SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
นายนำชัย   แสนศิลป์   5281123004 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ  คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ทฤษฎีพหุปัญญา  ( Theory of Multiple Intelligences)   และ การเรียนการสอนที่เน้นการคิด โดยใช้สมองทั้ง  2  ส่วน
BSRU ทฤษฎีพหุปัญญา  ( Theory of Multiple Intelligences)
ทฤษฏีพหุปัญญา ของการ์ดเนอร์ ปัญญาด้านภาษา ปัญญาด้านตรรกและคณิตศาสตร์ ปัญญาด้าน  มิติสัมพันธ์ ปัญญาด้านรอบรู้ธรรมชาติ ปัญญาด้านดนตรี ปัญญาด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย ปัญญาด้านสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ปัญญาด้านรู้จักตนเอง ทฤษฏีพหุปัญญา ของการ์ดเนอร์ ปัญญาด้านภาษา ปัญญาด้าน ตรรกและคณิตศาสตร์ ปัญญาด้าน มิติสัมพันธ์ ปัญญาด้าน รอบรู้ธรรมชาติ ปัญญาด้านดนตรี ปัญญาด้าน การเคลื่อนไหวการ ปัญญาด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล ปัญญาด้าน รู้จักตนเอง แผนภาพปัญหาทั้ง  8   ด้าน ตามทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์  (Spencer,1998)
BSRU ศาสตราจารย์โฮวาร์ด การ์ดเนอร์  ( Howard Gardner)  นักจิตวิทยา มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เป็นผู้หนึ่งที่พยายามอธิบายให้เห็นถึงความสามารถที่หลากหลาย โดยคิดเป็น “ ทฤษฎีพหุปัญญา ”  ( Theory of Multiple Intelligences)  เสนอแนวคิดว่า สติปัญญาของมนุษย์มีหลายด้านที่มีความสำคัญเท่าเทียมกัน ขึ้นอยู่กับว่าใครจะโดดเด่นในด้านไหนบ้าง แล้วแต่ละด้านผสมผสานกัน แสดงออกมาเป็นความสามารถในเรื่องใด เป็นลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละคนไป ในปี พ . ศ . 2526  การ์ดเนอร์ ได้เสนอว่าปัญญาของมนุษย์มีอยู่อย่างน้อย  7  ด้าน คือ ด้านภาษา ด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว ด้านดนตรี ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านการเข้าใจตนเอง ต่อมาในปี พ . ศ . 2540  ได้เพิ่มเติมเข้ามาอีก  1  ด้าน คือ ด้านธรรมชาติวิทยา เพื่อให้สามารถอธิบายได้ครอบคลุมมากขึ้น จึงสรุปได้ว่า พหุปัญญา ตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ ในปัจจุบันมีปัญญาอยู่อย่างน้อย  8  ด้าน ดังนี้
BSRU 1.  ปัญญาด้านภาษา  ( Linguistic Intelligence) คือ ความสามารถในการใช้ภาษารูปแบบต่างๆ ตั้งแต่ภาษาพื้นเมือง จนถึงภาษาอื่นๆ ด้วย สามารถรับรู้ เข้าใจภาษา และสามารถสื่อภาษาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ตามที่ต้องการ ผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น ก็มักเป็น กวี นักเขียน นักพูด นักหนังสือพิมพ์ ครู ทนายความ หรือนักการเมือง
BSRU 2.  ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์   ( Logical-Mathematical Intelligence) คือ ความสามารถในการคิดแบบมีเหตุและผล การคิดเชิงนามธรรม การคิดคาดการณ์ และการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ ผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น ก็มักเป็น นักบัญชี นักสถิติ นักคณิตศาสตร์ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ นักเขียนโปรแกรม หรือวิศวกร
BSRU 3.  ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์  ( Visual-Spatial Intelligence) คือ ความสามารถในการรับรู้ทางสายตาได้ดี สามารถมองเห็นพื้นที่ รูปทรง ระยะทาง และตำแหน่ง อย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แล้วถ่ายทอดแสดงออกอย่างกลมกลืน มีความไวต่อการรับรู้ในเรื่องทิศทาง สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น จะมีทั้งสายวิทย์ และสายศิลป์ สายวิทย์ ก็มักเป็น นักประดิษฐ์ วิศวกร ส่วนสายศิลป์ ก็มักเป็นศิลปินในแขนงต่างๆ เช่น จิตรกร วาดรูป ระบายสี เขียนการ์ตูน นักปั้น นักออกแบบ ช่างภาพ หรือสถาปนิก เป็นต้น
BSRU 4.  ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว  ( Bodily Kinesthetic Intelligence) คือ ความสามารถในการควบคุมและแสดงออกซึ่งความคิด ความรู้สึก โดยใช้อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย รวมถึงความสามารถในการใช้มือประดิษฐ์ ความคล่องแคล่ว ความแข็งแรง ความรวดเร็ว ความยืดหยุ่น ความประณีต และความไวทางประสาทสัมผัส สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักกีฬา หรือไม่ก็ศิลปินในแขนง นักแสดง นักฟ้อน นักเต้น นักบัลเล่ย์ หรือนักแสดงกายกรรม
BSRU 5.  ปัญญาด้านดนตรี  ( Musical Intelligence) คือ ความสามารถในการซึมซับ และเข้าถึงสุนทรียะทางดนตรี ทั้งการได้ยิน การรับรู้ การจดจำ และการแต่งเพลง สามารถจดจำจังหวะ ทำนอง และโครงสร้างทางดนตรีได้ดี และถ่ายทอดออกมาโดยการฮัมเพลง เคาะจังหวะ เล่นดนตรี และร้องเพลง สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักดนตรี นักประพันธ์เพลง หรือนักร้อง
BSRU 6.  ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์  ( Interpersonal Intelligence) คือ ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น ทั้งด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และเจตนาที่ซ่อนเร้นอยู่ภายใน มีความไวในการสังเกต สีหน้า ท่าทาง น้ำเสียง สามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม สร้างมิตรภาพได้ง่าย เจรจาต่อรอง ลดความขัดแย้ง สามารถจูงใจผู้อื่นได้ดี เป็นปัญญาด้านที่จำเป็นต้องมีอยู่ในทุกคน แต่สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นครูบาอาจารย์ ผู้ให้คำปรึกษา นักการฑูต เซลแมน พนักงานขายตรง พนักงานต้อนรับ ประชาสัมพันธ์ นักการเมือง หรือนักธุรกิจ
BSRU 7.  ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง ( Intrapersonal Intelligence) คือ ความสามารถในการรู้จัก ตระหนักรู้ในตนเอง สามารถเท่าทันตนเอง ควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ และสถานการณ์ รู้ว่าเมื่อไหร่ควรเผชิญหน้า เมื่อไหร่ควรหลีกเลี่ยง เมื่อไหร่ต้องขอความช่วยเหลือ มองภาพตนเองตามความเป็นจริง รู้ถึงจุดอ่อน หรือข้อบกพร่องของตนเอง ในขณะเดียวกันก็รู้ว่าตนมีจุดแข็ง หรือความสามารถในเรื่องใด มีความรู้เท่าทันอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความคาดหวัง ความปรารถนา และตัวตนของตนเองอย่างแท้จริง เป็นปัญญาด้านที่จำเป็นต้องมีอยู่ในทุกคนเช่นกัน เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีความสุข สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักคิด นักปรัชญา หรือนักวิจัย
BSRU 8.  ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา  ( Naturalist Intelligence) คือ ความสามารถในการรู้จัก และเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง เข้าใจกฎเกณฑ์ ปรากฏการณ์ และการรังสรรค์ต่างๆ ของธรรมชาติ มีความไวในการสังเกต เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปของธรรมชาติ มีความสามารถในการจัดจำแนก แยกแยะประเภทของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักธรณีวิทยา นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย หรือนักสำรวจธรรมชาติ
BSRU ทฤษฎีนี้ได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายในกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเน้นความสำคัญใน  3  เรื่องหลัก ดังนี้ 1.  แต่ละคน ควรได้รับการส่งเสริมให้ใช้ปัญญาด้านที่ถนัด เป็นเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้ 2.  ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ควรมีรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้สอดรับกับปัญญาที่มีอยู่หลายด้าน 3.  ในการประเมินการเรียนรู้ ควรวัดจากเครื่องมือที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถครอบคลุมปัญญาในแต่ละด้าน  
BSRU ทฤษฎีพหุปัญญา ของการ์ดเนอร์ ชี้ให้เห็นถึงความหลากหลายทางปัญญาของมนุษย์ ซึ่งมีหลายด้าน หลายมุม แต่ละด้านก็มีความอิสระในการพัฒนาตัวของมันเองให้เจริญงอกงาม ในขณะเดียวกันก็มีการบูรณาการเข้าด้วยกัน เติมเต็มซึ่งกันและกัน แสดงออกเป็นเอกลักษณ์ทางปัญญาของมนุษย์แต่ละคน คนหนึ่งอาจเก่งเพียงด้านเดียว หรือเก่งหลายด้าน หรืออาจไม่เก่งเลยสักด้าน แต่ที่ชัดเจน คือ แต่ละคนมักมีปัญญาด้านใดด้านหนึ่งโดดเด่นกว่าเสมอ ไม่มีใครที่มีปัญญาทุกด้านเท่ากันหมด หรือไม่มีเลยสักด้านเดียว นับเป็นทฤษฎีที่ช่วยจุดประกายความหวัง เปิดกระบวนทัศน์ใหม่ในการศึกษาด้านสติปัญญาของมนุษย์ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ทั้งในกลุ่มเด็กปกติ เด็กที่มีความบกพร่อง และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
BSRU เทคนิคหมวก  6  ใบ Six Thinking Hats เทคนิคการคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีโฟกัส มีการจำแนกความคิดออกเป็นด้านๆ และคิดอย่างมีคุณภาพ เพื่อช่วยจัดระเบียบการคิด ทำให้การคิดมีประสิทธิภาพมากขึ้น แนวคิดหลัก “การคิด” เป็นทักษะช่วยดึงเอาความรู้และประสบการณ์ของผู้คิดมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ทักษะความคิดจึงมีความสำคัญที่สุด   (Edward de Bono )
BSRU       ดร .  Edward de Bono ( เอดเวิร์ด เดอ โบโน )  ได้ทำการคิดค้นเทคนิคการคิด  six thinking hats  ขึ้นมาเพื่อเป็นระบบความคิดที่ทำ ให้ผู้เรียนมีหลักในการจำแนกความคิดออกเป็น  6  ด้าน ทำให้สามารถแก้ปัญหาและตัดสินใจด้วยการคิดทีละด้านอย่างเป็นระบบ เป็นการเพิ่มศักยภาพให้ทักษะการคิด ทำให้ไม่คิดกระโดดไปกระโดดมา หรือคิดพร้อมกันทุกอย่างในเวลาเดียวกัน ซึ่งทำให้สับสนใช้เวลานาน และสรุปไม่ได้
BSRU 1.    White Hat  หรือ หมวกสีขาว  หมายถึง  ข้อมูลเบื้องต้นของสิ่งนั้น เป็นความคิดแบบไม่ใช้อารมณ์ และมีเป้าประสงค์ที่ชัดเจน แน่นอน ตรงไปตรงมา ไม่ต้องการความคิดเห็น สีขาวเป็นสีที่ชี้ให้เห็นถึงความเป็นกลาง จึงเกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริง จำนวนตัวเลข เมื่อสวมหมวกสีนี้ หมายความว่าที่ประชุมต้องการข้อเท็จจริงเท่านั้น โดยปกติแล้วเรามักจะ ใช้หมวกขาวตอนเริ่มต้นของกระบวนการคิดเพื่อเป็นพื้นฐานของความคิดที่กำลังจะเกิดขึ้นแต่เราก็ใช้หมวกขาวในตอนท้ายของกระบวนการได้เหมือนกัน เพื่อทำการประเมิน อย่างเช่นข้อเสนอโครงการต่างๆของเราเหมาะสมกับข้อมูลที่มีอยู่หรือไม่        Six Thinking Hats   จะประกอบด้วยหมวก  6  ใบ  6  สี คือ
BSRU 2.   Red Hat   หรือ หมวกสีแดง  หมายถึง ความรู้สึก สัญชาตญาณ และลางสังหรณ์ เมื่อสวมหมวกสีนี้ เราสามารถบอกความรู้สึกของตนเองว่าชอบ ไม่ชอบ ดี ไม่ดี มีการใช้อารมณ์ ความคิดเชิงอารมณ์ซึ่งส่วนใหญ่การแสดงอารมณ์จะไม่มีเหตุผลประกอบ หรือการตระหนักรู้โดยฉับพลันซึ่งก็คือ เรื่องบางเรื่องที่เคยเข้าใจในแบบหนึ่ง อยู่ๆก็เกิดเข้าใจในอีกแง่มุมหนึ่ง ซึ่งการตระหนักรู้แบบนี้จะทำให้เกิดงานสร้างสรรค์ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ หรือวิธีคิดทางคณิตศาสตร์แบบก้าวกระโดด ความคิดความเข้าใจในสถานการณ์โดยทันที ซึ่งเป็นผลจากการใคร่ครวญอันซับซ้อนที่มีพื้นฐานจากประสบการณ์ เป็นการตัดสินที่ไม่อาจให้รายละเอียดหรืออธิบายได้ด้วยคำพูด เช่นเวลาที่คุณจำเพื่อนคนหนึ่งได้ คุณก็จำได้ในทันที
BSRU 3.  Black Hat  หรือ หมวกสีดำ  หมายถึง ข้อควรคำนึงถึง สิ่งที่ทำให้เราเห็นว่า เราไม่ควรทำ  เป็นการคิดในเชิงระมัดระวัง หมวกสีดำ เป็นหมวกคิดที่เป็นธรรมชาติและสอดคล้องกับวิธีการคิดของตะวันตกมาก หมวกสีดำช่วยชี้ให้เราเห็นว่าสิ่งใดผิด สิ่งใดไม่สอดคล้องและสิ่งใดใช้ไม่ได้ มันช่วยปกป้องเราจากการเสียเงินและพลังงาน ช่วยป้องกันไม่ให้เราทำอะไรอย่างโง่เขลาเบาปัญญา และผิดกฎหมาย หมวกสีดำ เป็นหมวกคิดที่มีเหตุมีผลเสมอ เพราะในการวิพากษ์วิจารณ์  หรือวิเคราะห์สิ่งใดจะต้องมีการคิดแบบเป็นเหตุเป็นผลรองรับ ไม่มีอารมณ์มาเกี่ยวข้อง ในการประเมินสถานการณ์ในอนาคตของเรานั้น ต้องขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของเราเองและของผู้อื่นด้วย
BSRU 4.  Yellow Hat  หรือ หมวกสีเหลือง  หมายถึง การคาดการณ์ในทางบวก ความคิดเชิงบวก เป็นการมองโลกในแง่ดี การมองที่เป็นประโยชน์  เป็นการคิดที่ก่อให้เกิดผล หรือทำให้สิ่งต่างๆเกิดขึ้นได้  การคิดเชิงบวกเป็นการเปิดโอกาสให้พัฒนาและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ความคิดเชิงลบอาจป้องกันเราจากความผิดพลาด ความเสี่ยง และอันตรายที่อาจเกิดขึ้น  ดังนั้นการคิดเชิงบวกต้องผสมผสานความสงสัยใคร่รู้ ความสุข ความต้องการ และความกระหายที่จะทำสิ่งต่างๆให้เกิดขึ้นหรือไม่
BSRU 5.   Green Hat  หรือ หมวกสีเขียว  หมายถึง ความคิดนอกกรอบที่มีความสัมพันธ์กับความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงแนวคิดและมุมมองซึ่งปกติมักถูกกำหนดจากระบบความคิดของประสบการณ์ดั้งเดิม และความคิดนอกกรอบนั้นจะอาศัยข้อมูลจากระบบของตัวเราเอง โดยเมื่อสวมหมวกสีนี้ จะแสดงความคิดใหม่ๆ เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น การคิดอย่างสร้างสรรค์
BSRU 6. Blue Hat  หรือ หมวกสีน้ำเงิน หมายถึง การควบคุม และการบริหารกระบวน การคิด เพื่อให้เกิดความชัดเจนในเรื่องของความคิดรวบยอด ข้อสรุป การยุติข้อขัดแย้ง การมองเห็นภาพและการดำเนินการที่มีขั้นตอนเป็นระบบ เมื่อมีการใช้หมวกน้ำเงิน หมายถึง ต้องการให้มีการควบคุมสิ่งต่างๆ ให้อยู่ในระบบระเบียบที่ดี และถูกต้องหมวกสีน้ำเงินมักเป็นบทบาทของหัวหน้า ทำหน้าที่ควบคุมบทบาทของสมาชิก ควบคุมการดำเนินการประชุม การอภิปราย การทำงาน ควบคุมการใช้กระบวนการคิด การสรุปผล เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ อย่างไรก็ตามสมาชิก ก็สามารถ สวมหมวกน้ำเงิน ควบคุมบทบาทของหัวหน้าได้เช่นกัน ตัวอย่างคำถามที่ผู้สวมหมวกน้ำเงินสามารถนำไปใช้ได้ ได้แก่ เรื่องนี้ต้องการคิดแบบไหน ขั้นตอนของ เรื่องนี้คืออะไร เรื่องนี้จะสรุปอย่างไร ขอบเขตของปัญหาคืออะไร ขอให้คิดว่าเราต้องการอะไร และให้เกิดผลอย่างไร เรากำลังอยู่ในประเด็นที่กำหนดหรือไม่ เป็นต้น ผู้สวมหมวกน้ำเงินเปรียบเสมือนผู้ควบคุมวงดนตรีที่จะทำให้ผู้เล่นดนตรีแต่ละชิ้นบรรเลงสอดประสานกันได้อย่างไพเราะ ดังนั้น การควบคุมการคิดจึงต้อง เลือกใช้วิธีคิดของหมวกแต่ละใบอย่างเหมาะสม
BSRU กระบวนการคิดของ  Six Thinking Hats                  กระบวนการคิดของ  Six Thinking Hats  นั้นไม่มีรูปแบบตายตัว แต่จะทำการคิดโดยการสวมหมวกทีละใบ ซึ่งเอดเวิร์ด เดอ โบโน ไม่ได้กำหนดว่าควรจะสวมหมวกสีอะไรก่อนหลังเช่น เริ่มจากหมวกสีน้ำเงิน คือ สิ่งที่เราประสบอยู่ แล้วก็ไปค้นหาวิธีแก้ปัญหานั้นๆ ว่าจะมีทางออกอย่างไรบ้าง จากนั้นจึงมาตรวจสอบกับหมวกสีเหลืองว่า ถ้าทำอย่างนั้นจะมีประโยชน์อะไรบ้าง ตรวจสอบกับหมวกสีดำว่าจะมีปัญหา อุปสรรคอะไรไหม แล้วนำเอาหมวกสีเขียวมาแก้หมวกสีดำอีกที ตรวจสอบกับหมวกสีแดงว่าถูกใจทุกคนหรือไม่ ถ้าไม่ก็หาหมวกสีเขียวมาแก้อีกครั้งหนึ่ง แล้วถึงขั้นตอนสรุป คือหมวกสีน้ำเงิน ไม่จำเป็นต้องใช้หมวกทุกสี                  ดังนั้น  Six Thinking Hats จึงเหมาะสมกับการประชุมเพื่อทำการแก้ปัญหาตัดสินใจต่างในองค์กรได้อย่างดี และมีประสิทธิภาพ  
BSRU ประโยชน์ของการใช้  Six Thinking Hats 1.      เนื่องจากกระบวนการคิดแบบ  Six Thinking Hats  เป็นการเริ่มคิดในสิ่งเดียวกัน และคิดร่วมกันในประเด็นเดียวกัน ทำให้ลดความขัดแย้งในการประชุมลงไปได้มาก 2.      เนื่องจากระบบให้คนคิดทีละด้าน มองทีละด้าน จากด้านหนึ่งไปมองอีกด้านหนึ่ง ทำให้เห็นภาพจริงที่ชัดเจน เป็นผลให้ในเกิดการพิจารณาความคิดใหม่ ๆ ได้รอบคอบ 3.      การใช้  Six Thinking Hats  ช่วยให้ทุกคนอยากมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ทำให้เป็นการดึงเอาศักยภาพ ของแต่ละคนมาใช้โดยที่ไม่รู้ตัว 4.        ช่วยประหยัดเวลาในการประชุม เนื่องจาก ทุกคนในที่ประชุมมีความคิดแบบคู้ขนาน 5.        จำกัดโอกาสหรือช่องทางสำหรับการโต้เถียงหรือโต้แย้งกัน
BSRU สุรป                  เทคนิคการคิดแบบ  six thinking hats  จะเป็นการรวมความคิดด้านต่างๆ ไว้ครบถ้วนทุกด้าน ระบบให้คนคิดทีละด้าน มองทีละด้าน จากด้านหนึ่งไปมองอีกด้านหนึ่ง จะได้เห็นภาพจริงที่ชัดเจน  ทำให้พิจารณาความคิดใหม่ ๆ ได้รอบคอบ เป็นผลให้เกิดความคิดที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การคิดเป็นทักษะที่สามารถเรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนาได้ การใช้วิธีคิดแบบสวมหมวกคิด  six thinking hats  จะช่วยให้ผู้คิดสามารถคิดอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนในการคิดอย่าง สร้างสรรค์และสามารถแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้น
BSRU เอกสารอ้างอิง ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร . พิมพันธ์  เดชะคุปต์  ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษาคณะครุศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริกาญจน์  จันทร์เรือง สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ  มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ทักษิณ ชินวัตร ,  จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ และพรพิไล เลิศวิชา .  เด็กไทยใครว่าโง่ เปลี่ยนการเรียนรู้ของเด็กไทยให้ทันโลก .  กรุงเทพฯ  :  บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด  (  มหาชน  ) , 2548 . อารี สัณหฉวี และอุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์ . 15  สิงหาคม  2548.  พหุปัญญา  ( Online ).  Available URL:  http://www.thaigifted.org Armstrong T. 1994.  Multiple intelligence  (Online). Available URL:  http://www.thomasarmstrong.com/multiple_intelligences.htm Gardner H. 2005, August 15.  Intelligence in seven steps  . (Online). Available URL:  http://www.newhorizons.org/future/Creating_the_Future/crfut_gardner.html Multiple intelligences  (Online). Available URL:  http://www.newhorizons.org/strategies/mi/front_mi.htm Multiple intelligences (H. Gardner)  (Online). Available URL:  http://tip.psychology.org/gardner.html http://www.babybestbuy.in.th/shop/theory_of_multiple_intelligences     http://www.montfort.ac.th/mcs/dept/develop/News6hat.html http://portal.in.th/pjrattanapan-oab/pages/262/

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษAoyly Aoyly
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptอ๋อ จ้า
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
เฉลยข้อสอบ ภาษาไทย ม.1
เฉลยข้อสอบ ภาษาไทย ม.1เฉลยข้อสอบ ภาษาไทย ม.1
เฉลยข้อสอบ ภาษาไทย ม.1
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Ppt
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
 

Viewers also liked

หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐานพรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐานpiyanut2534
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)Boukee Singlee
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542Suwanan Nonsrikham
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติCapitano Oishi
 

Viewers also liked (7)

จิตวิทยาการบริหาร
จิตวิทยาการบริหารจิตวิทยาการบริหาร
จิตวิทยาการบริหาร
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐานพรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
 

Similar to ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)

ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...Padvee Academy
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์nopthai
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]teacherhistory
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์Sansana Siritarm
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) Padvee Academy
 
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมวิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมPrachoom Rangkasikorn
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา PresentKobchai Khamboonruang
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 

Similar to ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences) (20)

พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
_______2
  _______2  _______2
_______2
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
การใช้เหตุผล
การใช้เหตุผลการใช้เหตุผล
การใช้เหตุผล
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมวิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 

More from Namchai

รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 2559
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 2559รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 2559
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 2559Namchai
 
โครงการจิตอาสา 2559
โครงการจิตอาสา 2559โครงการจิตอาสา 2559
โครงการจิตอาสา 2559Namchai
 
Adverbs of frequency
Adverbs of frequencyAdverbs of frequency
Adverbs of frequencyNamchai
 
Morpho syntax assignments edit
Morpho syntax assignments editMorpho syntax assignments edit
Morpho syntax assignments editNamchai
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบNamchai
 
ย้อนรอย อดีต
ย้อนรอย อดีตย้อนรอย อดีต
ย้อนรอย อดีตNamchai
 
บัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลาบัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลาNamchai
 
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)Namchai
 
ข้อสอบ ทดสอบความรู้ ป.5 ศพอ
ข้อสอบ ทดสอบความรู้ ป.5 ศพอข้อสอบ ทดสอบความรู้ ป.5 ศพอ
ข้อสอบ ทดสอบความรู้ ป.5 ศพอNamchai
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานNamchai
 
Package tours เชียงรายพาเพลิน วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว
Package tours เชียงรายพาเพลิน วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยวPackage tours เชียงรายพาเพลิน วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว
Package tours เชียงรายพาเพลิน วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยวNamchai
 
Analysis of speech
Analysis of speechAnalysis of speech
Analysis of speechNamchai
 
Literal translation การแปลแบบตรงตัว
Literal translation การแปลแบบตรงตัว Literal translation การแปลแบบตรงตัว
Literal translation การแปลแบบตรงตัว Namchai
 

More from Namchai (14)

รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 2559
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 2559รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 2559
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 2559
 
โครงการจิตอาสา 2559
โครงการจิตอาสา 2559โครงการจิตอาสา 2559
โครงการจิตอาสา 2559
 
Adverbs of frequency
Adverbs of frequencyAdverbs of frequency
Adverbs of frequency
 
Morpho syntax assignments edit
Morpho syntax assignments editMorpho syntax assignments edit
Morpho syntax assignments edit
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
Condoms
CondomsCondoms
Condoms
 
ย้อนรอย อดีต
ย้อนรอย อดีตย้อนรอย อดีต
ย้อนรอย อดีต
 
บัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลาบัญชีลงเวลา
บัญชีลงเวลา
 
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
 
ข้อสอบ ทดสอบความรู้ ป.5 ศพอ
ข้อสอบ ทดสอบความรู้ ป.5 ศพอข้อสอบ ทดสอบความรู้ ป.5 ศพอ
ข้อสอบ ทดสอบความรู้ ป.5 ศพอ
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
Package tours เชียงรายพาเพลิน วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว
Package tours เชียงรายพาเพลิน วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยวPackage tours เชียงรายพาเพลิน วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว
Package tours เชียงรายพาเพลิน วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้นเพื่อการท่องเที่ยว
 
Analysis of speech
Analysis of speechAnalysis of speech
Analysis of speech
 
Literal translation การแปลแบบตรงตัว
Literal translation การแปลแบบตรงตัว Literal translation การแปลแบบตรงตัว
Literal translation การแปลแบบตรงตัว
 

ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)

  • 1. นายนำชัย แสนศิลป์ 5281123004 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ทฤษฎีพหุปัญญา ( Theory of Multiple Intelligences) และ การเรียนการสอนที่เน้นการคิด โดยใช้สมองทั้ง 2 ส่วน
  • 2. BSRU ทฤษฎีพหุปัญญา ( Theory of Multiple Intelligences)
  • 3. ทฤษฏีพหุปัญญา ของการ์ดเนอร์ ปัญญาด้านภาษา ปัญญาด้านตรรกและคณิตศาสตร์ ปัญญาด้าน มิติสัมพันธ์ ปัญญาด้านรอบรู้ธรรมชาติ ปัญญาด้านดนตรี ปัญญาด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย ปัญญาด้านสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ปัญญาด้านรู้จักตนเอง ทฤษฏีพหุปัญญา ของการ์ดเนอร์ ปัญญาด้านภาษา ปัญญาด้าน ตรรกและคณิตศาสตร์ ปัญญาด้าน มิติสัมพันธ์ ปัญญาด้าน รอบรู้ธรรมชาติ ปัญญาด้านดนตรี ปัญญาด้าน การเคลื่อนไหวการ ปัญญาด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล ปัญญาด้าน รู้จักตนเอง แผนภาพปัญหาทั้ง 8 ด้าน ตามทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ (Spencer,1998)
  • 4. BSRU ศาสตราจารย์โฮวาร์ด การ์ดเนอร์ ( Howard Gardner) นักจิตวิทยา มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เป็นผู้หนึ่งที่พยายามอธิบายให้เห็นถึงความสามารถที่หลากหลาย โดยคิดเป็น “ ทฤษฎีพหุปัญญา ”  ( Theory of Multiple Intelligences) เสนอแนวคิดว่า สติปัญญาของมนุษย์มีหลายด้านที่มีความสำคัญเท่าเทียมกัน ขึ้นอยู่กับว่าใครจะโดดเด่นในด้านไหนบ้าง แล้วแต่ละด้านผสมผสานกัน แสดงออกมาเป็นความสามารถในเรื่องใด เป็นลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละคนไป ในปี พ . ศ . 2526 การ์ดเนอร์ ได้เสนอว่าปัญญาของมนุษย์มีอยู่อย่างน้อย 7 ด้าน คือ ด้านภาษา ด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว ด้านดนตรี ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านการเข้าใจตนเอง ต่อมาในปี พ . ศ . 2540 ได้เพิ่มเติมเข้ามาอีก 1 ด้าน คือ ด้านธรรมชาติวิทยา เพื่อให้สามารถอธิบายได้ครอบคลุมมากขึ้น จึงสรุปได้ว่า พหุปัญญา ตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ ในปัจจุบันมีปัญญาอยู่อย่างน้อย 8 ด้าน ดังนี้
  • 5. BSRU 1.  ปัญญาด้านภาษา ( Linguistic Intelligence) คือ ความสามารถในการใช้ภาษารูปแบบต่างๆ ตั้งแต่ภาษาพื้นเมือง จนถึงภาษาอื่นๆ ด้วย สามารถรับรู้ เข้าใจภาษา และสามารถสื่อภาษาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ตามที่ต้องการ ผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น ก็มักเป็น กวี นักเขียน นักพูด นักหนังสือพิมพ์ ครู ทนายความ หรือนักการเมือง
  • 6. BSRU 2.  ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์   ( Logical-Mathematical Intelligence) คือ ความสามารถในการคิดแบบมีเหตุและผล การคิดเชิงนามธรรม การคิดคาดการณ์ และการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ ผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น ก็มักเป็น นักบัญชี นักสถิติ นักคณิตศาสตร์ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ นักเขียนโปรแกรม หรือวิศวกร
  • 7. BSRU 3.  ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ ( Visual-Spatial Intelligence) คือ ความสามารถในการรับรู้ทางสายตาได้ดี สามารถมองเห็นพื้นที่ รูปทรง ระยะทาง และตำแหน่ง อย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แล้วถ่ายทอดแสดงออกอย่างกลมกลืน มีความไวต่อการรับรู้ในเรื่องทิศทาง สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น จะมีทั้งสายวิทย์ และสายศิลป์ สายวิทย์ ก็มักเป็น นักประดิษฐ์ วิศวกร ส่วนสายศิลป์ ก็มักเป็นศิลปินในแขนงต่างๆ เช่น จิตรกร วาดรูป ระบายสี เขียนการ์ตูน นักปั้น นักออกแบบ ช่างภาพ หรือสถาปนิก เป็นต้น
  • 8. BSRU 4.  ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว ( Bodily Kinesthetic Intelligence) คือ ความสามารถในการควบคุมและแสดงออกซึ่งความคิด ความรู้สึก โดยใช้อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย รวมถึงความสามารถในการใช้มือประดิษฐ์ ความคล่องแคล่ว ความแข็งแรง ความรวดเร็ว ความยืดหยุ่น ความประณีต และความไวทางประสาทสัมผัส สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักกีฬา หรือไม่ก็ศิลปินในแขนง นักแสดง นักฟ้อน นักเต้น นักบัลเล่ย์ หรือนักแสดงกายกรรม
  • 9. BSRU 5.  ปัญญาด้านดนตรี ( Musical Intelligence) คือ ความสามารถในการซึมซับ และเข้าถึงสุนทรียะทางดนตรี ทั้งการได้ยิน การรับรู้ การจดจำ และการแต่งเพลง สามารถจดจำจังหวะ ทำนอง และโครงสร้างทางดนตรีได้ดี และถ่ายทอดออกมาโดยการฮัมเพลง เคาะจังหวะ เล่นดนตรี และร้องเพลง สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักดนตรี นักประพันธ์เพลง หรือนักร้อง
  • 10. BSRU 6.  ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ ( Interpersonal Intelligence) คือ ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น ทั้งด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และเจตนาที่ซ่อนเร้นอยู่ภายใน มีความไวในการสังเกต สีหน้า ท่าทาง น้ำเสียง สามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม สร้างมิตรภาพได้ง่าย เจรจาต่อรอง ลดความขัดแย้ง สามารถจูงใจผู้อื่นได้ดี เป็นปัญญาด้านที่จำเป็นต้องมีอยู่ในทุกคน แต่สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นครูบาอาจารย์ ผู้ให้คำปรึกษา นักการฑูต เซลแมน พนักงานขายตรง พนักงานต้อนรับ ประชาสัมพันธ์ นักการเมือง หรือนักธุรกิจ
  • 11. BSRU 7.  ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง ( Intrapersonal Intelligence) คือ ความสามารถในการรู้จัก ตระหนักรู้ในตนเอง สามารถเท่าทันตนเอง ควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ และสถานการณ์ รู้ว่าเมื่อไหร่ควรเผชิญหน้า เมื่อไหร่ควรหลีกเลี่ยง เมื่อไหร่ต้องขอความช่วยเหลือ มองภาพตนเองตามความเป็นจริง รู้ถึงจุดอ่อน หรือข้อบกพร่องของตนเอง ในขณะเดียวกันก็รู้ว่าตนมีจุดแข็ง หรือความสามารถในเรื่องใด มีความรู้เท่าทันอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความคาดหวัง ความปรารถนา และตัวตนของตนเองอย่างแท้จริง เป็นปัญญาด้านที่จำเป็นต้องมีอยู่ในทุกคนเช่นกัน เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีความสุข สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักคิด นักปรัชญา หรือนักวิจัย
  • 12. BSRU 8.  ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา ( Naturalist Intelligence) คือ ความสามารถในการรู้จัก และเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง เข้าใจกฎเกณฑ์ ปรากฏการณ์ และการรังสรรค์ต่างๆ ของธรรมชาติ มีความไวในการสังเกต เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปของธรรมชาติ มีความสามารถในการจัดจำแนก แยกแยะประเภทของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ สำหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักธรณีวิทยา นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย หรือนักสำรวจธรรมชาติ
  • 13. BSRU ทฤษฎีนี้ได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายในกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเน้นความสำคัญใน 3 เรื่องหลัก ดังนี้ 1.  แต่ละคน ควรได้รับการส่งเสริมให้ใช้ปัญญาด้านที่ถนัด เป็นเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้ 2.  ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ควรมีรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้สอดรับกับปัญญาที่มีอยู่หลายด้าน 3.  ในการประเมินการเรียนรู้ ควรวัดจากเครื่องมือที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถครอบคลุมปัญญาในแต่ละด้าน  
  • 14. BSRU ทฤษฎีพหุปัญญา ของการ์ดเนอร์ ชี้ให้เห็นถึงความหลากหลายทางปัญญาของมนุษย์ ซึ่งมีหลายด้าน หลายมุม แต่ละด้านก็มีความอิสระในการพัฒนาตัวของมันเองให้เจริญงอกงาม ในขณะเดียวกันก็มีการบูรณาการเข้าด้วยกัน เติมเต็มซึ่งกันและกัน แสดงออกเป็นเอกลักษณ์ทางปัญญาของมนุษย์แต่ละคน คนหนึ่งอาจเก่งเพียงด้านเดียว หรือเก่งหลายด้าน หรืออาจไม่เก่งเลยสักด้าน แต่ที่ชัดเจน คือ แต่ละคนมักมีปัญญาด้านใดด้านหนึ่งโดดเด่นกว่าเสมอ ไม่มีใครที่มีปัญญาทุกด้านเท่ากันหมด หรือไม่มีเลยสักด้านเดียว นับเป็นทฤษฎีที่ช่วยจุดประกายความหวัง เปิดกระบวนทัศน์ใหม่ในการศึกษาด้านสติปัญญาของมนุษย์ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ทั้งในกลุ่มเด็กปกติ เด็กที่มีความบกพร่อง และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
  • 15. BSRU เทคนิคหมวก 6 ใบ Six Thinking Hats เทคนิคการคิดอย่างมีระบบ คิดอย่างมีโฟกัส มีการจำแนกความคิดออกเป็นด้านๆ และคิดอย่างมีคุณภาพ เพื่อช่วยจัดระเบียบการคิด ทำให้การคิดมีประสิทธิภาพมากขึ้น แนวคิดหลัก “การคิด” เป็นทักษะช่วยดึงเอาความรู้และประสบการณ์ของผู้คิดมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ทักษะความคิดจึงมีความสำคัญที่สุด (Edward de Bono )
  • 16. BSRU     ดร .  Edward de Bono ( เอดเวิร์ด เดอ โบโน )  ได้ทำการคิดค้นเทคนิคการคิด  six thinking hats  ขึ้นมาเพื่อเป็นระบบความคิดที่ทำ ให้ผู้เรียนมีหลักในการจำแนกความคิดออกเป็น  6  ด้าน ทำให้สามารถแก้ปัญหาและตัดสินใจด้วยการคิดทีละด้านอย่างเป็นระบบ เป็นการเพิ่มศักยภาพให้ทักษะการคิด ทำให้ไม่คิดกระโดดไปกระโดดมา หรือคิดพร้อมกันทุกอย่างในเวลาเดียวกัน ซึ่งทำให้สับสนใช้เวลานาน และสรุปไม่ได้
  • 17. BSRU 1.    White Hat  หรือ หมวกสีขาว  หมายถึง  ข้อมูลเบื้องต้นของสิ่งนั้น เป็นความคิดแบบไม่ใช้อารมณ์ และมีเป้าประสงค์ที่ชัดเจน แน่นอน ตรงไปตรงมา ไม่ต้องการความคิดเห็น สีขาวเป็นสีที่ชี้ให้เห็นถึงความเป็นกลาง จึงเกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริง จำนวนตัวเลข เมื่อสวมหมวกสีนี้ หมายความว่าที่ประชุมต้องการข้อเท็จจริงเท่านั้น โดยปกติแล้วเรามักจะ ใช้หมวกขาวตอนเริ่มต้นของกระบวนการคิดเพื่อเป็นพื้นฐานของความคิดที่กำลังจะเกิดขึ้นแต่เราก็ใช้หมวกขาวในตอนท้ายของกระบวนการได้เหมือนกัน เพื่อทำการประเมิน อย่างเช่นข้อเสนอโครงการต่างๆของเราเหมาะสมกับข้อมูลที่มีอยู่หรือไม่        Six Thinking Hats   จะประกอบด้วยหมวก  6  ใบ  6  สี คือ
  • 18. BSRU 2.   Red Hat   หรือ หมวกสีแดง  หมายถึง ความรู้สึก สัญชาตญาณ และลางสังหรณ์ เมื่อสวมหมวกสีนี้ เราสามารถบอกความรู้สึกของตนเองว่าชอบ ไม่ชอบ ดี ไม่ดี มีการใช้อารมณ์ ความคิดเชิงอารมณ์ซึ่งส่วนใหญ่การแสดงอารมณ์จะไม่มีเหตุผลประกอบ หรือการตระหนักรู้โดยฉับพลันซึ่งก็คือ เรื่องบางเรื่องที่เคยเข้าใจในแบบหนึ่ง อยู่ๆก็เกิดเข้าใจในอีกแง่มุมหนึ่ง ซึ่งการตระหนักรู้แบบนี้จะทำให้เกิดงานสร้างสรรค์ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ หรือวิธีคิดทางคณิตศาสตร์แบบก้าวกระโดด ความคิดความเข้าใจในสถานการณ์โดยทันที ซึ่งเป็นผลจากการใคร่ครวญอันซับซ้อนที่มีพื้นฐานจากประสบการณ์ เป็นการตัดสินที่ไม่อาจให้รายละเอียดหรืออธิบายได้ด้วยคำพูด เช่นเวลาที่คุณจำเพื่อนคนหนึ่งได้ คุณก็จำได้ในทันที
  • 19. BSRU 3.  Black Hat  หรือ หมวกสีดำ  หมายถึง ข้อควรคำนึงถึง สิ่งที่ทำให้เราเห็นว่า เราไม่ควรทำ  เป็นการคิดในเชิงระมัดระวัง หมวกสีดำ เป็นหมวกคิดที่เป็นธรรมชาติและสอดคล้องกับวิธีการคิดของตะวันตกมาก หมวกสีดำช่วยชี้ให้เราเห็นว่าสิ่งใดผิด สิ่งใดไม่สอดคล้องและสิ่งใดใช้ไม่ได้ มันช่วยปกป้องเราจากการเสียเงินและพลังงาน ช่วยป้องกันไม่ให้เราทำอะไรอย่างโง่เขลาเบาปัญญา และผิดกฎหมาย หมวกสีดำ เป็นหมวกคิดที่มีเหตุมีผลเสมอ เพราะในการวิพากษ์วิจารณ์  หรือวิเคราะห์สิ่งใดจะต้องมีการคิดแบบเป็นเหตุเป็นผลรองรับ ไม่มีอารมณ์มาเกี่ยวข้อง ในการประเมินสถานการณ์ในอนาคตของเรานั้น ต้องขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของเราเองและของผู้อื่นด้วย
  • 20. BSRU 4.  Yellow Hat  หรือ หมวกสีเหลือง  หมายถึง การคาดการณ์ในทางบวก ความคิดเชิงบวก เป็นการมองโลกในแง่ดี การมองที่เป็นประโยชน์  เป็นการคิดที่ก่อให้เกิดผล หรือทำให้สิ่งต่างๆเกิดขึ้นได้  การคิดเชิงบวกเป็นการเปิดโอกาสให้พัฒนาและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ความคิดเชิงลบอาจป้องกันเราจากความผิดพลาด ความเสี่ยง และอันตรายที่อาจเกิดขึ้น  ดังนั้นการคิดเชิงบวกต้องผสมผสานความสงสัยใคร่รู้ ความสุข ความต้องการ และความกระหายที่จะทำสิ่งต่างๆให้เกิดขึ้นหรือไม่
  • 21. BSRU 5.   Green Hat  หรือ หมวกสีเขียว  หมายถึง ความคิดนอกกรอบที่มีความสัมพันธ์กับความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงแนวคิดและมุมมองซึ่งปกติมักถูกกำหนดจากระบบความคิดของประสบการณ์ดั้งเดิม และความคิดนอกกรอบนั้นจะอาศัยข้อมูลจากระบบของตัวเราเอง โดยเมื่อสวมหมวกสีนี้ จะแสดงความคิดใหม่ๆ เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น การคิดอย่างสร้างสรรค์
  • 22. BSRU 6. Blue Hat หรือ หมวกสีน้ำเงิน หมายถึง การควบคุม และการบริหารกระบวน การคิด เพื่อให้เกิดความชัดเจนในเรื่องของความคิดรวบยอด ข้อสรุป การยุติข้อขัดแย้ง การมองเห็นภาพและการดำเนินการที่มีขั้นตอนเป็นระบบ เมื่อมีการใช้หมวกน้ำเงิน หมายถึง ต้องการให้มีการควบคุมสิ่งต่างๆ ให้อยู่ในระบบระเบียบที่ดี และถูกต้องหมวกสีน้ำเงินมักเป็นบทบาทของหัวหน้า ทำหน้าที่ควบคุมบทบาทของสมาชิก ควบคุมการดำเนินการประชุม การอภิปราย การทำงาน ควบคุมการใช้กระบวนการคิด การสรุปผล เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ อย่างไรก็ตามสมาชิก ก็สามารถ สวมหมวกน้ำเงิน ควบคุมบทบาทของหัวหน้าได้เช่นกัน ตัวอย่างคำถามที่ผู้สวมหมวกน้ำเงินสามารถนำไปใช้ได้ ได้แก่ เรื่องนี้ต้องการคิดแบบไหน ขั้นตอนของ เรื่องนี้คืออะไร เรื่องนี้จะสรุปอย่างไร ขอบเขตของปัญหาคืออะไร ขอให้คิดว่าเราต้องการอะไร และให้เกิดผลอย่างไร เรากำลังอยู่ในประเด็นที่กำหนดหรือไม่ เป็นต้น ผู้สวมหมวกน้ำเงินเปรียบเสมือนผู้ควบคุมวงดนตรีที่จะทำให้ผู้เล่นดนตรีแต่ละชิ้นบรรเลงสอดประสานกันได้อย่างไพเราะ ดังนั้น การควบคุมการคิดจึงต้อง เลือกใช้วิธีคิดของหมวกแต่ละใบอย่างเหมาะสม
  • 23. BSRU กระบวนการคิดของ  Six Thinking Hats                  กระบวนการคิดของ  Six Thinking Hats  นั้นไม่มีรูปแบบตายตัว แต่จะทำการคิดโดยการสวมหมวกทีละใบ ซึ่งเอดเวิร์ด เดอ โบโน ไม่ได้กำหนดว่าควรจะสวมหมวกสีอะไรก่อนหลังเช่น เริ่มจากหมวกสีน้ำเงิน คือ สิ่งที่เราประสบอยู่ แล้วก็ไปค้นหาวิธีแก้ปัญหานั้นๆ ว่าจะมีทางออกอย่างไรบ้าง จากนั้นจึงมาตรวจสอบกับหมวกสีเหลืองว่า ถ้าทำอย่างนั้นจะมีประโยชน์อะไรบ้าง ตรวจสอบกับหมวกสีดำว่าจะมีปัญหา อุปสรรคอะไรไหม แล้วนำเอาหมวกสีเขียวมาแก้หมวกสีดำอีกที ตรวจสอบกับหมวกสีแดงว่าถูกใจทุกคนหรือไม่ ถ้าไม่ก็หาหมวกสีเขียวมาแก้อีกครั้งหนึ่ง แล้วถึงขั้นตอนสรุป คือหมวกสีน้ำเงิน ไม่จำเป็นต้องใช้หมวกทุกสี                  ดังนั้น  Six Thinking Hats จึงเหมาะสมกับการประชุมเพื่อทำการแก้ปัญหาตัดสินใจต่างในองค์กรได้อย่างดี และมีประสิทธิภาพ  
  • 24. BSRU ประโยชน์ของการใช้  Six Thinking Hats 1.      เนื่องจากกระบวนการคิดแบบ  Six Thinking Hats  เป็นการเริ่มคิดในสิ่งเดียวกัน และคิดร่วมกันในประเด็นเดียวกัน ทำให้ลดความขัดแย้งในการประชุมลงไปได้มาก 2.      เนื่องจากระบบให้คนคิดทีละด้าน มองทีละด้าน จากด้านหนึ่งไปมองอีกด้านหนึ่ง ทำให้เห็นภาพจริงที่ชัดเจน เป็นผลให้ในเกิดการพิจารณาความคิดใหม่ ๆ ได้รอบคอบ 3.      การใช้  Six Thinking Hats  ช่วยให้ทุกคนอยากมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ทำให้เป็นการดึงเอาศักยภาพ ของแต่ละคนมาใช้โดยที่ไม่รู้ตัว 4.        ช่วยประหยัดเวลาในการประชุม เนื่องจาก ทุกคนในที่ประชุมมีความคิดแบบคู้ขนาน 5.        จำกัดโอกาสหรือช่องทางสำหรับการโต้เถียงหรือโต้แย้งกัน
  • 25. BSRU สุรป                  เทคนิคการคิดแบบ  six thinking hats  จะเป็นการรวมความคิดด้านต่างๆ ไว้ครบถ้วนทุกด้าน ระบบให้คนคิดทีละด้าน มองทีละด้าน จากด้านหนึ่งไปมองอีกด้านหนึ่ง จะได้เห็นภาพจริงที่ชัดเจน  ทำให้พิจารณาความคิดใหม่ ๆ ได้รอบคอบ เป็นผลให้เกิดความคิดที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การคิดเป็นทักษะที่สามารถเรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนาได้ การใช้วิธีคิดแบบสวมหมวกคิด  six thinking hats  จะช่วยให้ผู้คิดสามารถคิดอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนในการคิดอย่าง สร้างสรรค์และสามารถแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้น
  • 26. BSRU เอกสารอ้างอิง ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร . พิมพันธ์ เดชะคุปต์ ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษาคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริกาญจน์ จันทร์เรือง สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ทักษิณ ชินวัตร ,  จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ และพรพิไล เลิศวิชา .  เด็กไทยใครว่าโง่ เปลี่ยนการเรียนรู้ของเด็กไทยให้ทันโลก .  กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด ( มหาชน ) , 2548 . อารี สัณหฉวี และอุษณีย์ อนุรุทธ์วงศ์ . 15 สิงหาคม 2548.  พหุปัญญา  ( Online ).  Available URL:  http://www.thaigifted.org Armstrong T. 1994.  Multiple intelligence  (Online). Available URL:  http://www.thomasarmstrong.com/multiple_intelligences.htm Gardner H. 2005, August 15.  Intelligence in seven steps  . (Online). Available URL:  http://www.newhorizons.org/future/Creating_the_Future/crfut_gardner.html Multiple intelligences  (Online). Available URL:  http://www.newhorizons.org/strategies/mi/front_mi.htm Multiple intelligences (H. Gardner)  (Online). Available URL:  http://tip.psychology.org/gardner.html http://www.babybestbuy.in.th/shop/theory_of_multiple_intelligences     http://www.montfort.ac.th/mcs/dept/develop/News6hat.html http://portal.in.th/pjrattanapan-oab/pages/262/