SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
Medication Reconciliation
ภก. รชานนท์ หิรัญวงษ์
Outline
 กระบวนการ    medication reconciliation
 ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น และแนวทางแก้ไข
 แนวทางการดาเนินการ
 ปัจจัยสู่ความสาเร็จ
 Medication Reconciliation ในโรงพยาบาลบางละมุง
เคยพบกับเหตุการณ์เหล่านี้หรือไม่
 ผู้ป่วยไม่ได้รับยารักษาโรคประจาตัวอย่างต่อเนื่อง เนืองจาก
                                                        ่
  แพทย์คัดลอกยาตกหล่น หรือสือสารกับผู้ป่วย และญาติไม่
                                    ่
  เข้าใจ
 ผู้ป่วยกินยาซ้าซ้อนเพราะไม่ทราบว่าแพทย์สั่งเปลี่ยนยาแล้ว
 ผู้ป่วยรับยาซ้าซ้อนเพราะซือยากินเองหรือรับยามาจาก
                               ้
  สถานพยาบาลอื่น
 ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่แพทย์สั่งหยุดชั่วคราวก่อนเข้ารับการผ่าตัด
  หรือทาหัตถการบางอย่าง
ตัวอย่างเหตุการณ์
 ผู้ป่วยในลืมยาที่บ้าน   แพทย์ดูจากประวัติ ได้เปลี่ยนยา
  จาก Simvastatin เป็น Atorvastatin และเนื่องจากมี
  ค่า INR 4 จึงจ่าย Warfarin 2 mg. แทนที่ เคย
  ได้รับ 3 mg. อยู่ ภายหลังจาหน่ายผู้ป่วยออกจาก
  โรงพยาบาล แล้วกลับมาในอีก 1 สัปดาห์ ด้วยอาการเปลี้ย
  และมีจ้าเลือดบริเวณท้องแขน เป็นวงกว้าง พบว่าผู้ป่วย
  รับประทานยาที่บ้านร่วมด้วย เนื่องจากเห็นว่าแตกต่าง
  และรับรู้ว่า ยาที่กินมีความสาคัญห้ามหยุด
ตัวอย่างเหตุการณ์
 ผู้ป่วยอุบัติเหตุ
                กระดูกหัก
  admit ใน แผนกศัลยกรรม
  กระดูก พบว่าอีก 3 วันระดับ
  น้าตาลสูงกว่า 250 mg.%
  มาทราบภายหลังว่า เป็น
  ผู้ป่วยเบาหวาน และไม่ได้
  รับประทานยาลดระดับน้าตาล
  ในเลือดตลอด 3 วันที่อยู่ใน
  โรงพยาบาล
ตัวอย่างเหตุการณ์
 แพทย์สั่งหยุดยา
  Metformin ก่อนผ่าตัด
  ภายหลังการผ่าตัด ผู้ป่วย
  ไม่ได้รับยาเป็นเวลา 1
  สัปดาห์ ทาให้ระดับ
  น้าตาลเพิ่มสูงขึ้นกว่า
  250 mg.%
 การเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
 เกิดขึ้นได้ในทุกจุดของการให้บริการใน
 โรงพยาบาล กว่าครึ่งหนึ่งเกิดขึ้นที่รอยต่อของ
 การให้บริการ ประมาณ 20% มีสาเหตุมาจาก
 การส่งต่อข้อมูลคลาดเคลื่อนหรือไม่ครบถ้วน
 ซึ่งสามารถป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้
 JCAHO    พบว่า sentinel events ที่มีสาเหตุ
 มาจากความคลาดเคลื่อนทางยานั้น มากกว่า
 ครึ่งมีสาเหตุมาจากการสื่อสาร แม้จะไม่ใช่
 สาเหตุโดยตรงทั้งหมด แต่ก็มีส่วนเกี่ยวข้อง
 และกว่าครึ่งหนึ่งสามารถหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิด
 ได้หากมีระบบ medication reconciliation
 ที่มีประสิทธิภาพ
 Medication    reconciliation ได้ถูกเลือกเป็น
  กระบวนการแรกที่จะลดการเกิดเหตุการณ์ไม่
  พึงประสงค์จากการใช้ยา
 JCAHO ได้กาหนดให้เป็น National Patient
  safety Goal ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 เรื่อยมา
  จนถึงปัจจุบัน
 สาหรับประเทศไทย   สถาบันรับรองคุณภาพ
 สถานพยาบาล (สถาบันพัฒนาและรับรอง
 คุณภาพโรงพยาบาลเดิม) ได้ประกาศเมื่อปี
 พ.ศ. 2549 ให้กระบวนการ Medication
 reconciliation เป็นส่วนหนึ่งในการรับรอง
 คุณภาพโรงพยาบาลเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
Medication Reconciliation
 เป็นกระบวนการเปรียบเทียบและประสานรายการ
 ยาระหว่างรายการยาที่ผู้ป่วยรับประทานอยู่อย่าง
 ต่อเนื่องก่อนเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลกับ
 รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับเมื่อแรกรับ รวมทั้งเมื่อ
 ผู้ป่วยย้ายแผนก ย้ายหอผู้ป่วย หรือเมื่อถูก
 จาหน่ายกลับบ้าน
ขั้นตอนของ Medication Reconciliation
 Verification   รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับอย่าง
  ต่อเนื่อง
 Clarification ให้มั่นใจว่ายาและขนาดที่ผู้ป่วย
  ได้รับนั้นถูกต้อง
ขั้นตอนของ Medication Reconciliation
 Reconciliation     เปรียบเทียบรายการยาที่ผู้ป่วย
  ได้รับเมื่อแรกรับกับรายการยาที่ได้รับอย่าง
  ต่อเนื่อง บันทึกการเปลี่ยนแปลงพร้อมเหตุผล
 Transmission สื่อสารรายการยาที่ผู้ป่วยได้รับ
  ล่าสุดกับตัวผู้ป่วยเอง ผู้ดูแล และส่งต่อรายการยา
  ดังกล่าวไปยังสถานพยาบาลที่ผู้ป่วยจะไปรับการ
  รักษาต่อ
ข้อมูลในต่างประเทศ
 ร้อยละ  42 ถึงร้อยละ 61 ของผู้ป่วยที่เข้ามานอน
 รักษาตัวในโรงพยาบาลไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่อย่าง
 ต่อเนื่องตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป
 จุดที่จะเกิดปัญหามาก ได้แก่ ผู้ป่วยที่ผ่านเข้าทาง
 ห้องฉุกเฉิน หรือเข้ารับการผ่าตัด
ความคลาดเคลื่อนที่กระบวนการนี้ช่วยได้
 การไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่อย่างต่อเนื่อง
 การที่ไม่ได้หยุดยาบางตัวก่อนเข้ารับการทา
  หัตถการบางอย่าง
 การที่ไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่ต่อหลังจากแพทย์สั่ง
  หยุดใช้ชั่วคราว
ความคลาดเคลื่อนที่กระบวนการนี้ช่วยได้
 กรณีที่ผู้ป่วยใช้ยาซ้าซ้อนเพราะไม่ทราบว่าแพทย์สั่ง
  เปลี่ยนยาแล้ว
 การที่ผู้ป่วยยังใช้ยาในขนาดเดิมต่อไปทั้งที่แพทย์
  สั่งปรับขนาดแล้ว
 การได้รับยาซ้าซ้อนกับยาที่ผู้ป่วยซื้อใช้เอง หรือรับ
  จากสถานพยาบาลอื่น
ปัญหาและอุปสรรค
 ภาระงาน    อัตรากาลังในปัจจุบัน
 ไม่ชัดเจนว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบกระบวนการใน
  ภาพรวม
 ไม่มีกระบวนการมาตรฐานในการเก็บข้อมูลการใช้
  ยาของผู้ป่วยให้ได้ครบถ้วน
 ไม่มีทักษะในการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลจาก
  ผู้ป่วยหรือญาติ
 จะสื่อสารกันอย่างไรในระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง
การเริ่มต้น
 กระบวนการนี้เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของ
  แพทย์ เภสัชกร และพยาบาล
 ผู้บริหารโรงพยาบาลต้องมีนโยบายที่ชัดเจนในเรื่อง
  นี้และนาลงสู่การปฏิบัติ โดยผ่านทาง
  คณะกรรมการ PTC และ/หรือ PCT
นโยบายที่ควรกาหนด
 คาจากัดความและความครอบคลุม
 กาหนดกรอบเวลาที่จะต้องทากระบวนการนี้ให้
  เสร็จ
 กาหนดข้อมูลที่ต้องบันทึก
 กาหนดแหล่งที่มาของข้อมูลดังกล่าว
 กาหนดขั้นตอนการดาเนินการ
 กาหนดแบบฟอร์มที่ใช้ในระยะแรก
 กาหนดช่วงเวลาทดลองและประเมินผลเป็นระยะ
รูปแบบความรับผิดชอบ
 รูปแบบที่ 1 พยาบาลบันทึกรายการยาที่ผูปวยใช
 ตอเนื่อง แพทยดูเปรียบเทียบกับรายการยาที่สั่ง
 เมื่อแรกรับ เภสัชกรทวนสอบรายการยาในแบบ
 บันทึก เพื่อดูวามีการแก้ไขหรือไม อยางไร
 เปนการยืนยัน วากระบวนการไดเกิดขึ้นสมบูรณ
 แลว
รูปแบบความรับผิดชอบ
 รูปแบบที่  2 พยาบาลเป็นผู้หาข้อมูลรายการยาที่
 ผู้ป่วยใช้อย่างต่อเนื่องและบันทึกลงในแบบฟอร์ม
 เภสัชกรเปรียบเทียบกับรายการยาแรกรับ เมื่อพบ
 ความแตกต่างให้ปรึกษาแพทย์ แพทย์ทบทวน
 รายการยา จะเปลี่ยนแปลงหรือยืนยันคาสั่งเดิม
 ให้ลงชื่อ เป็นอันจบกระบวนการ หากแพทย์ไม่
 ทบทวนภายในระยะเวลาที่กาหนด ให้พยาบาล
 ติดต่อแพทย์
รูปแบบความรับผิดชอบ
 รูปแบบที่ 3 เภสัชกรประจาหอผู้ป่วยเป็นผู้หา
 ข้อมูลยาที่ผู้ป่วยใช้อย่างต่อเนื่อง เปรียบเทียบกับ
 รายการยาแรกรับ เมื่อพบความแตกต่าง ให้
 ปรึกษาแพทย์ ซึ่งแพทย์จะต้องทบทวนรายการยา
 ภายในกรอบเวลาที่กาหนด หากแพทย์ยังไม่ได้
 ทบทวนให้พยาบาลหรือเภสัชกรติดต่อแพทย์
ข้อมูลที่ควรบันทึก
 ยาที่ผู้ป่วยรับประทานอย่างต่อเนื่อง
                                    รวมทั้งยาที่
  ซื้อใช้เอง สมุนไพร อาหารเสริม วิตามิน เป็นต้น
 ยาที่รับประทานมื้อสุดท้าย ขนาดเท่าใด เมื่อไหร่
 ข้อมูลการแพ้ยา อาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงที่
  เคยเกิดขึ้น
แหล่งข้อมูล
 ยาที่ผู้ป่วยนามาจากบ้าน
 การสัมภาษณ์   ผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล
 ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล
 สมุดประจาตัวผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
 รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับเมื่อออกจากโรงพยาบาล
 รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับจากแผนกผู้ป่วยนอก
 เวชระเบียน
แบบบันทึก
แบบบันทึก
กรอบเวลาที่กาหนด
 JCAHO   กาหนดให้รวบรวมข้อมูลให้เสร็จภายใน
 24 ชั่วโมง ยกเว้นยาบางกลุ่มที่ต้องสอบถามผู้ป่วย
 ให้เสร็จภายใน 4 ชั่วโมง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยา
 ทันเวลา เช่น Antibiotics, Insulin, Inhaler,
 Antiepileptic เป็นต้น
ขั้นตอนในการทา medication reconcile
การประเมินผล
 Discrepancy    (ร้อยละ): ความแตกต่างของ
 รายการยาปัจจุบันกับรายการยาตอนแรกรับ โดย
 ยึดถือว่ารายการที่มีการเปลี่ยนแปลงสิ่งใด สิ่งหนึ่ง
 ต่อไปนี้คือ ชนิดยา ขนาดยา ความแรงยา วิธีใช้
 รูปแบบยา และระยะห่างการใช้ยาไป จะถือว่าเป็น
 ความแตกต่าง
Discrepancy (ร้อยละ):




รายการยาทีแตกต่าง 2 รายการจาก 6 รายการคิดเป็น Discrepancy ร้อยละ 33
          ่
การประเมินผล
 Unintentional  discrepancy (รายการยาต่อ
 ผู้ป่วย): แพทย์ไม่ได้ตั้งใจเปลี่ยนแปลงยาที่ผู้ป่วย
 เคยได้รับ แต่เป็นความผิดพลาด
Unintentional discrepancy (รายการยาต่อผู้ป่วย)




 รายการยาทีไม่มคาสังยืนยันการใช้ตอ เปลียนแปลง หรือหยุดยา 1 รายการจาก 7
           ่ ี ่                 ่     ่
    รายการคิดเป็น Unintentional Discrepancy ร้อยละ 14
การประเมินผล
 Medication  reconciliation success index
 (ร้อยละ): สัดส่วนของรายการยาที่ไม่มีความ
 แตกต่าง และรายการยาที่แตกต่างแต่เกิดจาก
 ความตั้งใจของแพทย์ในขั้นตอนรับเข้า กับจานวน
 รายการยาทั้งหมด
Medication reconciliation success index (ร้อยละ)




รายการยาที่ไม่มความแตกต่าง และรายการยาทีแตกต่างแต่เกิดจากความตังใจ
               ี                        ่                      ้
  ของแพทย์ 6 รายการจากทังหมด 6 รายการ คิดเป็น medication
                           ้
  reconciliation index ร้อยละ 100
การประเมินผล
 Potential  harm (ร้อยละ): ร้อยละของผู้ป่วยที่พบ
 ความแตกต่างของรายการยาที่เกิดจากความไม่
 ตั้งใจของผู้สั่งใช้ยาอย่างน้อย 1 รายการ (มี
 Unintentional discrepancy) ต่อจานวนผู้ป่วย
 ทั้งหมด
Potential harm (ร้อยละ)




มีรายการยาทีไม่มคาสังยืนยันการใช้ต่อ เปลียนแปลง หรือหยุดยา 1 รายการ ถือว่าเป็น
             ่ ี ่                       ่
   Potential harm
การประเมินผล
 Undocumented     intentional discrepancy
 (ร้อยละ): แพทย์ตั้งใจเปลี่ยนชนิดของยา ปรับ
 ขนาดที่รับประทาน หรือหยุดยา แต่ไม่ได้บันทึกไว้
Undocumented intentional discrepancy (ร้อยละ)




มีรายการยาทีมคาสั่งยืนยันการใช้ตอ เปลียนแปลง หรือหยุดยา แต่ไม่ได้บนทึกเหตุผล
             ่ ี                ่     ่                           ั
   ไว้ 1 รายการ จากยาทังหมด 6 รายการ คิดเป็น Undocumented intentional
                        ้
   discrepancy ร้อยละ 17
การประเมินผล
 Drug – related problem/discrepancy
 (ปัญหาต่อรายการ): พิจารณาผลลัพธ์ที่ตัวผู้ป่วย
 เป็นสาคัญ
สรุป
 กระบวนการ   medication reconciliation เป็น
 เรื่องของสหสาขาวิชาชีพ มิใช่เป็นเพียงการทา
 เอกสาร แต่ควรทาด้วยความรู้สึกห่วงใยในผู้ป่วย
 อย่างแท้จริง ตระหนักถึงความคลาดเคลื่อนที่มัก
 เกิดขึ้นตรงรอยต่อของกระบวนการรักษา ผลลัพธ์
 จึงจะออกมาสมบูรณ์ สามารถลดเหตุการณ์ไม่พึง
 ประสงค์จากการใช้ยาได้
ปัจจัยสู่ความสาเร็จ
 นโยบายและแนวทางการดาเนินงานชัดเจน
 สื่อสารและอบรมผู้ปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง
 แบบฟอร์มง่ายต่อการบันทึกและสื่อสาร
 เริ่มปฏิบัติที่ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
                                เช่น มีโรคประจาตัว
  ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคมะเร็ง เพื่อเริ่มต้นกระบวนการ
  เรียนรู้
ปัจจัยสู่ความสาเร็จ
 เริ่มต้นจากผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด ผู้ป่วยที่รับเข้า
  จากห้องฉุกเฉิน ซึ่งเป็นจุดเสี่ยงที่ข้อมูลการใช้ยา
  อาจตกหล่นได้
 ประเมินผล และปรับกระบวนการจนพอใจใน
  ผลลัพธ์แล้วจึงขยายผล
Medication Reconciliation
ใน รพ. บางละมุง
ปี 2551: จุดเริ่มต้น
 ทาเฉพาะผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหญิง   ยังไม่มีการส่งต่อ
  ข้อมูลไปยังจุดอื่น
 เก็บข้อมูลอย่างเดียว ทาแค่ verification และ
  clarification
 Consult แพทย์ในกรณีที่เป็นยาที่จาเป็นเช่น ยา
  กันชัก และยาต้านไวรัส
ผลงาน
ผลงาน
ปัญหาทีพบ
       ่
 ผู้ป่วยใช้ยาต้านไวรัส    และยาป้องกันการติดเชื้อ
  ฉวยโอกาสอยู่ เมื่อมาเข้ารับการรักษาได้นายามา
  ด้วย แต่แพทย์ที่ดูแลไม่ได้สั่งใช้ยาให้ผู้ป่วย
 ผู้ป่วยมีโรคประจาตัวเช่น ไทรอยด์ ความดันโลหิต
  สูง และไขมันในเลือดสูง ได้นายามาด้วย แต่แพทย์
  ที่ดูแลไม่ได้สั่งใช้ยาให้ผู้ป่วย จนกระทั่งผู้ป่วยถูก
  จาหน่ายออกจากโรงพยาบาล
ปัญหาทีพบ
       ่
 ผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง  มารับยาแต่ละตัว
  คนละครั้งกัน แล้วแพทย์สั่งใช้ยาเฉพาะครั้งล่าสุด
  ที่มารับยา ทาให้ได้รับยาโรคความดันโลหิตสูงไม่
  ครบ
 ผู้ป่วยบางคนไม่ได้รับประทานยาตามที่ระบุไว้ใน
  ฉลาก ปรับ ลดขนาดยาตามใจตนเอง ในบางรายที่
  ใช้ประวัติจากคอมพิวเตอร์อย่างเดียว ทาให้ได้
  ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องมา
ปัญหาทีพบ
       ่
 ผู้ป่วยสูงอายุจากสถานสงเคราะห์    มักจะจาไม่ได้ว่า
  รับประทานยาอะไรอยู่บ้าง และเจ้าหน้าที่สถาน
  สงเคราะห์ มักจะไม่ทราบข้อมูลการใช้ยาของผู้ป่วย
 การดาเนินกิจกรรมติดตามผู้ป่วยยังทาได้ไม่
  ต่อเนื่อง เนื่องจากไม่มีการโฟกัสกลุ่มผู้ป่วย ทาให้
  จานวนผู้ป่วยที่ต้องติดตามมีมากเกิน
ปี 2552: การเปลี่ยนแปลง
 ทาทั้งผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหญิง   และชาย แต่ยังไม่มี
  การส่งต่อข้อมูลไปยังจุดอื่น
 ขอความร่วมมือจากองค์กรแพทย์ และบุคลากรที่
  เกี่ยวข้องผ่านการประชุมระบบยา
 คัดเลือกผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังเช่น โรคเบาหวาน
  ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ เป็นต้น
ผลงาน
ผลงาน
ปัญหาทีพบ
       ่
จากระบบเวชระเบียนอิเล็กโทรนิคของโรงพยาบาล
  (MITNET)
 หน้ารายการยาไม่รองรับการใส่คาสั่งหยุดใช้ยา ทา
  ให้แพทย์ต้องทาการบันทึกคาสั่งหยุดใช้ยาในหัวข้อ
  อื่นเช่น อาการที่มา ทาให้แพทย์ที่เข้ามาดูประวัติ
  ท่านอื่น สั่งใช้ยาที่สั่งหยุดไปแล้ว เนื่องจากไม่เห็น
  คาสั่งหยุดใช้ยา
ปัญหาทีพบ
       ่
จากระบบเวชระเบียนอิเล็กโทรนิคของโรงพยาบาล
  (MITNET)
 เนื่องจากการมารับยาของผู้ป่วยแต่ละครั้ง ไม่ได้
  เป็นการรับยาที่ใช้อยู่ทั้งหมด เพราะยาบางตัวยัง
  เหลืออยู่ ทาให้ประวัติที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ไม่
  ช่วยเหลือในการสืบค้นหารายการยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่
  ล่าสุด
ปัญหาทีพบ
       ่
จากตัวผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล
 การสัมภาษณ์ผู้ป่วย และญาติเพื่อหาประวัติการใช้
  ยาเดิม มีปัญหาในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว มีปัญหา
  ในการสื่อสาร และไม่มีญาติ
 ผู้ป่วยไม่เอายาที่ใช้อยู่มาโรงพยาบาล และไม่
  สามารถบอกได้ว่าใช้ยาอะไรอยู่บ้าง
ปัญหาทีพบ
       ่
จากตัวผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล
 ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่มีรายการยาเป็นจานวนมาก มัก
  เป็นผู้สูงอายุทาให้เกิดอุปสรรคในการสัมภาษณ์
  เพื่อหาประวัติการใช้ยาเดิม เนื่องจากผู้ป่วยมีความ
  ทรงจาที่ถดถอย จึงไม่สามารถบอกได้ว่าใช้ยาอะไร
  อยู่บ้าง ถึงแม้ว่าจะเอาตัวอย่างยาจากโรงพยาบาล
  ให้ดูก็ตาม
ปัญหาทีพบ
       ่
จากแพทย์และพยาบาล
 แพทย์ไม่ให้ความร่วมมือในการทา medication
  reconciliation โดยการออกคาสั่งกับรายการยาที่
  สืบค้นมาได้ และลงชื่อรับทราบรายการยา ทาให้
  เกิดปัญหากับตัวชี้วัดดังที่กล่าวไปในข้างต้น
 พยาบาลไม่ได้ช่วยเหลือติดตามแพทย์มารับทราบ
  รายการยา
แนวทางการแก้ไข
 สร้างระบบจัดเก็บรายการยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่ล่าสุด
  ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงได้
 เพิ่มการทา medication reconciliation ทุกจุด
  บริการไม่จากัดอยู่แค่ตอนรับเข้าเป็นผู้ป่วยใน
 รณรงค์ให้ผู้ป่วยนายาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันติดตัวมา
  โรงพยาบาลทุกครั้ง
 ขอความร่วมมือแพทย์และพยาบาล ในการทา
  medication reconciliation
บทเรียนที่ได้รับ
 ควรทาทีละน้อย    แต่ต่อเนื่อง ถ้าไม่พร้อมก็ไม่ต้อง
  ขยายให้ครอบคลุมทั่วทั้งรพ. ให้เลือกกลุ่มที่คิดว่า
  เกิดปัญหามากที่สุดก่อน
 ความร่วมมือของสหสาขาวิชาชีพเป็นสิ่งสาคัญ ถ้า
  ทาแต่ฝ่ายเภสัชกรรมฝ่ายเดียว โอกาสที่จะทาได้
  สาเร็จมีอยู่น้อย
 สมุดประจาตัวผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีการบันทึกอย่าง
  สมบูรณ์ จะช่วยในการค้นหาข้อมูลการใช้ยาได้มาก
บทเรียนที่ได้รับ
 ระบบคอมพิวเตอร์ที่ดี     จะช่วยในการค้นหาข้อมูล
  การใช้ยาได้มากเหมือนกัน
 ความเข้าใจในสาเหตุ และความสาคัญของงานนี้
  จะช่วยเพิ่มความร่วมมือจากสหสาขาวิชาชีพได้
 การจัดการกับยาเดิมที่คนไข้นามาจากบ้านเป็น
  เรื่องสาคัญอีกเรื่องหนึ่ง จะจัดการอย่างไรควรให้
  ทราบและเข้าใจตรงกันทุกฝ่าย
Thank You

More Related Content

What's hot

อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาLatthapol Winitmanokul
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree TantisiriUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น Utai Sukviwatsirikul
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
Adr skin
Adr skinAdr skin
Adr skin
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
 

Viewers also liked

Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication ReconciliationPAFP
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลRachanont Hiranwong
 
medication reconciliation
medication reconciliationmedication reconciliation
medication reconciliationMissam Merchant
 
Medication reconciliation
Medication reconciliationMedication reconciliation
Medication reconciliationwcmc
 
Medication Reconciliation Education
Medication Reconciliation EducationMedication Reconciliation Education
Medication Reconciliation Educationcshowers5608
 
Medicines Reconciliation Needs You!
Medicines Reconciliation Needs You!Medicines Reconciliation Needs You!
Medicines Reconciliation Needs You!NHSScotlandEvent
 
Title page of drug profile
Title page of drug profileTitle page of drug profile
Title page of drug profileSn Taurus
 
Improving efficiencies in medication reconciliation: The McGill Story
Improving efficiencies in medication reconciliation: The McGill StoryImproving efficiencies in medication reconciliation: The McGill Story
Improving efficiencies in medication reconciliation: The McGill StoryCanadian Patient Safety Institute
 
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare providerความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare providerSukhontis Sukhaneskul
 
Medication Reconciliation on Hospital Discharge and on Admission to Long Term...
Medication Reconciliation on Hospital Discharge and on Admission to Long Term...Medication Reconciliation on Hospital Discharge and on Admission to Long Term...
Medication Reconciliation on Hospital Discharge and on Admission to Long Term...Saskatchewan Health Care Quality Summit
 
MedRec in Ambulatory Care: Highlights from the literature and one hospital’s ...
MedRec in Ambulatory Care: Highlights from the literature and one hospital’s ...MedRec in Ambulatory Care: Highlights from the literature and one hospital’s ...
MedRec in Ambulatory Care: Highlights from the literature and one hospital’s ...Canadian Patient Safety Institute
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดRachanont Hiranwong
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานRachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง Rachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 

Viewers also liked (20)

Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication Reconciliation
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
medication reconciliation
medication reconciliationmedication reconciliation
medication reconciliation
 
Medication reconciliation
Medication reconciliationMedication reconciliation
Medication reconciliation
 
Medication Reconciliation Education
Medication Reconciliation EducationMedication Reconciliation Education
Medication Reconciliation Education
 
Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication Reconciliation
 
Medicines Reconciliation Needs You!
Medicines Reconciliation Needs You!Medicines Reconciliation Needs You!
Medicines Reconciliation Needs You!
 
Title page of drug profile
Title page of drug profileTitle page of drug profile
Title page of drug profile
 
Improving efficiencies in medication reconciliation: The McGill Story
Improving efficiencies in medication reconciliation: The McGill StoryImproving efficiencies in medication reconciliation: The McGill Story
Improving efficiencies in medication reconciliation: The McGill Story
 
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare providerความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
 
Medication Reconciliation on Hospital Discharge and on Admission to Long Term...
Medication Reconciliation on Hospital Discharge and on Admission to Long Term...Medication Reconciliation on Hospital Discharge and on Admission to Long Term...
Medication Reconciliation on Hospital Discharge and on Admission to Long Term...
 
MedRec in Ambulatory Care: Highlights from the literature and one hospital’s ...
MedRec in Ambulatory Care: Highlights from the literature and one hospital’s ...MedRec in Ambulatory Care: Highlights from the literature and one hospital’s ...
MedRec in Ambulatory Care: Highlights from the literature and one hospital’s ...
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 

Similar to Medication reconciliation slide

ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาUtai Sukviwatsirikul
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1Sarachai Sookprasong
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfคู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2Techin Pha-In
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1THANAKORN
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Medication reconciliation slide (20)

12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfคู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
 
แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacists
 
8
88
8
 

More from Rachanont Hiranwong

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับRachanont Hiranwong
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558Rachanont Hiranwong
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 

More from Rachanont Hiranwong (15)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
Food allergy slide2
Food allergy slide2Food allergy slide2
Food allergy slide2
 
Food allergy slide
Food allergy slideFood allergy slide
Food allergy slide
 

Medication reconciliation slide

  • 2. Outline  กระบวนการ medication reconciliation  ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น และแนวทางแก้ไข  แนวทางการดาเนินการ  ปัจจัยสู่ความสาเร็จ  Medication Reconciliation ในโรงพยาบาลบางละมุง
  • 3. เคยพบกับเหตุการณ์เหล่านี้หรือไม่  ผู้ป่วยไม่ได้รับยารักษาโรคประจาตัวอย่างต่อเนื่อง เนืองจาก ่ แพทย์คัดลอกยาตกหล่น หรือสือสารกับผู้ป่วย และญาติไม่ ่ เข้าใจ  ผู้ป่วยกินยาซ้าซ้อนเพราะไม่ทราบว่าแพทย์สั่งเปลี่ยนยาแล้ว  ผู้ป่วยรับยาซ้าซ้อนเพราะซือยากินเองหรือรับยามาจาก ้ สถานพยาบาลอื่น  ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่แพทย์สั่งหยุดชั่วคราวก่อนเข้ารับการผ่าตัด หรือทาหัตถการบางอย่าง
  • 4. ตัวอย่างเหตุการณ์  ผู้ป่วยในลืมยาที่บ้าน แพทย์ดูจากประวัติ ได้เปลี่ยนยา จาก Simvastatin เป็น Atorvastatin และเนื่องจากมี ค่า INR 4 จึงจ่าย Warfarin 2 mg. แทนที่ เคย ได้รับ 3 mg. อยู่ ภายหลังจาหน่ายผู้ป่วยออกจาก โรงพยาบาล แล้วกลับมาในอีก 1 สัปดาห์ ด้วยอาการเปลี้ย และมีจ้าเลือดบริเวณท้องแขน เป็นวงกว้าง พบว่าผู้ป่วย รับประทานยาที่บ้านร่วมด้วย เนื่องจากเห็นว่าแตกต่าง และรับรู้ว่า ยาที่กินมีความสาคัญห้ามหยุด
  • 5. ตัวอย่างเหตุการณ์  ผู้ป่วยอุบัติเหตุ กระดูกหัก admit ใน แผนกศัลยกรรม กระดูก พบว่าอีก 3 วันระดับ น้าตาลสูงกว่า 250 mg.% มาทราบภายหลังว่า เป็น ผู้ป่วยเบาหวาน และไม่ได้ รับประทานยาลดระดับน้าตาล ในเลือดตลอด 3 วันที่อยู่ใน โรงพยาบาล
  • 6. ตัวอย่างเหตุการณ์  แพทย์สั่งหยุดยา Metformin ก่อนผ่าตัด ภายหลังการผ่าตัด ผู้ป่วย ไม่ได้รับยาเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ทาให้ระดับ น้าตาลเพิ่มสูงขึ้นกว่า 250 mg.%
  • 7.  การเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา เกิดขึ้นได้ในทุกจุดของการให้บริการใน โรงพยาบาล กว่าครึ่งหนึ่งเกิดขึ้นที่รอยต่อของ การให้บริการ ประมาณ 20% มีสาเหตุมาจาก การส่งต่อข้อมูลคลาดเคลื่อนหรือไม่ครบถ้วน ซึ่งสามารถป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้
  • 8.  JCAHO พบว่า sentinel events ที่มีสาเหตุ มาจากความคลาดเคลื่อนทางยานั้น มากกว่า ครึ่งมีสาเหตุมาจากการสื่อสาร แม้จะไม่ใช่ สาเหตุโดยตรงทั้งหมด แต่ก็มีส่วนเกี่ยวข้อง และกว่าครึ่งหนึ่งสามารถหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิด ได้หากมีระบบ medication reconciliation ที่มีประสิทธิภาพ
  • 9.  Medication reconciliation ได้ถูกเลือกเป็น กระบวนการแรกที่จะลดการเกิดเหตุการณ์ไม่ พึงประสงค์จากการใช้ยา  JCAHO ได้กาหนดให้เป็น National Patient safety Goal ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 เรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน
  • 10.  สาหรับประเทศไทย สถาบันรับรองคุณภาพ สถานพยาบาล (สถาบันพัฒนาและรับรอง คุณภาพโรงพยาบาลเดิม) ได้ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2549 ให้กระบวนการ Medication reconciliation เป็นส่วนหนึ่งในการรับรอง คุณภาพโรงพยาบาลเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
  • 11. Medication Reconciliation  เป็นกระบวนการเปรียบเทียบและประสานรายการ ยาระหว่างรายการยาที่ผู้ป่วยรับประทานอยู่อย่าง ต่อเนื่องก่อนเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลกับ รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับเมื่อแรกรับ รวมทั้งเมื่อ ผู้ป่วยย้ายแผนก ย้ายหอผู้ป่วย หรือเมื่อถูก จาหน่ายกลับบ้าน
  • 12. ขั้นตอนของ Medication Reconciliation  Verification รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับอย่าง ต่อเนื่อง  Clarification ให้มั่นใจว่ายาและขนาดที่ผู้ป่วย ได้รับนั้นถูกต้อง
  • 13. ขั้นตอนของ Medication Reconciliation  Reconciliation เปรียบเทียบรายการยาที่ผู้ป่วย ได้รับเมื่อแรกรับกับรายการยาที่ได้รับอย่าง ต่อเนื่อง บันทึกการเปลี่ยนแปลงพร้อมเหตุผล  Transmission สื่อสารรายการยาที่ผู้ป่วยได้รับ ล่าสุดกับตัวผู้ป่วยเอง ผู้ดูแล และส่งต่อรายการยา ดังกล่าวไปยังสถานพยาบาลที่ผู้ป่วยจะไปรับการ รักษาต่อ
  • 14. ข้อมูลในต่างประเทศ  ร้อยละ 42 ถึงร้อยละ 61 ของผู้ป่วยที่เข้ามานอน รักษาตัวในโรงพยาบาลไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่อย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป  จุดที่จะเกิดปัญหามาก ได้แก่ ผู้ป่วยที่ผ่านเข้าทาง ห้องฉุกเฉิน หรือเข้ารับการผ่าตัด
  • 15. ความคลาดเคลื่อนที่กระบวนการนี้ช่วยได้  การไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่อย่างต่อเนื่อง  การที่ไม่ได้หยุดยาบางตัวก่อนเข้ารับการทา หัตถการบางอย่าง  การที่ไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่ต่อหลังจากแพทย์สั่ง หยุดใช้ชั่วคราว
  • 16. ความคลาดเคลื่อนที่กระบวนการนี้ช่วยได้  กรณีที่ผู้ป่วยใช้ยาซ้าซ้อนเพราะไม่ทราบว่าแพทย์สั่ง เปลี่ยนยาแล้ว  การที่ผู้ป่วยยังใช้ยาในขนาดเดิมต่อไปทั้งที่แพทย์ สั่งปรับขนาดแล้ว  การได้รับยาซ้าซ้อนกับยาที่ผู้ป่วยซื้อใช้เอง หรือรับ จากสถานพยาบาลอื่น
  • 17. ปัญหาและอุปสรรค  ภาระงาน อัตรากาลังในปัจจุบัน  ไม่ชัดเจนว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบกระบวนการใน ภาพรวม  ไม่มีกระบวนการมาตรฐานในการเก็บข้อมูลการใช้ ยาของผู้ป่วยให้ได้ครบถ้วน  ไม่มีทักษะในการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลจาก ผู้ป่วยหรือญาติ  จะสื่อสารกันอย่างไรในระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง
  • 18. การเริ่มต้น  กระบวนการนี้เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาล  ผู้บริหารโรงพยาบาลต้องมีนโยบายที่ชัดเจนในเรื่อง นี้และนาลงสู่การปฏิบัติ โดยผ่านทาง คณะกรรมการ PTC และ/หรือ PCT
  • 19. นโยบายที่ควรกาหนด  คาจากัดความและความครอบคลุม  กาหนดกรอบเวลาที่จะต้องทากระบวนการนี้ให้ เสร็จ  กาหนดข้อมูลที่ต้องบันทึก  กาหนดแหล่งที่มาของข้อมูลดังกล่าว  กาหนดขั้นตอนการดาเนินการ  กาหนดแบบฟอร์มที่ใช้ในระยะแรก  กาหนดช่วงเวลาทดลองและประเมินผลเป็นระยะ
  • 20. รูปแบบความรับผิดชอบ  รูปแบบที่ 1 พยาบาลบันทึกรายการยาที่ผูปวยใช ตอเนื่อง แพทยดูเปรียบเทียบกับรายการยาที่สั่ง เมื่อแรกรับ เภสัชกรทวนสอบรายการยาในแบบ บันทึก เพื่อดูวามีการแก้ไขหรือไม อยางไร เปนการยืนยัน วากระบวนการไดเกิดขึ้นสมบูรณ แลว
  • 21. รูปแบบความรับผิดชอบ  รูปแบบที่ 2 พยาบาลเป็นผู้หาข้อมูลรายการยาที่ ผู้ป่วยใช้อย่างต่อเนื่องและบันทึกลงในแบบฟอร์ม เภสัชกรเปรียบเทียบกับรายการยาแรกรับ เมื่อพบ ความแตกต่างให้ปรึกษาแพทย์ แพทย์ทบทวน รายการยา จะเปลี่ยนแปลงหรือยืนยันคาสั่งเดิม ให้ลงชื่อ เป็นอันจบกระบวนการ หากแพทย์ไม่ ทบทวนภายในระยะเวลาที่กาหนด ให้พยาบาล ติดต่อแพทย์
  • 22. รูปแบบความรับผิดชอบ  รูปแบบที่ 3 เภสัชกรประจาหอผู้ป่วยเป็นผู้หา ข้อมูลยาที่ผู้ป่วยใช้อย่างต่อเนื่อง เปรียบเทียบกับ รายการยาแรกรับ เมื่อพบความแตกต่าง ให้ ปรึกษาแพทย์ ซึ่งแพทย์จะต้องทบทวนรายการยา ภายในกรอบเวลาที่กาหนด หากแพทย์ยังไม่ได้ ทบทวนให้พยาบาลหรือเภสัชกรติดต่อแพทย์
  • 23. ข้อมูลที่ควรบันทึก  ยาที่ผู้ป่วยรับประทานอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งยาที่ ซื้อใช้เอง สมุนไพร อาหารเสริม วิตามิน เป็นต้น  ยาที่รับประทานมื้อสุดท้าย ขนาดเท่าใด เมื่อไหร่  ข้อมูลการแพ้ยา อาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงที่ เคยเกิดขึ้น
  • 24. แหล่งข้อมูล  ยาที่ผู้ป่วยนามาจากบ้าน  การสัมภาษณ์ ผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล  ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล  สมุดประจาตัวผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับเมื่อออกจากโรงพยาบาล  รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับจากแผนกผู้ป่วยนอก  เวชระเบียน
  • 27. กรอบเวลาที่กาหนด  JCAHO กาหนดให้รวบรวมข้อมูลให้เสร็จภายใน 24 ชั่วโมง ยกเว้นยาบางกลุ่มที่ต้องสอบถามผู้ป่วย ให้เสร็จภายใน 4 ชั่วโมง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยา ทันเวลา เช่น Antibiotics, Insulin, Inhaler, Antiepileptic เป็นต้น
  • 29. การประเมินผล  Discrepancy (ร้อยละ): ความแตกต่างของ รายการยาปัจจุบันกับรายการยาตอนแรกรับ โดย ยึดถือว่ารายการที่มีการเปลี่ยนแปลงสิ่งใด สิ่งหนึ่ง ต่อไปนี้คือ ชนิดยา ขนาดยา ความแรงยา วิธีใช้ รูปแบบยา และระยะห่างการใช้ยาไป จะถือว่าเป็น ความแตกต่าง
  • 30. Discrepancy (ร้อยละ): รายการยาทีแตกต่าง 2 รายการจาก 6 รายการคิดเป็น Discrepancy ร้อยละ 33 ่
  • 31. การประเมินผล  Unintentional discrepancy (รายการยาต่อ ผู้ป่วย): แพทย์ไม่ได้ตั้งใจเปลี่ยนแปลงยาที่ผู้ป่วย เคยได้รับ แต่เป็นความผิดพลาด
  • 32. Unintentional discrepancy (รายการยาต่อผู้ป่วย) รายการยาทีไม่มคาสังยืนยันการใช้ตอ เปลียนแปลง หรือหยุดยา 1 รายการจาก 7 ่ ี ่ ่ ่ รายการคิดเป็น Unintentional Discrepancy ร้อยละ 14
  • 33. การประเมินผล  Medication reconciliation success index (ร้อยละ): สัดส่วนของรายการยาที่ไม่มีความ แตกต่าง และรายการยาที่แตกต่างแต่เกิดจาก ความตั้งใจของแพทย์ในขั้นตอนรับเข้า กับจานวน รายการยาทั้งหมด
  • 34. Medication reconciliation success index (ร้อยละ) รายการยาที่ไม่มความแตกต่าง และรายการยาทีแตกต่างแต่เกิดจากความตังใจ ี ่ ้ ของแพทย์ 6 รายการจากทังหมด 6 รายการ คิดเป็น medication ้ reconciliation index ร้อยละ 100
  • 35. การประเมินผล  Potential harm (ร้อยละ): ร้อยละของผู้ป่วยที่พบ ความแตกต่างของรายการยาที่เกิดจากความไม่ ตั้งใจของผู้สั่งใช้ยาอย่างน้อย 1 รายการ (มี Unintentional discrepancy) ต่อจานวนผู้ป่วย ทั้งหมด
  • 36. Potential harm (ร้อยละ) มีรายการยาทีไม่มคาสังยืนยันการใช้ต่อ เปลียนแปลง หรือหยุดยา 1 รายการ ถือว่าเป็น ่ ี ่ ่ Potential harm
  • 37. การประเมินผล  Undocumented intentional discrepancy (ร้อยละ): แพทย์ตั้งใจเปลี่ยนชนิดของยา ปรับ ขนาดที่รับประทาน หรือหยุดยา แต่ไม่ได้บันทึกไว้
  • 38. Undocumented intentional discrepancy (ร้อยละ) มีรายการยาทีมคาสั่งยืนยันการใช้ตอ เปลียนแปลง หรือหยุดยา แต่ไม่ได้บนทึกเหตุผล ่ ี ่ ่ ั ไว้ 1 รายการ จากยาทังหมด 6 รายการ คิดเป็น Undocumented intentional ้ discrepancy ร้อยละ 17
  • 39. การประเมินผล  Drug – related problem/discrepancy (ปัญหาต่อรายการ): พิจารณาผลลัพธ์ที่ตัวผู้ป่วย เป็นสาคัญ
  • 40. สรุป  กระบวนการ medication reconciliation เป็น เรื่องของสหสาขาวิชาชีพ มิใช่เป็นเพียงการทา เอกสาร แต่ควรทาด้วยความรู้สึกห่วงใยในผู้ป่วย อย่างแท้จริง ตระหนักถึงความคลาดเคลื่อนที่มัก เกิดขึ้นตรงรอยต่อของกระบวนการรักษา ผลลัพธ์ จึงจะออกมาสมบูรณ์ สามารถลดเหตุการณ์ไม่พึง ประสงค์จากการใช้ยาได้
  • 41. ปัจจัยสู่ความสาเร็จ  นโยบายและแนวทางการดาเนินงานชัดเจน  สื่อสารและอบรมผู้ปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง  แบบฟอร์มง่ายต่อการบันทึกและสื่อสาร  เริ่มปฏิบัติที่ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น มีโรคประจาตัว ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคมะเร็ง เพื่อเริ่มต้นกระบวนการ เรียนรู้
  • 42. ปัจจัยสู่ความสาเร็จ  เริ่มต้นจากผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด ผู้ป่วยที่รับเข้า จากห้องฉุกเฉิน ซึ่งเป็นจุดเสี่ยงที่ข้อมูลการใช้ยา อาจตกหล่นได้  ประเมินผล และปรับกระบวนการจนพอใจใน ผลลัพธ์แล้วจึงขยายผล
  • 43. Medication Reconciliation ใน รพ. บางละมุง
  • 44. ปี 2551: จุดเริ่มต้น  ทาเฉพาะผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหญิง ยังไม่มีการส่งต่อ ข้อมูลไปยังจุดอื่น  เก็บข้อมูลอย่างเดียว ทาแค่ verification และ clarification  Consult แพทย์ในกรณีที่เป็นยาที่จาเป็นเช่น ยา กันชัก และยาต้านไวรัส
  • 47. ปัญหาทีพบ ่  ผู้ป่วยใช้ยาต้านไวรัส และยาป้องกันการติดเชื้อ ฉวยโอกาสอยู่ เมื่อมาเข้ารับการรักษาได้นายามา ด้วย แต่แพทย์ที่ดูแลไม่ได้สั่งใช้ยาให้ผู้ป่วย  ผู้ป่วยมีโรคประจาตัวเช่น ไทรอยด์ ความดันโลหิต สูง และไขมันในเลือดสูง ได้นายามาด้วย แต่แพทย์ ที่ดูแลไม่ได้สั่งใช้ยาให้ผู้ป่วย จนกระทั่งผู้ป่วยถูก จาหน่ายออกจากโรงพยาบาล
  • 48. ปัญหาทีพบ ่  ผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง มารับยาแต่ละตัว คนละครั้งกัน แล้วแพทย์สั่งใช้ยาเฉพาะครั้งล่าสุด ที่มารับยา ทาให้ได้รับยาโรคความดันโลหิตสูงไม่ ครบ  ผู้ป่วยบางคนไม่ได้รับประทานยาตามที่ระบุไว้ใน ฉลาก ปรับ ลดขนาดยาตามใจตนเอง ในบางรายที่ ใช้ประวัติจากคอมพิวเตอร์อย่างเดียว ทาให้ได้ ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องมา
  • 49. ปัญหาทีพบ ่  ผู้ป่วยสูงอายุจากสถานสงเคราะห์ มักจะจาไม่ได้ว่า รับประทานยาอะไรอยู่บ้าง และเจ้าหน้าที่สถาน สงเคราะห์ มักจะไม่ทราบข้อมูลการใช้ยาของผู้ป่วย  การดาเนินกิจกรรมติดตามผู้ป่วยยังทาได้ไม่ ต่อเนื่อง เนื่องจากไม่มีการโฟกัสกลุ่มผู้ป่วย ทาให้ จานวนผู้ป่วยที่ต้องติดตามมีมากเกิน
  • 50. ปี 2552: การเปลี่ยนแปลง  ทาทั้งผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหญิง และชาย แต่ยังไม่มี การส่งต่อข้อมูลไปยังจุดอื่น  ขอความร่วมมือจากองค์กรแพทย์ และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องผ่านการประชุมระบบยา  คัดเลือกผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังเช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ เป็นต้น
  • 53. ปัญหาทีพบ ่ จากระบบเวชระเบียนอิเล็กโทรนิคของโรงพยาบาล (MITNET)  หน้ารายการยาไม่รองรับการใส่คาสั่งหยุดใช้ยา ทา ให้แพทย์ต้องทาการบันทึกคาสั่งหยุดใช้ยาในหัวข้อ อื่นเช่น อาการที่มา ทาให้แพทย์ที่เข้ามาดูประวัติ ท่านอื่น สั่งใช้ยาที่สั่งหยุดไปแล้ว เนื่องจากไม่เห็น คาสั่งหยุดใช้ยา
  • 54. ปัญหาทีพบ ่ จากระบบเวชระเบียนอิเล็กโทรนิคของโรงพยาบาล (MITNET)  เนื่องจากการมารับยาของผู้ป่วยแต่ละครั้ง ไม่ได้ เป็นการรับยาที่ใช้อยู่ทั้งหมด เพราะยาบางตัวยัง เหลืออยู่ ทาให้ประวัติที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ไม่ ช่วยเหลือในการสืบค้นหารายการยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่ ล่าสุด
  • 55. ปัญหาทีพบ ่ จากตัวผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล  การสัมภาษณ์ผู้ป่วย และญาติเพื่อหาประวัติการใช้ ยาเดิม มีปัญหาในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว มีปัญหา ในการสื่อสาร และไม่มีญาติ  ผู้ป่วยไม่เอายาที่ใช้อยู่มาโรงพยาบาล และไม่ สามารถบอกได้ว่าใช้ยาอะไรอยู่บ้าง
  • 56. ปัญหาทีพบ ่ จากตัวผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล  ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่มีรายการยาเป็นจานวนมาก มัก เป็นผู้สูงอายุทาให้เกิดอุปสรรคในการสัมภาษณ์ เพื่อหาประวัติการใช้ยาเดิม เนื่องจากผู้ป่วยมีความ ทรงจาที่ถดถอย จึงไม่สามารถบอกได้ว่าใช้ยาอะไร อยู่บ้าง ถึงแม้ว่าจะเอาตัวอย่างยาจากโรงพยาบาล ให้ดูก็ตาม
  • 57. ปัญหาทีพบ ่ จากแพทย์และพยาบาล  แพทย์ไม่ให้ความร่วมมือในการทา medication reconciliation โดยการออกคาสั่งกับรายการยาที่ สืบค้นมาได้ และลงชื่อรับทราบรายการยา ทาให้ เกิดปัญหากับตัวชี้วัดดังที่กล่าวไปในข้างต้น  พยาบาลไม่ได้ช่วยเหลือติดตามแพทย์มารับทราบ รายการยา
  • 58. แนวทางการแก้ไข  สร้างระบบจัดเก็บรายการยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่ล่าสุด ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงได้  เพิ่มการทา medication reconciliation ทุกจุด บริการไม่จากัดอยู่แค่ตอนรับเข้าเป็นผู้ป่วยใน  รณรงค์ให้ผู้ป่วยนายาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันติดตัวมา โรงพยาบาลทุกครั้ง  ขอความร่วมมือแพทย์และพยาบาล ในการทา medication reconciliation
  • 59. บทเรียนที่ได้รับ  ควรทาทีละน้อย แต่ต่อเนื่อง ถ้าไม่พร้อมก็ไม่ต้อง ขยายให้ครอบคลุมทั่วทั้งรพ. ให้เลือกกลุ่มที่คิดว่า เกิดปัญหามากที่สุดก่อน  ความร่วมมือของสหสาขาวิชาชีพเป็นสิ่งสาคัญ ถ้า ทาแต่ฝ่ายเภสัชกรรมฝ่ายเดียว โอกาสที่จะทาได้ สาเร็จมีอยู่น้อย  สมุดประจาตัวผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีการบันทึกอย่าง สมบูรณ์ จะช่วยในการค้นหาข้อมูลการใช้ยาได้มาก
  • 60. บทเรียนที่ได้รับ  ระบบคอมพิวเตอร์ที่ดี จะช่วยในการค้นหาข้อมูล การใช้ยาได้มากเหมือนกัน  ความเข้าใจในสาเหตุ และความสาคัญของงานนี้ จะช่วยเพิ่มความร่วมมือจากสหสาขาวิชาชีพได้  การจัดการกับยาเดิมที่คนไข้นามาจากบ้านเป็น เรื่องสาคัญอีกเรื่องหนึ่ง จะจัดการอย่างไรควรให้ ทราบและเข้าใจตรงกันทุกฝ่าย