะอะมัลกรัมมาทำปฏิกิริยากับน้ำ จะได้โซเดียมไฮดรอกไซด์ ดังสมการ 2NaHg (x) (l) + 2H 2 O (l) H 2 (g) + 2 NaOH (aq) + 2XHg (l)
  • 45.
  • 46. ที่ขั้วแอโนด : 2Cl - (aq) Cl 2 (g) + 2 e - ที่ขั้วแคโทด : H 2 0(l ) +2e - 2 OH - ( aq ) + H 2 (g) 2. การผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ด้วยเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออน เซลล์ชนิดนี้มีคุณสมบัติพิเศษคือยอมให้อิออนบวกผ่านเท่านั้น เกิดปฎิกริยาดังสมการ
  • 47. จะได้ก๊าช H 2 และ OH - ที่แคโทด แล้ว OH - จะไปรวมตัวกับ Na + เกิดเป็น ในขณะเดียวกัน ก๊าช Cl 2 ไม่สามารถผ่านเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนอิออนได้ ทำให้ได้แต่ NaOH ออกมา
  • 48. ประโยชน์ของโซเดียมไฮดรอกไซด์ และคลอรีน NaOH นำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสบู่ ผงซักฟอก ผงชูรส ฯลฯ 2NaOH (aq) + Cl 2 (g) NaOCl (aq) + NaCl (aq) + H2O(l) ยังใช้คลอรีนทำพลาสติก การกลั่นน้ำมัน ฟอกเยื่อกระดาษ ฯลฯ Cl 2 ใช้เป็นวัตถุดิบในสารฟอกขาว เกิดจากการผ่านก๊าชคลอรีนสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ดังสมการ
  • 49. 2. นำก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้ไป เตรียมโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอนเนต ( NaHCO 3 ) การผลิตโซดาแอชจากโซเดียมคลอไรด์ โซดาแอชจากโซเดียม คลอไรด์ ( Na 2 CO 3 ) ผลิตด้วยกระบวนการโซลเลย์ 1. นำหินปูนมาเผาได้แคลเซียมออกไซด์กับก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ CaCO 3 (s) CaO (s) + CO 2 (g) CO 2 (g) + NH 3 (g) + H 2 O (l) +NaCl (aq) 2NaHCO 3 (s) + NH 4 Cl (aq)
  • 50. 3. นำโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอนเนตมาเผาจะได้โซเดียมคาร์บอเนต 2NaHCO 3 (s) Na 2 CO 3 (s) + H 2 O(l) + CO 2 (g) โซดาแอช เป็นวัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตแก้ว ผลิตกระดาษ ผลิตสารเคมี ชนิดต่าง ๆ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมปิโตรเลียม การผลิตสบู่ และสารกำจัดความกระด้างของน้ำ
  • 51. การผลิตผงชูรส 2NaOH (aq) + HOOC(CH 2 ) 2 CH(NH 2 )COOH (s) HOOC(CH 2 ) 2 CH(NH 2 )COONa (aq) + H 2 O เตรียมจาก ปฎิกิริยาระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด กับกรดกลูตามิก กรดกลูตามิกเตรียมได้จากแป้งมันสำปะหลังหรือโมลาส ดังนี้
  • 52. 1. เป็นผลึกรูปแท่งเข็ม ขาวไม่มาก ผิวไม่เป็นประกาย 2. ละลายน้ำได้ดี สารละลายเป็นกลาง ( เพราะมี – COOH และ NH 2 ซึ่งเป็นกรดและเบสเหลืออยู่อย่างละหมู่ ) 3. มีรสหวานและเค็มอย่างเล็กน้อย มีกลิ่นคาวเล็กน้อย คุณสมบัติทั่วไปของผงชูรส
  • 53. สารเจือปนที่พบคือ 1. เกลือแกลง 2. น้ำตาลทราย 3. Sodium Meta phosphate (NaPO 3 ) 4.Sodium tetra borate (Na 2 B 4 O 7 10H 2 O) หรือน้ำประสาททอง ผงชูรสปลอม ผงชูรสที่มี Mono Sodium glutsmate ต่ำกว่า 95 %
  • 54. โดยเฉพาะสารบอเร็กนั้นมีอันตรายมากที่สุด จะสะสมในร่างกาย จะระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหารเบื่ออาหาร อาเจียน ผิวหนังเป็นผื่นแดง กล้ามเนื้อและเท้ากระตุก ความดันโลหิตต่ำ และ NaPO 3 ทำให้มีอาการท้องเดิน อันตรายจากผงชูรสปลอม
  • 55. การทดสอบหาสิ่งเจือปนในผงชูรส (1) ทดสอบ เกลือแกง นำผงชูรสที่สงสัยเติม + dilute HNO 3 ถ้ามีจะเกิดตะกอนสีขาวของ ที่ AgCl ละลายน้ำได้ดี การเกิดปฎิกิริยาดังนี้ AgNO 3 (aq) + NaCl (aq) AgCl (s)+ NaNO 3 (aq) ทดสอบน้ำตาล นำชูรสที่ต้องสงสัยมา ละลายน้ำ ใช้ กรดไฮโดรคลอริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาจากนั้นนำมาการทดสอบด้วย benedic ได้ตะกอนสีแดง ของ Cu 2 O ( หลังการต้ม )
  • 56. การทดสอบหาสิ่งเจือปนในผงชูรส (2) ทดสอบ NaPO 3 โดยการนำเอาสารละลายมาทำให้เป็นกรดด้วย HNO 3 แล้วเติมสารละลายอัมโมเนียโมลิบเดตลงไป จะได้ตะกอนสีเหลือง ทดสอบสารประสาททอง Borax มี 2 วิธี ดังสมการ 1. ผงชูรสที่สงสัย + เอทานอล เติม กรดซัลฟิวริกเข้มข้นเป็นตัวเร่ง จากนั้น เผาไฟ ถ้ามี Borax จะเกิด เปลวไฟสีเขียว 2. ผงชูรสที่สงสัย + กรดไฮโดรคลอริก จากนั้นเคี่ยวเกือบแห้ง ใช้กระดาษขมิ้นจุ่ม ถ้ามี Borax กระดาษจะมีสีชมพูเกิดขึ้น
  • 57. อุตสาหกรรมปุ๋ย ปุ๋ยอนินทรีย์ หรือ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ คือปุ๋ยที่ได้จากการสังเคราะห์ ปุ๋ยอินทรีย์ คือ ปุ๋ยที่ได้จากซากสิ่งมีชีวิต โดยมีแบคทีเรียเป็นต้นเหตุ ได้แก่ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก เป็นปุ๋ยที่ได้จากมูลสัตว์ที่ปล่อยให้ย่อยสลายด้วยเองโดยธรรมชาติ
  • 58. ที่สำคัญคือปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต ยูเรีย และฟอตเฟต มี วิธีการผลิต ดังนี้ วัตถุดิบที่สำคัญในการเตรียมปุ๋ยวิทยาศาสตร์คือ NH 3 , CO 2 และ H 2 SO 4 ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ก๊าช คาร์บอนไดออกไซด์ได้มาจากการทำปฏิกิริยาของ ก๊าช คาร์บอนมอนอกไซด์กับไอน้ำ ดังสมการ CO(g) + H 2 O(g) FeO,Cr 2 O 3 CO 2 (g) + H 2 (g) 400 C0 1. การเตรียมก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์
  • 59. - วัตถุดิบที่ใช้เตรียม NH 3 คือ N 2 และ H 2 N 2 (g) + 3H 2 (g) 2NH 3 (g) - ก๊าชไนโตรเจนได้จากอากาศ ส่วนก๊าชไฮโดรเจนเกิดจาการทำปฏิกิริยา ของก๊าชมีเทนที่สภาวะเหมาะสมดังสมการ 2 CH 4 (g) + O 2 (g) Ni 2 CO(g) + 4 H 2 (g) 2. การเตรียมก๊าชแอมโมเนีย หรือเกิดจากการทำปฎิกิริยาของก๊าชมีเทนกับไอน้ำที่สภาวะเหมาะสม CH 4 (g) + H2O (g) Ni CO(g) + 4 H 2 (g)
  • 60. นำเอาก๊าช SO 2 ไปทำปฏิกิริยากับก๊าชออกซิเจนเป็น SO 3 ดังสมการ 2 SO 2 + O 2 (g) 2SO 3 (g) แล้วนำเอาก๊าช SO 3 ไปทำปฎิกิริยากับกรด H 2 SO 4 เข้มข้น ( เกือบบริสุทธิ์ ) จะได้โอเลียม ( H 2 S 2 O 7 ) ดังสมการ SO 3 (g) + H 2 SO 4 (aq) H 2 S 2 O 7 (aq) เมื่อนำเอาโอเลียมมาละลายน้ำจะได้สารละลายกรดซัลฟิวริก 3. เตรียมกรดซัลฟิวริก เมื่อเตรียมได้ สารตั้งต้น ครบ 3 ชนิดก็นำมาเตรียมเป็นปุ๋ยได้เลย
  • 61.
  • 62. นอกจากนี้ยังเตรียมโดยตรงได้จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ นำ H 3 PO 4 ที่เกิดขึ้นมาทำปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือดังสมการ CaF 2 .3Ca 3 (PO 4 ) 2 (s) + 14 H 3 PO 4 (aq) 10Ca(H 2 PO 4 ) 2 (s)+ 2HF(aq) CaF 2 .3Ca 3 (PO 4 ) 2 (s) + 7H 2 SO 4 (aq)+ 3H 2 O(l) 3Ca(H 2 PO 4 ) 2 .H 2 O+ CaSO 4 (s)+ 2HF(aq)
  • 64. เอกสารอ้างอิง วารี เนื่องจำนงค์ คอนเซป เคมี , สำนักพิมพ์แมค์ , กรุงเทพมหานคร , ปีที่พิมพ์ 2540 , หน้า 399-407 สมชาย ฉันทศิริวรรณ และคณะ เคมีซัมมารี่ , สำนักพิมพ์ พีบีซี จำกัด , กรุงเทพมหานคร , ปีที่พิมพ์ 2539, หน้า 104-113 สำราญ พฤษ์สุนทร เคมีเล่ม 4 สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา กรุงเทพมหานคร , ปีที่พิมพ์ 2543 , หน้า 353-383 www.google.com ที่ค้นหารูปภาพ