SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
Total Parenteral nutrition
(TPN)
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดา
แบบองค์รวม
นางบัญญัติ ผ่านจังหาร
พยาบาลวิชาชีพ
18 เมษายน 2557
การให้อาหารทางหลอดเลือดดา บางครั้งเรียกว่า
Hyperalimentation ( Hyper = มาก, alimentation = ทางเดิน
อาหาร ) ซึ่งเป็นความหมายที่ผิด เพราะการให้วิธีนี้ไม่ได้ให้
มากกว่าความต้องการ ที่จะให้ผ่านทางเดินอาหาร โดยทั่งไป
จะมีคาที่ใช้หลายอย่าง เช่น “Parenteral nutrition” หรือ
“Parenteral hyperalimantation” หรือ “Hyperalimentation”
หรือ “Intravenous hyperalimentation”
วิธีการให้อาหารทางหลอดเลือดดาได้ 2 ทาง คือ
 ให้แบบบางส่วน ( Partial parenteral nutrition )
 ให้แบบสมบูรณ์ ( Total parenteral nutrition )
การให้แบบบางส่วน นิยมให้เมื่อผู้ป่วยรับประทานอาหารเองได้น้อย
แพทย์ให้อาหารเพิ่มเติมส่วนที่ขาด เมื่อใดผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ตามที่กล่าวแล้ว จะให้
แบบสมบูรณ์ หรือให้ทาง Central vein feeding
การให้อาหารทางหลอดเลือดดาส่วนกลาง ( Central vein feeding )
เนื่องจากสารละลายที่ให้มีความเข้มข้นสูง osmolarity จากสารละลายกลูโคส
amino acid และ เกลือแร่ต่างๆ จะได้ประมาณ 2,000 mOsm/ลิตร ซึ่งไม่
สามารถให้ทางหลอดเลือดดาธรรมดาได้ จึงต้องให้ทางหลอดเลือดดา
ส่วนกลาง โดยให้ปลายอยู่ที่ Superior vena cava อัตราการไหลของเลือดเร็ว
ช่วยเจือจางสารอาหาร โอกาสที่จะเกิดหลอดเลือดดาอักเสบจากสารละลาย
เข้มข้นจึงพบน้อยวิธีที่ใช้กันแพร่หลายคือ percutaneous subclavian
catheterization ซึ่งอาจเข้าทาง supraclavicle หรือ intraclavicle หรือ
internal jugular vein, external jugular vein และ femeral vein ในบางกรณี
อาจต้องใส่สายสวนโดยผ่าตัดให้เห็นหลอดเลือดดาก่อนใส่สายสวน
ตาแหน่งที่ดีที่สุดและพบโรคแทรก
ซ้อนน้อยที่สุดคือ การเข้าทาง
Infraclavicular หรือ Subclavian
ห้ามทาในกรณีที่บริเวณนั้นมีการติด
เชื้อ, Hematoma, มีรอยผ่าตัดใหม่ๆ,
มี fistulas, มีการฉายรังสี, มีแผล
burn, มีมะเร็ง หรืผู้ป่วยเป็นโรคปอด
ระยะสุดท้าย ถ้าแทงครั้งแรกไม่ได้ผล
ข้างตรงข้ามเป็นตาแหน่งที่จะแทง
ต่อไป แต่ต้องไม่พบโรคแทรกซ้อน
จากการแทงครั้งแรก
 การใส่สายอาหารทางหลอดเลือดดาต้องทาโดยวิธี
ปราศจากเชื้อ ถ้าเป็นไปได้ควรจะทาในห้องผ่าตัด ผู้แทง
ต้องใส่หมวกและผ้าปิดจมูก ใส่เสื้อกาวน์ จัดท่าผู้ป่วยให้
อยู่ในท่า trendelenberg หัวต่าประมาณ 15 องศา
เพื่อให้หลอดเลือดดาที่คอโป่ง และป้องกัน air embolism
ขณะที่ใส่สายสวน ใช้หมอนหนุนตามความยาวของ
กระดูกสันหลังให้ไหล่ทั้งสองข้างตกลงแขนแนบลาตัว หัน
หน้าไปด้านตรงข้ามกับด้านที่จะแทงทาความสะอาด
ผิวหนังบริเวณลาคอและทรวงอก กาจัดไขมันด้วย
acetone และทาด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ providone iodine
กระบวนการในการบริหารสารละลาย
ทางหลอดเลือดดา
การสั่งสารละลายอาหารที่ให้ทางเส้นเลือดดา
 แนะนาให้มี standardized order forms เพื่อช่วยให้การเขียนคาสั่ง
การรักษามีความสมบูรณ์ และ หลีกเลี่ยงความผิดพลาดในการสั่ง
 แพทย์ เภสัชกร หรือ นักกาหนดอาหาร ควรประเมินชนิด
องค์ประกอบ การผสมให้ได้มาตรฐาน ตามที่ประมาณการไว้
 การแสดงส่วนผสมสารละลาย
 สารละลายที่ใช้ต้องมีสลากที่แสดงส่วนผสมไว้โดยละเอียด บน
ภาชนะบรรจุ
 สารละลายที่ใช้ต้องมี สลากกากับ องค์ประกอบ และปริมาณที่ให้ใน
24 ชั่วโมง
การทบทวนคาสั่งการให้สารละลายทางหลอดเลือดดา
ควรมีการทบทวน การคานวณ ปริมาณสารอาหารใน
สารละลาย ความเข้ากันได้ของส่วนผสม อัตราการให้และวิธีการ
ควบคุมอัตราการให้สารอาหาร ให้เหมาะสมกับสถานภาพของ
ผู้ป่วยก่อนการเริ่มให้สารอาหาร
การตรวจสอบก่อนการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดา
มีการตรวจสอบว่าสารอาหารถุงหรือ
ขวดที่กาลังจะให้แก่ผู้ป่วย เป็นสารอาหาร
ของผู้ป่วยรายนั้นจริง และ เป็นชนิด
ที่ตรงกับคาสั่งแพทย์
วิธีบริหารสารอาหารอาหารทางหลอดเลือดดา
 โดยทั่วไปควรให้พลังงานและสารอาหารได้ตาม
เป้าหมายภายใน 2 – 3 วัน โดยในวันแรกควรเริ่มไม่เกิน
ครึ่งหนึ่งของสารอาหารที่ควรได้รับ
 ผู้ป่วยที่มีภาวะทุพโภชนาการรุนแรงควรจะเริ่มให้ไม่เกิน
1 ใน 4 ของความต้องการพลังงานทั้งหมด และเพิ่ม
ปริมาณขึ้นเรื่อยๆเพื่อให้ได้ตามความต้องการที่กาหนด
ภายใน 3 – 5 วัน
การเฝ้าระวัง
ผู้ป่วยทุกรายที่ให้สารอาหารทางหลอดเลือด ต้อง
มาตรฐานเฝ้าระวังโรคแทรกซ้อน และสัมฤทธิผลจากการให้
สารอาหาร ต้องมีระบบการเฝ้าระวัง ระบบการตรวจสอบซึ่งมี
องค์ประกอบดังนี้
การติดเชื้อ
 Catheter related infection
Miscellaneous
 การตกตะกอนของ
สารละลาย
 ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
Metabolic
 ปริมาณสารอาหารได้
ตามที่กาหนด
 ปริมาตรของสารละลาย
 ระดับน้าตาล
 ระดับอิเลคโตรไลท์
Mechanical
 การแทง catheter
แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ให้ TPN
การดูแลผู้ป่วยที่ให้สารอาหารทางหลอดเลือดดาส่วนกลาง
( Central venous catheter ) เป็นเรื่องสาคัญเนื่องจากสาย
สวนที่ใส่ผ่านเส้นเลือดนั้นอยู่ใกล้หัวใจเป็นอย่างมาก ซึ่งอาจ
ทาให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย ดังนั้นเป้าหมาย
ของการดูแลผู้ป่วยเหล่านี้ คือ
 ป้องกันการติดเชื้อ ( asepsis )
 มีความปลอดภัย ( safety )
 ผู้ป่วยสุขสบาย ( comfort)
แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ให้ TPN
ก่อนการให้ TPN
ควรเจาะเลือดส่งตรวจ P1, CBC, Urinalysis, Mg และ
Prealbumin ( ถ้ายังไม่เคยมีผลมาก่อน )
ชั่งน้าหนัก และ วัดส่วนสูง ( BMI )
ตรวจวัด Intake / Out put
หมายเหตุ : P1 ( Screen lab ) คือ Na, K, Cl, Co2, Alkaline
Phosphatase, Aspartate aminotransferase, Alinine
aminotransferase, Gamma – glutamyl transferase, Total
protein, Albumin, Calcium, Inorganic phosphate, Urea,
Glucose, Creatinine, Uric acid, Triglyceride, Total
cholesterol, Total bilirubin, Direct bilirubin
เมื่อได้รับ TPN ( หลัง X – Ray ดูตาแหน่ง catheter แล้ว )
ชั่งน้าหนักทุกวัน หรือ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ทุกวันจันทร์และวันพฤหัสบดี
ตรวจวัด Intake / Out put ทุกวัน
ตรวจ CBG ( Capillary blood glucose ) ทุก 6 ชั่วโมง ในสัปดาห์
แรกหาก blood glucose stable ให้ตรวจ CBG OD.
เจาะเลือดตรวจ P1, Mg และเก็บ Urine 24 hrs. ส่งตรวจ UUN
( urinary uria niyrogen ) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือทุกวันจันทร์เพื่อ
ประเมินผลการให้โภชนบาบัด
ห้ามเจาะเลือด ฉีดยาหรือให้เลือดผ่านทาง catheter ยกเว้นในกรณีที่
มีความจาเป็น ต้องทาด้วยความระมัดระวัง โดยเฉพาะเรื่อง aseptic
technic
กรณีที่ catheter หลุด ให้แจ้งแพทย์ และให้ 10% DN½ 1,000 cc.
ทันทีทางหลอดเลือดดาส่วนปลาย ในอัตรา 100 – 125 ml/hr.
เมื่อผู้ป่วยมีไข้ 38 – 38.4 co 3 ครั้ง ภายใน 24 ชั่วโมง
หรือสูงกว่า 38.4 co ครั้งเดียวให้แจ้งแพทย์ และปฏิบัติ ดังนี้
ใช้ disposable syringe 5 ml. ดูดเลือดผสม IV ทาง
catheter ทิ้งไป และ ใช้ disposable syringe 5 ml. อันใหม่
ดูดเลือดส่ง Hemo C/S 1 specimen
ดูดเลือดทาง peripheral vein 5 ml. ส่ง Hemo C/S 1
specimen
ให้ swab ผิวหนังรอบๆ แผล กรณีที่มีการอักเสบและส่ง
C/S 1 specimen
ทา heparin lock ที่ TPN catheter
ให้ 10% DN½ 1,000 cc. ทางหลอดเลือดดาส่วนปลาย
แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการติดเชื้อทาง catheter
◦ ภายใน 24 ชั่วโมง ถ้าไม่มีไข้ ให้ 0.9% NSS ทาง TPN catheter
( รอผล C/S )
◦ หลัง 24 ชั่วโมงไปแล้ว ถ้ามีไข้กลับมาอีก ภายใน 4 – 12 ชั่วโมง
ให้ปฏิบัติดังนี้
 Off catheter และตัด tip ส่ง C/S ส่วนใหญ่เป็น catheter sepsis
 กรณีผู้ป่วยต้องรีบให้ TPN ต่อ ต้องแทง Catheter ใหม่ด้านตรงข้าม
เพื่อให้ยา Antibiotic
 กรณีที่ไม่สามารถหาเส้นแทงใหม่ได้ให้ Antibiotic ทาง catheter
เดิม จนกระทั่งผล C/S ได้ผล Negative จึงเริ่มให้ TPN ใหม่
 ถ้าผล C/S ได้ผล Negative จึงเริ่มให้ TPN ใหม่
 ถ้าผล C/S กลับมาเป็น Negative เริ่มให้ TPN ต่อได้
ข้อสังเกต หลังทา heparin lock ภายใน 24 ชั่วโมง ถ้าไข้ยังคงสูง
แสดงว่าไม่ได้เกิดการติดเชื้อที่ TPN catheter
มาตรฐานการทาหัตถกรรม
ในการใส่สายสวนหลอดเลือดดา
ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์
 2% chlorhexidine in 70% alcohol
 หมวก ผ้าปิดปาก เสื้อคลุม ( Gown ) และถุงมือที่ปลอดเชื้อ
อย่างน้อย 2 ชุด สาหรับผู้ใส่ catheter และผู้ช่วย
 Andural sheet 1 ชุด
 เข็ม sterile เบอร์ 18, 23 อย่างละ 1 ชิ้น
 NSS 50 ml. ขวดใหม่ และ IV set
 1% Xylocain without adrenaline
การดูแล Central Venous Catheter
ขั้นตอนวิธีการเปลี่ยน Dressing ที่หอผู้ป่วย
การเตรียม
เตรียมอุปกรณ์ sterile dressing set
ใส่ mask
ล้างมือ
เปิด dressing เดิมของผู้ป่วย
ตรวจดูแผลบริเวณ catheter ว่ามีการอักเสบ ปวด บวม
แดง ลักษณะและสีของ discharge ถ้าสงสัยว่าแผลมีการ
อักเสบ รายงานแพทย์ และบันทึกลงใน chart record
ล้างมืออีกครั้งแล้วจึงสวมถุงมือ sterile ก่อนเปิด sterile
dressing set ด้วยวิธี aseptic techic
การ dressing แผล
• การ dressing แผลควรเปิดหลังจากใส่สายสวน
แล้ว 24 ชั่วโมง
ถ้าใช้ transparent dressing เปลี่ยนทุก 7 วัน
ถ้าใช้ gauze dressing เปลี่ยนทุก 2 วัน
เปลี่ยน dressing ทันทีเมื่อสกปรก เปียกชื้นหรือ
หลุด ลงบันทึกวันที่ ลักษณะแผลและชื่อผู้ที่ทาแผล
ในบันทึกผู้ป่วย
การปิดแผล
 ปิดแผลด้วย sterile gauze แล้วปิดทับด้วย
transparent dressing เมื่อแผลแห้งดีใช้ transparent
dressing คลุมปิด catheter ที่โผล่ออกนอกผิวหนัง และ
ผิวหนังรอบๆในระยะประมาณ 1 – 2 นิ้ว
 ยึดสาย catheter อีกครั้งเพื่อป้องกันมิให้ catheter
เลื่อน โดยใช้ micropore
 ลงวันที่ เวลา และชื่อผู้ทาบนขอบของ dressing ทุกครั้ง
 ตรวจอัตราการไหลของ TPN ให้ตรงตามแผนการรักษา
หมายเหตุ :ระหว่างการทาความสะอาดแผลต้องระวัง
อย่าให้สารละลาย TPN หยุดไหลเพราะสาย catheter
จะอุดตันได้ง่าย ทาให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
เทคนิคพิเศษการดูแลข้อต่อ
 ก่อนและหลังการ disconnect ข้อต่อทุกๆข้อให้ใช้
Alcohol spray หรือเช็ดด้วย 70% alcohol และหุ้มข้อ
ต่อต่างๆด้วย sterile gauze
 กรณีที่ไม่ได้ปลดข้อต่อ ให้เปลี่ยนข้อต่อพร้อม IV set
ทุกๆ 3 วัน
 บริเวณรอยต่อระหว่างหัวเสียบ set กับขวด TPN หุ้ม
ด้วย sterile gauze
การเปลี่ยน Set IV และขวดที่ให้ TPN
 เตรียมอุปกรณ์สาหรับเปลี่ยนและผ้า sterile เพื่อรองรับอุปกรณ์
 ใส่ mask
 ก่อนและหลังเปลี่ยน Set IV และขวดที่ให้ TPN ต้องล้างมือและเช็ด
บริเวณรอบข้อต่อด้วย 70% alcohol
 Set ที่ให้ Fat emulsion และ Human albumin เปลี่ยนทุก 24 ชั่วโมง
ถ้าหากมีเลือดย้อนสายให้เปลี่ยนสายทันที
 Catheter wing ที่ไม่ได้ใช้ให้ปิด
 Set IV ที่ให้ TPN เปลี่ยนทั้งสาย IV, extension tube, และ catheter
2 wings, 3 wings หรือ 4 wings และ 3 way ทุกๆ 3 วัน
 กรณี set IV สายหลุด ให้เปลี่ยน set IV และ ข้อต่อที่ contaminate
เท่านั้น
การป้องกันภาวะแทรกซ้อน
 ห้ามใช้ catheter single – lumen ในหลายวัตถุประสงค์ นอกเหนือจาก
การให้ TPN เท่านั้น
 ถ้าให้ multi lumen catheter ให้ต่อสาย fat emulsion กับ distal เสมอ
 ห้ามการดูดเลือด ฉีดยา หรือให้เลือด และ plasma ผ่านทางสาย TPN
 ทาความสะอาดทันทีถ้าบริเวณ catheter insert มีการซึมเปื้อน, เปียกชื้น
 การเปลี่ยนขวดสารอาหารแต่ละครั้งต้องระวังการเกิด air embolism
 ระวังการเลื่อนหลุดหรือดึงรั้งของสายขณะเปลี่ยน position ผู้ป่วย
 ระวังการเกิด air emboli ในขณะที่ต่อ set IV กับ catheter
 ให้ clamp catheter ระหว่างต่อ IV และอย่าลืมปลด clamp ออกทุกครั้ง
 กรณีที่ผู้ป่วยร่วมมือ ควรให้ผู้ป่วยหายใจเข้าเต็มที่และกลั้นหายใจเอาไว้
 ติดตามผล lab เป็นระยะๆ และรายงานแพทย์เมื่อพบผลผิดปกติ
 สังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น มีไข้ ฯลฯ
เพื่อป้องกัน catheter อุดตันให้ flush heparin ดังนี้
Subclavien catheter, cavafix Heparin 100 u/mL/3 – 4 mL/d ในแต่ละ lumen
Hickman, Boviac catheter Heparin 10 u/mL / 3 – 5 mL/d
Heparin 50 u/mL / 3 – 5 mL/2d
Heparin 100 u/mL / 3 – 5 mL/2 – 4 wk
PICC [peripherally inserted Heparin 10 u/mL / 3 mL/d
central venous catheter] Heparin 50 u/mL / 3 mL/2d
Heparin 100 u/mL / 3 mL/wk
Implanted port Heparin 100 u/mL / 5 mL
ทุกครั้งเมื่อสิ้นสุดการใช้ port
Heparin 100 u/mL / 5 mL / 4 – 6 wk
เมื่อไม่มีการใช้ port
การทา heparin lock:เพื่อไม่ให้เกิดการแข็งตัวของเลือดในขณะหยุด TPN ชั่วคราวให้ใช้
NSS fluh
ผลแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นและการป้องกัน
 ผลแทรกซ้อนที่พบได้มี 3 อย่างคือ
 ผลแทรกซ้อนขณะแทงสายสวน
 ผลแทรกซ้อนทาง metabolism
 TPN – related sepsis
ผลแทรกซ้อนขณะแทงสายสวน
พบว่าการแทง subclavian catheterization พบโรคแทรกซ้อน
ได้ประมาณ 2.5% แต่มักจะเกิดในคนที่ไม่มีประสบการณ์ และ
case emergency สรุปสาเหตุที่พบมี
ผลแทรกซ้อนที่เกิดระหว่างแทงสายสวน
 Air embolism - Aterial puncture
 Arterio - venous fistula - Bronchial plexus injury
 Cardiac arrhythmia - Cadiac perforation with
tamponade
 Catheter embolus - Hemomediasternum
 Hemothorax - Hydromediasternum
 Hydrothorax - Pneumothorax
 Subcutaneous emphysema - Thorasic duct injury
ผลแทรกซ้อนหลังการแทงสายสวน
 Air embolism
 Cadiac perforation with tamponade
 Catheter occlusion
 Catheter leak
 Catheter related sepsis
 Central vein thrombophlebitis
 Endocarditis
ผลแทรกซ้อนทาง metabolism
 Hyperglycemia
 Hypoglycemia
 ภาวการณ์ขาด K, P, Mg ขณะเกิด Catabolism
 ขาดกรดไขมันจาเป็น ไม่มีสารละลายไขมันใน TPN
จะเกิดภาวะกรดไขมันจาเป็นได้
 อาการของการขาด trace element เหล่านี้ต้องให้
TPN ระยะเวลานานๆโดยไม่ supplement จึงจะพบ
TPN – related sepsis
การติดเชื้อเนื่องจาก TPN มีโอกาสพบได้เพราะผู้ป่วยที่ได้รับ
TPN มักจะป่วยหนัก มีภูมิคุ้มกันต่า ได้ยาที่กดภูมิต้านทาน หรือเป็น
โรคเรื้อรังที่ให้ยาปฏิชีวนะหลายอย่างทาให้มีโอกาสติดเชื้อแบคทีเรีย
หรือเชื้อราได้ง่าย โอกาสติดเชื้อซึ่งจะเกิดจาก contaminate ของ
สารละลายขณะให้เลือด ให้ยาหรือทาแผล ถ้าติดเชื้อเนื่องจากสาย
สวน ( catheter - related sepsis ) การวินิจฉัยจะต้องพบว่าการติด
เชื้อนั้นไม่เกี่ยวข้องกับ underlying disease ของผู้ป่วยและจะหายเมื่อ
เอาสายสวนออก โดยเชื้อที่เพาะได้จากปลายสายสวน และจากเลือดที่
ดูดจากสายสวนเป็นชนิดเดียวกันเรียกภาวะนี้ว่ามีการวินิจฉัยผิดถึง
75% คือ เอาสายสวนออกเพราะคิดว่าเป็นสาเหตุการติดเชื้อของผู้ป่วย
( แต่ความจริงไม่ใช่ )

More Related Content

What's hot

การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injurySiwaporn Khureerung
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 

What's hot (20)

การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
22
2222
22
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 

Similar to Total parenteral nutrition

Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxERppk
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Utai Sukviwatsirikul
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 updatetaem
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nursetaem
 
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
Thailand guideline for management of chb  and chc 2015Thailand guideline for management of chb  and chc 2015
Thailand guideline for management of chb and chc 2015Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)Aiman Sadeeyamu
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจSusheewa Mulmuang
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Acute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol PoisoningAcute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol Poisoningyinyinyin
 

Similar to Total parenteral nutrition (20)

Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
 
Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
 
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
Thailand guideline for management of chb  and chc 2015Thailand guideline for management of chb  and chc 2015
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
 
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Hiv รพช2015 2.ppt
Hiv รพช2015  2.pptHiv รพช2015  2.ppt
Hiv รพช2015 2.ppt
 
Ƿҧǫժѵ Septic shock
Ƿҧǫժѵ Septic shockǷҧǫժѵ Septic shock
Ƿҧǫժѵ Septic shock
 
Septic shock
Septic shockSeptic shock
Septic shock
 
Septic shock guideline
Septic shock guidelineSeptic shock guideline
Septic shock guideline
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
Acute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol PoisoningAcute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol Poisoning
 
Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3
 

More from techno UCH

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยtechno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nursetechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมtechno UCH
 

More from techno UCH (20)

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
 

Total parenteral nutrition

  • 2. การให้อาหารทางหลอดเลือดดา บางครั้งเรียกว่า Hyperalimentation ( Hyper = มาก, alimentation = ทางเดิน อาหาร ) ซึ่งเป็นความหมายที่ผิด เพราะการให้วิธีนี้ไม่ได้ให้ มากกว่าความต้องการ ที่จะให้ผ่านทางเดินอาหาร โดยทั่งไป จะมีคาที่ใช้หลายอย่าง เช่น “Parenteral nutrition” หรือ “Parenteral hyperalimantation” หรือ “Hyperalimentation” หรือ “Intravenous hyperalimentation” วิธีการให้อาหารทางหลอดเลือดดาได้ 2 ทาง คือ  ให้แบบบางส่วน ( Partial parenteral nutrition )  ให้แบบสมบูรณ์ ( Total parenteral nutrition )
  • 3. การให้แบบบางส่วน นิยมให้เมื่อผู้ป่วยรับประทานอาหารเองได้น้อย แพทย์ให้อาหารเพิ่มเติมส่วนที่ขาด เมื่อใดผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ตามที่กล่าวแล้ว จะให้ แบบสมบูรณ์ หรือให้ทาง Central vein feeding การให้อาหารทางหลอดเลือดดาส่วนกลาง ( Central vein feeding ) เนื่องจากสารละลายที่ให้มีความเข้มข้นสูง osmolarity จากสารละลายกลูโคส amino acid และ เกลือแร่ต่างๆ จะได้ประมาณ 2,000 mOsm/ลิตร ซึ่งไม่ สามารถให้ทางหลอดเลือดดาธรรมดาได้ จึงต้องให้ทางหลอดเลือดดา ส่วนกลาง โดยให้ปลายอยู่ที่ Superior vena cava อัตราการไหลของเลือดเร็ว ช่วยเจือจางสารอาหาร โอกาสที่จะเกิดหลอดเลือดดาอักเสบจากสารละลาย เข้มข้นจึงพบน้อยวิธีที่ใช้กันแพร่หลายคือ percutaneous subclavian catheterization ซึ่งอาจเข้าทาง supraclavicle หรือ intraclavicle หรือ internal jugular vein, external jugular vein และ femeral vein ในบางกรณี อาจต้องใส่สายสวนโดยผ่าตัดให้เห็นหลอดเลือดดาก่อนใส่สายสวน
  • 4. ตาแหน่งที่ดีที่สุดและพบโรคแทรก ซ้อนน้อยที่สุดคือ การเข้าทาง Infraclavicular หรือ Subclavian ห้ามทาในกรณีที่บริเวณนั้นมีการติด เชื้อ, Hematoma, มีรอยผ่าตัดใหม่ๆ, มี fistulas, มีการฉายรังสี, มีแผล burn, มีมะเร็ง หรืผู้ป่วยเป็นโรคปอด ระยะสุดท้าย ถ้าแทงครั้งแรกไม่ได้ผล ข้างตรงข้ามเป็นตาแหน่งที่จะแทง ต่อไป แต่ต้องไม่พบโรคแทรกซ้อน จากการแทงครั้งแรก
  • 5.  การใส่สายอาหารทางหลอดเลือดดาต้องทาโดยวิธี ปราศจากเชื้อ ถ้าเป็นไปได้ควรจะทาในห้องผ่าตัด ผู้แทง ต้องใส่หมวกและผ้าปิดจมูก ใส่เสื้อกาวน์ จัดท่าผู้ป่วยให้ อยู่ในท่า trendelenberg หัวต่าประมาณ 15 องศา เพื่อให้หลอดเลือดดาที่คอโป่ง และป้องกัน air embolism ขณะที่ใส่สายสวน ใช้หมอนหนุนตามความยาวของ กระดูกสันหลังให้ไหล่ทั้งสองข้างตกลงแขนแนบลาตัว หัน หน้าไปด้านตรงข้ามกับด้านที่จะแทงทาความสะอาด ผิวหนังบริเวณลาคอและทรวงอก กาจัดไขมันด้วย acetone และทาด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ providone iodine
  • 6. กระบวนการในการบริหารสารละลาย ทางหลอดเลือดดา การสั่งสารละลายอาหารที่ให้ทางเส้นเลือดดา  แนะนาให้มี standardized order forms เพื่อช่วยให้การเขียนคาสั่ง การรักษามีความสมบูรณ์ และ หลีกเลี่ยงความผิดพลาดในการสั่ง  แพทย์ เภสัชกร หรือ นักกาหนดอาหาร ควรประเมินชนิด องค์ประกอบ การผสมให้ได้มาตรฐาน ตามที่ประมาณการไว้  การแสดงส่วนผสมสารละลาย  สารละลายที่ใช้ต้องมีสลากที่แสดงส่วนผสมไว้โดยละเอียด บน ภาชนะบรรจุ  สารละลายที่ใช้ต้องมี สลากกากับ องค์ประกอบ และปริมาณที่ให้ใน 24 ชั่วโมง
  • 7. การทบทวนคาสั่งการให้สารละลายทางหลอดเลือดดา ควรมีการทบทวน การคานวณ ปริมาณสารอาหารใน สารละลาย ความเข้ากันได้ของส่วนผสม อัตราการให้และวิธีการ ควบคุมอัตราการให้สารอาหาร ให้เหมาะสมกับสถานภาพของ ผู้ป่วยก่อนการเริ่มให้สารอาหาร การตรวจสอบก่อนการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดา มีการตรวจสอบว่าสารอาหารถุงหรือ ขวดที่กาลังจะให้แก่ผู้ป่วย เป็นสารอาหาร ของผู้ป่วยรายนั้นจริง และ เป็นชนิด ที่ตรงกับคาสั่งแพทย์
  • 8. วิธีบริหารสารอาหารอาหารทางหลอดเลือดดา  โดยทั่วไปควรให้พลังงานและสารอาหารได้ตาม เป้าหมายภายใน 2 – 3 วัน โดยในวันแรกควรเริ่มไม่เกิน ครึ่งหนึ่งของสารอาหารที่ควรได้รับ  ผู้ป่วยที่มีภาวะทุพโภชนาการรุนแรงควรจะเริ่มให้ไม่เกิน 1 ใน 4 ของความต้องการพลังงานทั้งหมด และเพิ่ม ปริมาณขึ้นเรื่อยๆเพื่อให้ได้ตามความต้องการที่กาหนด ภายใน 3 – 5 วัน
  • 9. การเฝ้าระวัง ผู้ป่วยทุกรายที่ให้สารอาหารทางหลอดเลือด ต้อง มาตรฐานเฝ้าระวังโรคแทรกซ้อน และสัมฤทธิผลจากการให้ สารอาหาร ต้องมีระบบการเฝ้าระวัง ระบบการตรวจสอบซึ่งมี องค์ประกอบดังนี้ การติดเชื้อ  Catheter related infection Miscellaneous  การตกตะกอนของ สารละลาย  ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ Metabolic  ปริมาณสารอาหารได้ ตามที่กาหนด  ปริมาตรของสารละลาย  ระดับน้าตาล  ระดับอิเลคโตรไลท์ Mechanical  การแทง catheter
  • 10. แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ให้ TPN การดูแลผู้ป่วยที่ให้สารอาหารทางหลอดเลือดดาส่วนกลาง ( Central venous catheter ) เป็นเรื่องสาคัญเนื่องจากสาย สวนที่ใส่ผ่านเส้นเลือดนั้นอยู่ใกล้หัวใจเป็นอย่างมาก ซึ่งอาจ ทาให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย ดังนั้นเป้าหมาย ของการดูแลผู้ป่วยเหล่านี้ คือ  ป้องกันการติดเชื้อ ( asepsis )  มีความปลอดภัย ( safety )  ผู้ป่วยสุขสบาย ( comfort)
  • 11. แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ให้ TPN ก่อนการให้ TPN ควรเจาะเลือดส่งตรวจ P1, CBC, Urinalysis, Mg และ Prealbumin ( ถ้ายังไม่เคยมีผลมาก่อน ) ชั่งน้าหนัก และ วัดส่วนสูง ( BMI ) ตรวจวัด Intake / Out put หมายเหตุ : P1 ( Screen lab ) คือ Na, K, Cl, Co2, Alkaline Phosphatase, Aspartate aminotransferase, Alinine aminotransferase, Gamma – glutamyl transferase, Total protein, Albumin, Calcium, Inorganic phosphate, Urea, Glucose, Creatinine, Uric acid, Triglyceride, Total cholesterol, Total bilirubin, Direct bilirubin
  • 12. เมื่อได้รับ TPN ( หลัง X – Ray ดูตาแหน่ง catheter แล้ว ) ชั่งน้าหนักทุกวัน หรือ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ทุกวันจันทร์และวันพฤหัสบดี ตรวจวัด Intake / Out put ทุกวัน ตรวจ CBG ( Capillary blood glucose ) ทุก 6 ชั่วโมง ในสัปดาห์ แรกหาก blood glucose stable ให้ตรวจ CBG OD. เจาะเลือดตรวจ P1, Mg และเก็บ Urine 24 hrs. ส่งตรวจ UUN ( urinary uria niyrogen ) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือทุกวันจันทร์เพื่อ ประเมินผลการให้โภชนบาบัด ห้ามเจาะเลือด ฉีดยาหรือให้เลือดผ่านทาง catheter ยกเว้นในกรณีที่ มีความจาเป็น ต้องทาด้วยความระมัดระวัง โดยเฉพาะเรื่อง aseptic technic กรณีที่ catheter หลุด ให้แจ้งแพทย์ และให้ 10% DN½ 1,000 cc. ทันทีทางหลอดเลือดดาส่วนปลาย ในอัตรา 100 – 125 ml/hr.
  • 13. เมื่อผู้ป่วยมีไข้ 38 – 38.4 co 3 ครั้ง ภายใน 24 ชั่วโมง หรือสูงกว่า 38.4 co ครั้งเดียวให้แจ้งแพทย์ และปฏิบัติ ดังนี้ ใช้ disposable syringe 5 ml. ดูดเลือดผสม IV ทาง catheter ทิ้งไป และ ใช้ disposable syringe 5 ml. อันใหม่ ดูดเลือดส่ง Hemo C/S 1 specimen ดูดเลือดทาง peripheral vein 5 ml. ส่ง Hemo C/S 1 specimen ให้ swab ผิวหนังรอบๆ แผล กรณีที่มีการอักเสบและส่ง C/S 1 specimen ทา heparin lock ที่ TPN catheter ให้ 10% DN½ 1,000 cc. ทางหลอดเลือดดาส่วนปลาย
  • 14. แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการติดเชื้อทาง catheter ◦ ภายใน 24 ชั่วโมง ถ้าไม่มีไข้ ให้ 0.9% NSS ทาง TPN catheter ( รอผล C/S ) ◦ หลัง 24 ชั่วโมงไปแล้ว ถ้ามีไข้กลับมาอีก ภายใน 4 – 12 ชั่วโมง ให้ปฏิบัติดังนี้  Off catheter และตัด tip ส่ง C/S ส่วนใหญ่เป็น catheter sepsis  กรณีผู้ป่วยต้องรีบให้ TPN ต่อ ต้องแทง Catheter ใหม่ด้านตรงข้าม เพื่อให้ยา Antibiotic  กรณีที่ไม่สามารถหาเส้นแทงใหม่ได้ให้ Antibiotic ทาง catheter เดิม จนกระทั่งผล C/S ได้ผล Negative จึงเริ่มให้ TPN ใหม่  ถ้าผล C/S ได้ผล Negative จึงเริ่มให้ TPN ใหม่  ถ้าผล C/S กลับมาเป็น Negative เริ่มให้ TPN ต่อได้ ข้อสังเกต หลังทา heparin lock ภายใน 24 ชั่วโมง ถ้าไข้ยังคงสูง แสดงว่าไม่ได้เกิดการติดเชื้อที่ TPN catheter
  • 15. มาตรฐานการทาหัตถกรรม ในการใส่สายสวนหลอดเลือดดา ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์  2% chlorhexidine in 70% alcohol  หมวก ผ้าปิดปาก เสื้อคลุม ( Gown ) และถุงมือที่ปลอดเชื้อ อย่างน้อย 2 ชุด สาหรับผู้ใส่ catheter และผู้ช่วย  Andural sheet 1 ชุด  เข็ม sterile เบอร์ 18, 23 อย่างละ 1 ชิ้น  NSS 50 ml. ขวดใหม่ และ IV set  1% Xylocain without adrenaline
  • 16. การดูแล Central Venous Catheter ขั้นตอนวิธีการเปลี่ยน Dressing ที่หอผู้ป่วย การเตรียม เตรียมอุปกรณ์ sterile dressing set ใส่ mask ล้างมือ เปิด dressing เดิมของผู้ป่วย ตรวจดูแผลบริเวณ catheter ว่ามีการอักเสบ ปวด บวม แดง ลักษณะและสีของ discharge ถ้าสงสัยว่าแผลมีการ อักเสบ รายงานแพทย์ และบันทึกลงใน chart record ล้างมืออีกครั้งแล้วจึงสวมถุงมือ sterile ก่อนเปิด sterile dressing set ด้วยวิธี aseptic techic
  • 17. การ dressing แผล • การ dressing แผลควรเปิดหลังจากใส่สายสวน แล้ว 24 ชั่วโมง ถ้าใช้ transparent dressing เปลี่ยนทุก 7 วัน ถ้าใช้ gauze dressing เปลี่ยนทุก 2 วัน เปลี่ยน dressing ทันทีเมื่อสกปรก เปียกชื้นหรือ หลุด ลงบันทึกวันที่ ลักษณะแผลและชื่อผู้ที่ทาแผล ในบันทึกผู้ป่วย
  • 18. การปิดแผล  ปิดแผลด้วย sterile gauze แล้วปิดทับด้วย transparent dressing เมื่อแผลแห้งดีใช้ transparent dressing คลุมปิด catheter ที่โผล่ออกนอกผิวหนัง และ ผิวหนังรอบๆในระยะประมาณ 1 – 2 นิ้ว  ยึดสาย catheter อีกครั้งเพื่อป้องกันมิให้ catheter เลื่อน โดยใช้ micropore  ลงวันที่ เวลา และชื่อผู้ทาบนขอบของ dressing ทุกครั้ง  ตรวจอัตราการไหลของ TPN ให้ตรงตามแผนการรักษา หมายเหตุ :ระหว่างการทาความสะอาดแผลต้องระวัง อย่าให้สารละลาย TPN หยุดไหลเพราะสาย catheter จะอุดตันได้ง่าย ทาให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
  • 19. เทคนิคพิเศษการดูแลข้อต่อ  ก่อนและหลังการ disconnect ข้อต่อทุกๆข้อให้ใช้ Alcohol spray หรือเช็ดด้วย 70% alcohol และหุ้มข้อ ต่อต่างๆด้วย sterile gauze  กรณีที่ไม่ได้ปลดข้อต่อ ให้เปลี่ยนข้อต่อพร้อม IV set ทุกๆ 3 วัน  บริเวณรอยต่อระหว่างหัวเสียบ set กับขวด TPN หุ้ม ด้วย sterile gauze
  • 20. การเปลี่ยน Set IV และขวดที่ให้ TPN  เตรียมอุปกรณ์สาหรับเปลี่ยนและผ้า sterile เพื่อรองรับอุปกรณ์  ใส่ mask  ก่อนและหลังเปลี่ยน Set IV และขวดที่ให้ TPN ต้องล้างมือและเช็ด บริเวณรอบข้อต่อด้วย 70% alcohol  Set ที่ให้ Fat emulsion และ Human albumin เปลี่ยนทุก 24 ชั่วโมง ถ้าหากมีเลือดย้อนสายให้เปลี่ยนสายทันที  Catheter wing ที่ไม่ได้ใช้ให้ปิด  Set IV ที่ให้ TPN เปลี่ยนทั้งสาย IV, extension tube, และ catheter 2 wings, 3 wings หรือ 4 wings และ 3 way ทุกๆ 3 วัน  กรณี set IV สายหลุด ให้เปลี่ยน set IV และ ข้อต่อที่ contaminate เท่านั้น
  • 21. การป้องกันภาวะแทรกซ้อน  ห้ามใช้ catheter single – lumen ในหลายวัตถุประสงค์ นอกเหนือจาก การให้ TPN เท่านั้น  ถ้าให้ multi lumen catheter ให้ต่อสาย fat emulsion กับ distal เสมอ  ห้ามการดูดเลือด ฉีดยา หรือให้เลือด และ plasma ผ่านทางสาย TPN  ทาความสะอาดทันทีถ้าบริเวณ catheter insert มีการซึมเปื้อน, เปียกชื้น  การเปลี่ยนขวดสารอาหารแต่ละครั้งต้องระวังการเกิด air embolism  ระวังการเลื่อนหลุดหรือดึงรั้งของสายขณะเปลี่ยน position ผู้ป่วย  ระวังการเกิด air emboli ในขณะที่ต่อ set IV กับ catheter  ให้ clamp catheter ระหว่างต่อ IV และอย่าลืมปลด clamp ออกทุกครั้ง  กรณีที่ผู้ป่วยร่วมมือ ควรให้ผู้ป่วยหายใจเข้าเต็มที่และกลั้นหายใจเอาไว้  ติดตามผล lab เป็นระยะๆ และรายงานแพทย์เมื่อพบผลผิดปกติ  สังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น มีไข้ ฯลฯ
  • 22. เพื่อป้องกัน catheter อุดตันให้ flush heparin ดังนี้ Subclavien catheter, cavafix Heparin 100 u/mL/3 – 4 mL/d ในแต่ละ lumen Hickman, Boviac catheter Heparin 10 u/mL / 3 – 5 mL/d Heparin 50 u/mL / 3 – 5 mL/2d Heparin 100 u/mL / 3 – 5 mL/2 – 4 wk PICC [peripherally inserted Heparin 10 u/mL / 3 mL/d central venous catheter] Heparin 50 u/mL / 3 mL/2d Heparin 100 u/mL / 3 mL/wk Implanted port Heparin 100 u/mL / 5 mL ทุกครั้งเมื่อสิ้นสุดการใช้ port Heparin 100 u/mL / 5 mL / 4 – 6 wk เมื่อไม่มีการใช้ port การทา heparin lock:เพื่อไม่ให้เกิดการแข็งตัวของเลือดในขณะหยุด TPN ชั่วคราวให้ใช้ NSS fluh
  • 23. ผลแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นและการป้องกัน  ผลแทรกซ้อนที่พบได้มี 3 อย่างคือ  ผลแทรกซ้อนขณะแทงสายสวน  ผลแทรกซ้อนทาง metabolism  TPN – related sepsis
  • 24. ผลแทรกซ้อนขณะแทงสายสวน พบว่าการแทง subclavian catheterization พบโรคแทรกซ้อน ได้ประมาณ 2.5% แต่มักจะเกิดในคนที่ไม่มีประสบการณ์ และ case emergency สรุปสาเหตุที่พบมี ผลแทรกซ้อนที่เกิดระหว่างแทงสายสวน  Air embolism - Aterial puncture  Arterio - venous fistula - Bronchial plexus injury  Cardiac arrhythmia - Cadiac perforation with tamponade  Catheter embolus - Hemomediasternum  Hemothorax - Hydromediasternum  Hydrothorax - Pneumothorax  Subcutaneous emphysema - Thorasic duct injury
  • 25. ผลแทรกซ้อนหลังการแทงสายสวน  Air embolism  Cadiac perforation with tamponade  Catheter occlusion  Catheter leak  Catheter related sepsis  Central vein thrombophlebitis  Endocarditis
  • 26. ผลแทรกซ้อนทาง metabolism  Hyperglycemia  Hypoglycemia  ภาวการณ์ขาด K, P, Mg ขณะเกิด Catabolism  ขาดกรดไขมันจาเป็น ไม่มีสารละลายไขมันใน TPN จะเกิดภาวะกรดไขมันจาเป็นได้  อาการของการขาด trace element เหล่านี้ต้องให้ TPN ระยะเวลานานๆโดยไม่ supplement จึงจะพบ
  • 27. TPN – related sepsis การติดเชื้อเนื่องจาก TPN มีโอกาสพบได้เพราะผู้ป่วยที่ได้รับ TPN มักจะป่วยหนัก มีภูมิคุ้มกันต่า ได้ยาที่กดภูมิต้านทาน หรือเป็น โรคเรื้อรังที่ให้ยาปฏิชีวนะหลายอย่างทาให้มีโอกาสติดเชื้อแบคทีเรีย หรือเชื้อราได้ง่าย โอกาสติดเชื้อซึ่งจะเกิดจาก contaminate ของ สารละลายขณะให้เลือด ให้ยาหรือทาแผล ถ้าติดเชื้อเนื่องจากสาย สวน ( catheter - related sepsis ) การวินิจฉัยจะต้องพบว่าการติด เชื้อนั้นไม่เกี่ยวข้องกับ underlying disease ของผู้ป่วยและจะหายเมื่อ เอาสายสวนออก โดยเชื้อที่เพาะได้จากปลายสายสวน และจากเลือดที่ ดูดจากสายสวนเป็นชนิดเดียวกันเรียกภาวะนี้ว่ามีการวินิจฉัยผิดถึง 75% คือ เอาสายสวนออกเพราะคิดว่าเป็นสาเหตุการติดเชื้อของผู้ป่วย ( แต่ความจริงไม่ใช่ )