SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
สื่ อการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
            เรื่อง
    ความหลากหลายทางชีวภาพ




                     โดย คุณครูปิยะนุช ตอซอน
ความหลากหลายทางชีวภาพ ( Biodiversity) หมายถึง
การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิ ด นานาพันธุ์ในระบบนิ เวศอันเป็ นแหล่งที่อยู่
อาศัย ซึ่ งมีมากมายและแตกต่างกันทัวโลก หรื อง่ายๆ คือ การที่มีชนิ ด
                                   ่
พันธุ์ (Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนิ เวศ
(Ecosystem) ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก
ความหลากหลายทางชีวภาพ
                                   (Biodiversity)




ความหลากหลายในระดับพันธุกรรม   ความหลายหลายในระดับสิ่ งมีชีวต
                                                            ิ   ความหลากหลายในระดับระบบนิเวศ
   (Genetic diversity)           (Species diversity)             (Ecological diversity)
อนุกรมวิธาน (Taxonomy) เป็ นการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็ น
หมวดหมูตามสายวิวฒนาการ อนุกรมวิธานเป็ นวิชาที่วาด้ วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ
        ่         ั                               ่
1.การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต (classification) ออกเป็ นหมวดหมู่ต่างๆ
2.การกาหนดชื่อสากลของหมวดหมูและชนิดของสิ่งมีชีวิต (nomenclature)
                                  ่
3.การตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ ของสิ่งมีชีวิต (identification)
Kingdom Animalia (อาณาจักรสัตว์)
   Phylum Chordata Subphylum Vertebrata
         Class Mammalia
             Subclass Theria Infraclass Eutheria
                Order Primates
                    Family Hominidae
                         Genus Homo
                              Species Homo sapiens
  อนุกรมวิธานของมนุษย์
เป็ นชื่อที่กาหนดขึนตามหลักสากล และเป็ นที่ยอมรับกัน ใน
                           ้
หมู่นักวิทยาศาสตร์ ทั่วไป ลินเนียส เป็ นผู้ริเริ่มการใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์
เป็ นคนแรก โดยกาหนดให้ สิ่งมีชีวตประกอบด้ วยชื่อ 2 ชื่อ
                                  ิ
        ชื่อแรกคือ "จีนัส" และชื่อที่ 2 คือ "สปี ชีส์"
        การเรียกชื่อซึ่งประกอบด้ วยชื่อ 2 ชื่อ เรียกว่ า "การตั้งชื่อแบบ
ทวินาม (binomial nomenclature) ซึ่งจัดว่ า เป็ นชื่อ
วิทยาศาสตร์
• ใช้ ชื่อภาษาละตินเสมอ เพราะภาษาละตินเป็ นภาษาที่ไม่ มีการใช้ เป็ น
ภาษาพูดแล้ ว โอกาสทีความหมายจะเพียนไปเมือเวลาผ่ านไปนานๆ จึง
                     ่                 ้      ่
มีน้อย
• ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ของพืชและสั ตว์ จะเป็ นอิสระไม่ ขนต่ อกัน
                                                      ึ้
• ชื่อวิทยาศาสตร์ ของพืชและสั ตว์ แต่ ละหมวดหมู่จะมีชื่อทีถูกต้ อง
                                                          ่
ทีสุดเพียงชื่อเดียว
  ่
• ชื่อในลาดับขั้น Species จะเขียนตัวเอน หรือ ขีดเส้ นใต้ เสมอ
• ชื่อหมวดหมู่ในลาดับขั้น Family ลงไป ต้ องมีตัวอย่ างต้ นแบบ
ของสิ่ งมีชีวตนั้นประกอบการพิจารณา เช่ น ชื่อ Family ในพืช
             ิ
จะลงท้ ายด้ วย aceae แต่ ในสั ตว์ จะลงท้ ายด้ วย idea

• ชื่อในลาดับขั้น Species จะประกอบด้ วย 2 คา โดยคาแรกจะ
ดึงเอาชื่อ Genus มา แล้ วคาทีสองจึงเป็ นชื่อระบุชนิด หรือ
                             ่
เรียกว่ า Specific epithet ซึ่งจะขึนต้ นด้ วยอักษรตัวเล็ก
                                     ้

• ชื่อในลาดับขั้น Genus จะใช้ ตัวอักษรตัวใหญ่ นาหน้ า และตาม
ด้ วยอักษรตัวเล็ก
สปี ชีส์ (Species) หมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เราเห็นว่ ามี
ความคล้ า ยคลึ ง กั น มาก ดั ง เช่ น สปี ชี ส์ "พั ฟ ฟิ น" (Puffin)
หมายถึ ง นกกลุ่ ม หนึ่ ง ที่ พ บทั่ ว ไปในแถบแอตแลนติ ก เหนื อ
พัฟฟิ นผสมพันธุ์ ในโพรงบนพืนดิน และมีจะงอยปากหลายสี
                                    ้
ตีนสีส้ม และมีท่าเดินน่ าขบขัน คาอธิบายเช่ นนีมีประโยชน์ แต่
                                                      ้
นักวิวัฒนาการแยกสิ่งมีชีวิต ออกเป็ นสปี ชีส์ได้ ด้วยวิธีท่ ีง่ายกว่ า
นี มากกล่ าวคือสิ่งมีชีวิตสปี ชีส์เดียวกัน จะต้ องผสมพันธุ์ กันได้
   ้
และมีลูกด้ วยกันได้
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia) เป็ นสิ่งมีชีวิต
พวกที่นิวเคลียสมีผนังห่ อหุ้ม ประกอบด้ วย หลายเซลล์ มีการแบ่ ง
หน้ าที่ของแต่ ละเซลล์ เพื่อทาหน้ าที่เฉพาะอย่ างแบบถาวร ไม่ มี
คลอโรฟิ ลล์ สร้ างอาหารเองไม่ ได้ ดารงชีวิตได้ หลายลักษณะทัง     ้
บนบกในนา และบางชนิดเป็ นปรสิต อาณาจักรนีได้ แก่ สัตว์ ทุก
              ้                                       ้
ชนิด ตังแต่ สัตว์ ไม่ มีกระดูกสันหลังจนถึงสัตว์ ท่ มีกระดูกสันหลัง
         ้                                         ี
อาณาจักรสั ตว์ เเบ่ งสั ตว์ เป็ น 9 ไฟลัม เกือบทุกไฟลัมเป็ นสั ตว์ ไม่
มีกระดูกสั นหลัง ( invertebrate ) ซึ่งมีจานวนล้ านกว่ าสปี ชีส์
หรือมากกว่ า 90 % ของสั ตว์ ท้ังหมด สั ตว์ ทมจานวนมากทีสุด คือ เเม
                                                 ี่ ี          ่
ลง มีไฟลัมเดียวเป็ นสั ตว์ มกระดูกสั นหลัง ( vertebrate ) มี
                              ี
จานวนประมาณ 80,000 สปี ชีส์ เเละมนุษย์ คือ สปี ชีส์หนึ่งในไฟลัม
สุ ดท้ ายนีด้วย
           ้
สั ตว์ ไม่ มกระดูกสั นหลัง ( invertebrate )
              ี
       สัตว์ ไม่ มีกระดูกสันหลัง (Invertebrates) หมายความ
รวมถึงสั ตว์ ท่ ีไม่ มีแท่ งกระดูกสั นหลั งสาหรั บยึดติดให้ เป็ นส่ วน
เดียวกันของร่ างกาย จัดเป็ นสัตว์ ประเภทที่ไม่ มีกระดูก และไม่ มี
กระดู ก อ่ อ นอยู่ ภ ายในร่ างกาย มี ค วามแตกต่ า งจากสั ต ว์ ท่ ี มี
กระดูกสั นหลั ง ที่ทังหมดถูกจัดอยู่ในไฟลั มเดียวในอาณาจักร
                        ้
สั ต ว์ แต่ ส าหรั บ สั ต ว์ ไม่ มี ก ระดู ก สั น หลั ง มี จ านวนมากมาย
หลากหลายไฟลัม และมีจานวนมากกว่ าสัตว์ ท่ มีกระดูกสันหลัง ี
ไฟลัมพอริเฟอรา ( Polifera )
ไฟลัมพอริเฟอรา (Porifera มีรากศัพท์ มาจากภาษาละติน -
porus หมายถึง รู และ ferre หมายถึง พยุงหรือคาเอาไว้ )      ้
เป็ นสั ตว์ หลายเซลล์ ทมววฒนาการตาสุ ด มีรูปร่ างคล้ ายแจกันที่
                       ี่ ี ิ ั         ่
มีรูพรุนเล็ก ๆ ทั่วตัวซึ่งเป็ นช่ องทางให้ นาผ่ านเข้ าไปในลาตัว มี
                                            ้
เซลล์ เรียงกันเป็ นสองชั้นแต่ ยงไม่ มีเส้ นประสาทและกล้ ามเนือที่
                                  ั                             ้
แท้ จริง ไม่ มอวัยวะและทางเดินอาหาร ส่ วนใหญ่ อาศัยอยู่ในนา
              ี                                                   ้
ทะเล มีบางชนิดเท่ านั้นทีอาศัยอยู่ในนาจืด
                             ่            ้
ไฟลัมพอริเฟอรา ( Polifera )

                       ฟองนา
                           ้
ไฟลัมซีเลนเทอราตา ( Coelenterata )
   เป็ นกลุ่มสั ตว์ ทมโพรงในลาตัว มีเนือเยือ 2 ชั้น
                      ี่ ี                ้ ่
    (Diploblastica) โดยที่ระหว่ าง 2 ชั้นดังกล่ าวมีลกษณะ   ั
    คล้ ายวุ้น ที่เรียกว่ า "มีโซเกลีย" (Mesoglea)
   รู ปร่ างทรงกระบอก หรือ ทรงร่ ม สมมาตรรัศมี
   มีช่องว่ างในลาตัวที่เรียกว่ า "ช่ องแกสโตรวาสคิวลาร์ " ทาหน้ าที่
    เป็ นทางเดินอาหารและระบบหมุนเวียน
ไฟลัมซีเลนเทอราตา ( Coelenterata ) ต่ อ
   ทางเดินอาหารแบบช่ องเดียว (One-hole sac) มีการ
    ย่ อย อาหารภายในเซลล์ (Intracellular
    digestion) เกิดขึนที่ ชั้นแกสโตรเดอร์ มิส
                         ้
   มีหนวดหรือ เทนตาเคิล (Tentacle) อยู่รอบปาก
   มีเข็มพิษเรียก นีมาโตซีสต์ (Nematocyst) ใช้ สาหรับ
    แทงเหยือ่
   ระบบประสาทเป็ นแบบร่ างแห (Nerve Net) คือเซลล์
    ประสาทที่เชื่องโยงกันทัวตัวยังไม่ มการรวมกลุ่มของเซลล์
                           ่           ี
    ประสาทเป็ นปมประสาท (Ganglion)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา ( Coelenterata )

                           ไฮดรา
กัลปั งหา            แมงกะพรุ น




ปะการัง               ดอกไม้ ทะเล
ไฟลัมเเพลทีเฮลมินเทส ( Platyhelminthes )
  สั ตว์ ใน ไฟลั ม นี้ มี ชื่ อเรี ยกโด ยทั่ ว ไ ปว่ าหนอนตั ว แ บน
  (Flatworms) เนื่องจากมีลาตัวแบนทางแนวทางบนลงล่ าง
  เป็ นพวกแรก อาศัยอยู่ในน้าจืดและน้าทะเล ส่ วนใหญ่ ดารงชี วิต
  อยู่เป็ นปรสิ ตมีบางชนิดทีดารงชีวตแบบอิสระ
                                ่      ิ
 มีเนือเยือ 3 ชั้น ประกอบด้ วยเนือเยือเอกโทเดิร์ม มีโซเดิร์ม และเอน
          ้ ่                     ้ ่
 โดเดิร์ม
 ไม่ มีช่องว่างภายในลาตัว
 มีระบบทางเดินอาหาร ไม่ สมบูรณ์ มีแต่ ปาก ไม่ มทวารหนัก
                                                   ี
ไฟลัมเเพลทีเฮลมินเทส ( Platyhelminthes ) ต่ อ
ไม่ มีปล้ องที่แท้ จริง
 ผนังลาตัวอ่ อนนิ่ม ยกเว้ นพวกที่เป็ นปรสิตจะมี คิวท์ เคิล หนาและมี
 อวัยวะในการยึดเกาะติดกับตัวให้ อาศัย
มีเฟรมเซลล์ ทาหน้ าที่ เป็ นอวัยวะขับถ่ ายของเสียที่เป็ นของเหลว
ระบบประสาทประกอบด้ วยปมประสาทวงแหวนและเส้ นประสาท
 ถอดไปตามความยาวของลาตัว
มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เป็ นสัตว์ ท่ มีสองเพศอยู่ในตัวเดียวกัน
                                          ี
 การผสมพันธุ์อาจเกิดขึนภายในในตัวตัวเดียวกันหรื อผสมข้ ามตัวก็ได้
                         ้
 และการปฏิสนธิจะเกิดขึนภายในร่ างกาย
                           ้
ไฟลัมเเพลทีเฮลมินเทส ( Platyhelminthes )




พลานาเรีย
พยาธิใบไม้ ในตับ   พยาธิตัวตืด
ไฟลัมเนทาโทดา ( Nematoda )
      สัตว์ ในไฟลัมนีเ้ รียกกันทั่วไปว่ า หนอนตัวกลม(Round worm)
   มีสมมาตรแบบผ่ าซีก
    มีช่องว่ างในลาตัวแบบเทียม โดยมีช่องว่ างอยู่ระหว่ างเนือเยื่อชัน
                                                                ้      ้
    กลางและเนือเยื่อชันใน
                  ้        ้
    ลาตัวกลม ยาว แหลมหัวแหลมท้ าย ไม่ มีข้อปล้ อง ผิวลาตัวเรี ยบ มี
    สารคิวทิเคิลหนาหุ้มตัว
    ไม่ มีระบบหมุนเวียนเลือด แต่ ใช้ ของเหลวในช่ องว่ างเทียมช่ วยใน
    การลาเลียงสาร
    ไม่ มีอวัยวะหายใจโดยเฉพาะ พวกที่ดารงชีพวิตแบบปรสิตหายใจ
    แบบไม่ ใช้ ออกซิเจน แต่ พวกที่อยู่อย่ างอิสระใช้ ผิวหนังเป็ นส่ วน
    แลกเปลี่ยนก็าซกับสิ่งแวดล้ อม
ไฟลัมเนทาโทดา ( Nematoda ) ต่ อ
 ระบบขับถ่ ายประกอบด้ วยเส้ นข้ างลาตัว (Lateral line) ซึ่ง
  ภายในบรรจุท่อขับถ่ าย (Excretory canal) ไว้
 ทางเดินอาหารสมบูรณ์ ประกอบด้ วยปากและทวารหนัก
 ระบบประสาท ประกอบด้ วยปมประสาทรู ปวงแหวน (Nerve
  ring) อยู่รอบคอหอยและมีแขนงประสาทแยกออกทางด้ านท้ อง
  และทางด้ านหลัง
 มีระบบกล้ ามเนือยาวตลอดลาตัว (Longitudinal muscle)
                    ้
 เป็ นสัตว์ แยกเพศตัวเมียมักมีขนาดใหญ่ กว่ าตัวผู้เนื่องจากตัวเมีย
  ต้ องทาหน้ าที่ในการออกไข่ ตว์ ในไฟลัมนีเ้ รี ยกกันทั่วไปว่ า หนอน
  ตัวกลม(Round worm)
ไฟลัมเนทาโทดา ( Nematoda )




                พยาธิเส้ นด้ าย หรื อ
                พยาธิเข็มหมุด
  พยาธิปากขอ
พยาธิไส้ เดือน   พยาธิโรคเท้ าช้ าง   พยาธิเเส้ ม้า
ไฟลัมเเอนเนลิดา ( Annelida )
ไฟลัมเเอนเนลิดา ( Annelida )
               เเม่ เพรียง   ปลิงนาจืด
                                  ้




ไส้ เดือนดิน
ไฟลัมอาร์ โทรโพดา ( Athropoda )
ไฟลัมอาร์ โทรโพดา ( Athropoda )
ผึง
  ้


           ตะขาบ             ปู
    แมงดาทะเล


                    กิงกือ
                      ้
ไฟลัมมอลลัสกา ( Mollusca )
ไฟลัมมอลลัสกา ( Mollusca )
               ลินทะเล
                 ้


หอยเปาฮือ
     ๋ ้                 ปลาหมึก



      หอยทาก             ทาก
ไฟลัมเอไดโนเดอมาตา ( Echinodermata )
ไฟลัมเอไดโนเดอมาตา ( Echinodermata )
ดาวทะเล          เม่ นทะเล ปลิงทะเล




          อีแปะทะเล   พลับพลึงทะเล
ไฟลัมเวอร์ ทีบราตา (Vertebrata)
สั ตว์ มกระดูกสั นหลัง (Vertebrate) สิ่ งมีชีวตประเภทนี้
        ี                                       ิ
มีกระดูกสันหลังหรื อไขสันหลัง โครงกระดูกของไขสันหลัง
ถูกเรี ยกว่ากระดูกสันหลัง เป็ นไฟลัมย่อยที่ใหญ่ที่สุดใน
Chordates รวมทั้งยังมีสตว์ที่คนรู ้จกมากที่สุดอีกด้วย
                              ั        ั
และสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง มีท้ งหมด 5 คลาส ดังนี้
                                ั
ไฟลัมคอร์ ดาตา ( Chordata )
ซับไฟลัมยูโรคอร์ ดาตา ( Urochordata )
    เพรี ยงหัวหอม
ซับไฟลัมเซฟาโลคอร์ ดาตา ( Cephalochordata )

เเอมฟิ ออกซัส
ซับไฟลัมเวอร์ ทีบราตา ( Vertebrata )
แอ็กนาทา
   (Class Agnatha)
     เช่ น ปลาปากกลม

        ออสทีอิกไทอีส
(Class Osteichthyes)
 เช่ น ปลากะพง, ปลาหมอเทศ

         คอนดริกไทอีส
(Class Chomdrichthyes)
   เช่ น ปลาฉนาก, ปลาโรนิน
เเอมฟิ เบีย ( Amphibia )
          สั ตว์ ครึ่งบกครึ่งนา (Amphibians) เป็ นสั ตว์ ที่อยู่ได้ ท้ังในนาและ
                                ้                                             ้
บนบก มีต่อมเมือกทาให้ ผวหนังชุ่ มชื้นตลอดเวลา ผิวหนังเปี ยกลืนอยู่เสมอ ไม่ มี
                              ิ                                       ่
เกล็ดหรือขน หายใจด้ วยเหงือก ปอด ผิวหนัง หรือผิวในปากในคอ สื บพันธุ์โดย
การผสมพันธุ์ ภายนอกลาตัว ส่ วนใหญ่ ตัวผู้จะมีถุงลมปากเพื่อใช้ ส่งเสี ยงร้ อง
เรี ยกตัวเมีย ออกลูกเป็ นไข่ อยู่ในน้า ไม่ มีเปลือก วางไข่ เป็ นกลุ่มในน้ามีสารเป็ น
วุ้นหุ้ม
                                                                ซาลามานเดอร์



                     กบ คางคก
เขียดงู   เขียด




             อึ่งอ่ าง
เอวิส ( Aves )
        คลาสเอวีส ( Aves ) ได้ เเก่ พวกนกต่ างๆ รวมทั้งเป็ ด ไก่ ห่ าน หงส์ นก
ทีใกล้ สูญพันธุ์ นกเเต้ วเเร้ วท้ องดา เเร้ ง นกเงือก นกทีสูญพันธุ์ นกเจ้ าฟาหญิงสิ
   ่                                                      ่                 ้
รินธร คลาสนีปฏิสนธิภายในร่ างกาย เป็ นสั ตว์ มกระดูกสั นหลังพวกเเรกที่เป็ น
                 ้                                    ี
สั ตว์ เลือดอุ่น มีขนลักษณะเป็ นเเผง ขา 1 คู่ ปี ก 1 คู่ หายใจด้ วยปอดมีถุงลม
หลายถุ ง ติ ด ต่ อ กั บ ปอดท าหน้ า ที่ เ ก็ บ อากาศหายใจ เเละระบายความร้ อ น
กระดูกกลวงออกลูกเป็ นไข่ ที่มีเปลือกหุ้ม ไข่ เเดงมีปริมาณมาก หัวใจ 4 ห้ อง มี
เส้ นประสาทสมอง 12 คู่




เป็ ด                        ไก่                          ห่ าน
แร้ ง



   หงส์
                    นกแก้ ว


นกสื่อรัก
แรปทิเลีย (Class Reptilia)
          สั ตว์ เลือยคลาน (Reptilia) จัดอยู่ในไฟลัมสั ตว์ มีแกนสั น เป็ น
                    ้
สั ตว์ มีกระดูกสั นหลังทีจัดเป็ นสั ตว์ ในกลุ่มแรก ๆ ของโลกทีมีการดารงชีวต
                            ่                                ่           ิ
บนบกอย่ างแท้ จริ ง สั ตว์ เลือยคลานในยุคดึกดาบรรพ์ ท่ีรอดชี วิตจากการ
                              ้
สู ญพันธุ์และยังดารงชีวิตในปัจจุบัน มีจานวนมากถึง 7,000 ชนิด กระจาย
อยู่ทวโลกทั้งชนิดอาศัยในแหล่ งนาและบนบก
       ั่                            ้
         จิงเหลน
           ้                                                        จิงจก
                                                                      ้




                        จระเข้
ตะกวน    เต่ า
ตะพาบนา
      ้    แย้
แมมมาเลีย (Class Mammalia)
         แมมมาเลีย (Class Mammalia) มีลกษณะสาคัญคือ คือ  ั
    มีขนเป็ นเส้ นๆปกคลุมผิวลาตัวส่ วนมากออกลูกเป็ นตัว ตัวอ่ อน
    เจริญอยู่ในมดลูกของแม่ ตัวเมียจะมีต่อมนานมผลิตนานมสาหรับ
                                                     ้        ้
    เลียงลูกอ่ อน สั ตว์ เลียงลูกด้ วยนม ได้ แก่ ตุ่นปากเป็ ด พวกสั ตว์ มถุง
       ้                    ้                                            ี
    หน้ าท้ อง เช่ น จิงโจ้ โอพอส และพวกสั ตว์ มีรก เช่ น กระรอก
    กระต่ าย วัว ควาย ช้ าง แรด ลิง คน เป็ นต้ น
ตุ๋นปากเป็ ด                            จิงโจ
                                          ้         คน
THE END

More Related Content

What's hot

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 

What's hot (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 

Similar to อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์

Similar to อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์ (20)

ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
1
11
1
 

อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์

  • 1. สื่ อการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ โดย คุณครูปิยะนุช ตอซอน
  • 2. ความหลากหลายทางชีวภาพ ( Biodiversity) หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิ ด นานาพันธุ์ในระบบนิ เวศอันเป็ นแหล่งที่อยู่ อาศัย ซึ่ งมีมากมายและแตกต่างกันทัวโลก หรื อง่ายๆ คือ การที่มีชนิ ด ่ พันธุ์ (Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนิ เวศ (Ecosystem) ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก
  • 3. ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ความหลากหลายในระดับพันธุกรรม ความหลายหลายในระดับสิ่ งมีชีวต ิ ความหลากหลายในระดับระบบนิเวศ (Genetic diversity) (Species diversity) (Ecological diversity)
  • 4. อนุกรมวิธาน (Taxonomy) เป็ นการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็ น หมวดหมูตามสายวิวฒนาการ อนุกรมวิธานเป็ นวิชาที่วาด้ วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ ่ ั ่ 1.การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต (classification) ออกเป็ นหมวดหมู่ต่างๆ 2.การกาหนดชื่อสากลของหมวดหมูและชนิดของสิ่งมีชีวิต (nomenclature) ่ 3.การตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ ของสิ่งมีชีวิต (identification)
  • 5. Kingdom Animalia (อาณาจักรสัตว์) Phylum Chordata Subphylum Vertebrata Class Mammalia Subclass Theria Infraclass Eutheria Order Primates Family Hominidae Genus Homo Species Homo sapiens อนุกรมวิธานของมนุษย์
  • 6. เป็ นชื่อที่กาหนดขึนตามหลักสากล และเป็ นที่ยอมรับกัน ใน ้ หมู่นักวิทยาศาสตร์ ทั่วไป ลินเนียส เป็ นผู้ริเริ่มการใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ เป็ นคนแรก โดยกาหนดให้ สิ่งมีชีวตประกอบด้ วยชื่อ 2 ชื่อ ิ ชื่อแรกคือ "จีนัส" และชื่อที่ 2 คือ "สปี ชีส์" การเรียกชื่อซึ่งประกอบด้ วยชื่อ 2 ชื่อ เรียกว่ า "การตั้งชื่อแบบ ทวินาม (binomial nomenclature) ซึ่งจัดว่ า เป็ นชื่อ วิทยาศาสตร์
  • 7. • ใช้ ชื่อภาษาละตินเสมอ เพราะภาษาละตินเป็ นภาษาที่ไม่ มีการใช้ เป็ น ภาษาพูดแล้ ว โอกาสทีความหมายจะเพียนไปเมือเวลาผ่ านไปนานๆ จึง ่ ้ ่ มีน้อย • ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ของพืชและสั ตว์ จะเป็ นอิสระไม่ ขนต่ อกัน ึ้ • ชื่อวิทยาศาสตร์ ของพืชและสั ตว์ แต่ ละหมวดหมู่จะมีชื่อทีถูกต้ อง ่ ทีสุดเพียงชื่อเดียว ่ • ชื่อในลาดับขั้น Species จะเขียนตัวเอน หรือ ขีดเส้ นใต้ เสมอ
  • 8. • ชื่อหมวดหมู่ในลาดับขั้น Family ลงไป ต้ องมีตัวอย่ างต้ นแบบ ของสิ่ งมีชีวตนั้นประกอบการพิจารณา เช่ น ชื่อ Family ในพืช ิ จะลงท้ ายด้ วย aceae แต่ ในสั ตว์ จะลงท้ ายด้ วย idea • ชื่อในลาดับขั้น Species จะประกอบด้ วย 2 คา โดยคาแรกจะ ดึงเอาชื่อ Genus มา แล้ วคาทีสองจึงเป็ นชื่อระบุชนิด หรือ ่ เรียกว่ า Specific epithet ซึ่งจะขึนต้ นด้ วยอักษรตัวเล็ก ้ • ชื่อในลาดับขั้น Genus จะใช้ ตัวอักษรตัวใหญ่ นาหน้ า และตาม ด้ วยอักษรตัวเล็ก
  • 9. สปี ชีส์ (Species) หมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เราเห็นว่ ามี ความคล้ า ยคลึ ง กั น มาก ดั ง เช่ น สปี ชี ส์ "พั ฟ ฟิ น" (Puffin) หมายถึ ง นกกลุ่ ม หนึ่ ง ที่ พ บทั่ ว ไปในแถบแอตแลนติ ก เหนื อ พัฟฟิ นผสมพันธุ์ ในโพรงบนพืนดิน และมีจะงอยปากหลายสี ้ ตีนสีส้ม และมีท่าเดินน่ าขบขัน คาอธิบายเช่ นนีมีประโยชน์ แต่ ้ นักวิวัฒนาการแยกสิ่งมีชีวิต ออกเป็ นสปี ชีส์ได้ ด้วยวิธีท่ ีง่ายกว่ า นี มากกล่ าวคือสิ่งมีชีวิตสปี ชีส์เดียวกัน จะต้ องผสมพันธุ์ กันได้ ้ และมีลูกด้ วยกันได้
  • 10. อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia) เป็ นสิ่งมีชีวิต พวกที่นิวเคลียสมีผนังห่ อหุ้ม ประกอบด้ วย หลายเซลล์ มีการแบ่ ง หน้ าที่ของแต่ ละเซลล์ เพื่อทาหน้ าที่เฉพาะอย่ างแบบถาวร ไม่ มี คลอโรฟิ ลล์ สร้ างอาหารเองไม่ ได้ ดารงชีวิตได้ หลายลักษณะทัง ้ บนบกในนา และบางชนิดเป็ นปรสิต อาณาจักรนีได้ แก่ สัตว์ ทุก ้ ้ ชนิด ตังแต่ สัตว์ ไม่ มีกระดูกสันหลังจนถึงสัตว์ ท่ มีกระดูกสันหลัง ้ ี
  • 11. อาณาจักรสั ตว์ เเบ่ งสั ตว์ เป็ น 9 ไฟลัม เกือบทุกไฟลัมเป็ นสั ตว์ ไม่ มีกระดูกสั นหลัง ( invertebrate ) ซึ่งมีจานวนล้ านกว่ าสปี ชีส์ หรือมากกว่ า 90 % ของสั ตว์ ท้ังหมด สั ตว์ ทมจานวนมากทีสุด คือ เเม ี่ ี ่ ลง มีไฟลัมเดียวเป็ นสั ตว์ มกระดูกสั นหลัง ( vertebrate ) มี ี จานวนประมาณ 80,000 สปี ชีส์ เเละมนุษย์ คือ สปี ชีส์หนึ่งในไฟลัม สุ ดท้ ายนีด้วย ้
  • 12. สั ตว์ ไม่ มกระดูกสั นหลัง ( invertebrate ) ี สัตว์ ไม่ มีกระดูกสันหลัง (Invertebrates) หมายความ รวมถึงสั ตว์ ท่ ีไม่ มีแท่ งกระดูกสั นหลั งสาหรั บยึดติดให้ เป็ นส่ วน เดียวกันของร่ างกาย จัดเป็ นสัตว์ ประเภทที่ไม่ มีกระดูก และไม่ มี กระดู ก อ่ อ นอยู่ ภ ายในร่ างกาย มี ค วามแตกต่ า งจากสั ต ว์ ท่ ี มี กระดูกสั นหลั ง ที่ทังหมดถูกจัดอยู่ในไฟลั มเดียวในอาณาจักร ้ สั ต ว์ แต่ ส าหรั บ สั ต ว์ ไม่ มี ก ระดู ก สั น หลั ง มี จ านวนมากมาย หลากหลายไฟลัม และมีจานวนมากกว่ าสัตว์ ท่ มีกระดูกสันหลัง ี
  • 13. ไฟลัมพอริเฟอรา ( Polifera ) ไฟลัมพอริเฟอรา (Porifera มีรากศัพท์ มาจากภาษาละติน - porus หมายถึง รู และ ferre หมายถึง พยุงหรือคาเอาไว้ ) ้ เป็ นสั ตว์ หลายเซลล์ ทมววฒนาการตาสุ ด มีรูปร่ างคล้ ายแจกันที่ ี่ ี ิ ั ่ มีรูพรุนเล็ก ๆ ทั่วตัวซึ่งเป็ นช่ องทางให้ นาผ่ านเข้ าไปในลาตัว มี ้ เซลล์ เรียงกันเป็ นสองชั้นแต่ ยงไม่ มีเส้ นประสาทและกล้ ามเนือที่ ั ้ แท้ จริง ไม่ มอวัยวะและทางเดินอาหาร ส่ วนใหญ่ อาศัยอยู่ในนา ี ้ ทะเล มีบางชนิดเท่ านั้นทีอาศัยอยู่ในนาจืด ่ ้
  • 15. ไฟลัมซีเลนเทอราตา ( Coelenterata )  เป็ นกลุ่มสั ตว์ ทมโพรงในลาตัว มีเนือเยือ 2 ชั้น ี่ ี ้ ่ (Diploblastica) โดยที่ระหว่ าง 2 ชั้นดังกล่ าวมีลกษณะ ั คล้ ายวุ้น ที่เรียกว่ า "มีโซเกลีย" (Mesoglea)  รู ปร่ างทรงกระบอก หรือ ทรงร่ ม สมมาตรรัศมี  มีช่องว่ างในลาตัวที่เรียกว่ า "ช่ องแกสโตรวาสคิวลาร์ " ทาหน้ าที่ เป็ นทางเดินอาหารและระบบหมุนเวียน
  • 16. ไฟลัมซีเลนเทอราตา ( Coelenterata ) ต่ อ  ทางเดินอาหารแบบช่ องเดียว (One-hole sac) มีการ ย่ อย อาหารภายในเซลล์ (Intracellular digestion) เกิดขึนที่ ชั้นแกสโตรเดอร์ มิส ้  มีหนวดหรือ เทนตาเคิล (Tentacle) อยู่รอบปาก  มีเข็มพิษเรียก นีมาโตซีสต์ (Nematocyst) ใช้ สาหรับ แทงเหยือ่  ระบบประสาทเป็ นแบบร่ างแห (Nerve Net) คือเซลล์ ประสาทที่เชื่องโยงกันทัวตัวยังไม่ มการรวมกลุ่มของเซลล์ ่ ี ประสาทเป็ นปมประสาท (Ganglion)
  • 18. กัลปั งหา แมงกะพรุ น ปะการัง ดอกไม้ ทะเล
  • 19. ไฟลัมเเพลทีเฮลมินเทส ( Platyhelminthes ) สั ตว์ ใน ไฟลั ม นี้ มี ชื่ อเรี ยกโด ยทั่ ว ไ ปว่ าหนอนตั ว แ บน (Flatworms) เนื่องจากมีลาตัวแบนทางแนวทางบนลงล่ าง เป็ นพวกแรก อาศัยอยู่ในน้าจืดและน้าทะเล ส่ วนใหญ่ ดารงชี วิต อยู่เป็ นปรสิ ตมีบางชนิดทีดารงชีวตแบบอิสระ ่ ิ  มีเนือเยือ 3 ชั้น ประกอบด้ วยเนือเยือเอกโทเดิร์ม มีโซเดิร์ม และเอน ้ ่ ้ ่ โดเดิร์ม  ไม่ มีช่องว่างภายในลาตัว  มีระบบทางเดินอาหาร ไม่ สมบูรณ์ มีแต่ ปาก ไม่ มทวารหนัก ี
  • 20. ไฟลัมเเพลทีเฮลมินเทส ( Platyhelminthes ) ต่ อ ไม่ มีปล้ องที่แท้ จริง  ผนังลาตัวอ่ อนนิ่ม ยกเว้ นพวกที่เป็ นปรสิตจะมี คิวท์ เคิล หนาและมี อวัยวะในการยึดเกาะติดกับตัวให้ อาศัย มีเฟรมเซลล์ ทาหน้ าที่ เป็ นอวัยวะขับถ่ ายของเสียที่เป็ นของเหลว ระบบประสาทประกอบด้ วยปมประสาทวงแหวนและเส้ นประสาท ถอดไปตามความยาวของลาตัว มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เป็ นสัตว์ ท่ มีสองเพศอยู่ในตัวเดียวกัน ี การผสมพันธุ์อาจเกิดขึนภายในในตัวตัวเดียวกันหรื อผสมข้ ามตัวก็ได้ ้ และการปฏิสนธิจะเกิดขึนภายในร่ างกาย ้
  • 22. พยาธิใบไม้ ในตับ พยาธิตัวตืด
  • 23. ไฟลัมเนทาโทดา ( Nematoda ) สัตว์ ในไฟลัมนีเ้ รียกกันทั่วไปว่ า หนอนตัวกลม(Round worm)  มีสมมาตรแบบผ่ าซีก  มีช่องว่ างในลาตัวแบบเทียม โดยมีช่องว่ างอยู่ระหว่ างเนือเยื่อชัน ้ ้ กลางและเนือเยื่อชันใน ้ ้  ลาตัวกลม ยาว แหลมหัวแหลมท้ าย ไม่ มีข้อปล้ อง ผิวลาตัวเรี ยบ มี สารคิวทิเคิลหนาหุ้มตัว  ไม่ มีระบบหมุนเวียนเลือด แต่ ใช้ ของเหลวในช่ องว่ างเทียมช่ วยใน การลาเลียงสาร  ไม่ มีอวัยวะหายใจโดยเฉพาะ พวกที่ดารงชีพวิตแบบปรสิตหายใจ แบบไม่ ใช้ ออกซิเจน แต่ พวกที่อยู่อย่ างอิสระใช้ ผิวหนังเป็ นส่ วน แลกเปลี่ยนก็าซกับสิ่งแวดล้ อม
  • 24. ไฟลัมเนทาโทดา ( Nematoda ) ต่ อ  ระบบขับถ่ ายประกอบด้ วยเส้ นข้ างลาตัว (Lateral line) ซึ่ง ภายในบรรจุท่อขับถ่ าย (Excretory canal) ไว้  ทางเดินอาหารสมบูรณ์ ประกอบด้ วยปากและทวารหนัก  ระบบประสาท ประกอบด้ วยปมประสาทรู ปวงแหวน (Nerve ring) อยู่รอบคอหอยและมีแขนงประสาทแยกออกทางด้ านท้ อง และทางด้ านหลัง  มีระบบกล้ ามเนือยาวตลอดลาตัว (Longitudinal muscle) ้  เป็ นสัตว์ แยกเพศตัวเมียมักมีขนาดใหญ่ กว่ าตัวผู้เนื่องจากตัวเมีย ต้ องทาหน้ าที่ในการออกไข่ ตว์ ในไฟลัมนีเ้ รี ยกกันทั่วไปว่ า หนอน ตัวกลม(Round worm)
  • 25. ไฟลัมเนทาโทดา ( Nematoda ) พยาธิเส้ นด้ าย หรื อ พยาธิเข็มหมุด พยาธิปากขอ
  • 26. พยาธิไส้ เดือน พยาธิโรคเท้ าช้ าง พยาธิเเส้ ม้า
  • 28. ไฟลัมเเอนเนลิดา ( Annelida ) เเม่ เพรียง ปลิงนาจืด ้ ไส้ เดือนดิน
  • 30. ไฟลัมอาร์ โทรโพดา ( Athropoda ) ผึง ้ ตะขาบ ปู แมงดาทะเล กิงกือ ้
  • 32. ไฟลัมมอลลัสกา ( Mollusca ) ลินทะเล ้ หอยเปาฮือ ๋ ้ ปลาหมึก หอยทาก ทาก
  • 34. ไฟลัมเอไดโนเดอมาตา ( Echinodermata ) ดาวทะเล เม่ นทะเล ปลิงทะเล อีแปะทะเล พลับพลึงทะเล
  • 35. ไฟลัมเวอร์ ทีบราตา (Vertebrata) สั ตว์ มกระดูกสั นหลัง (Vertebrate) สิ่ งมีชีวตประเภทนี้ ี ิ มีกระดูกสันหลังหรื อไขสันหลัง โครงกระดูกของไขสันหลัง ถูกเรี ยกว่ากระดูกสันหลัง เป็ นไฟลัมย่อยที่ใหญ่ที่สุดใน Chordates รวมทั้งยังมีสตว์ที่คนรู ้จกมากที่สุดอีกด้วย ั ั และสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง มีท้ งหมด 5 คลาส ดังนี้ ั
  • 37. ซับไฟลัมยูโรคอร์ ดาตา ( Urochordata ) เพรี ยงหัวหอม
  • 38. ซับไฟลัมเซฟาโลคอร์ ดาตา ( Cephalochordata ) เเอมฟิ ออกซัส
  • 40. แอ็กนาทา (Class Agnatha) เช่ น ปลาปากกลม ออสทีอิกไทอีส (Class Osteichthyes) เช่ น ปลากะพง, ปลาหมอเทศ คอนดริกไทอีส (Class Chomdrichthyes) เช่ น ปลาฉนาก, ปลาโรนิน
  • 41. เเอมฟิ เบีย ( Amphibia ) สั ตว์ ครึ่งบกครึ่งนา (Amphibians) เป็ นสั ตว์ ที่อยู่ได้ ท้ังในนาและ ้ ้ บนบก มีต่อมเมือกทาให้ ผวหนังชุ่ มชื้นตลอดเวลา ผิวหนังเปี ยกลืนอยู่เสมอ ไม่ มี ิ ่ เกล็ดหรือขน หายใจด้ วยเหงือก ปอด ผิวหนัง หรือผิวในปากในคอ สื บพันธุ์โดย การผสมพันธุ์ ภายนอกลาตัว ส่ วนใหญ่ ตัวผู้จะมีถุงลมปากเพื่อใช้ ส่งเสี ยงร้ อง เรี ยกตัวเมีย ออกลูกเป็ นไข่ อยู่ในน้า ไม่ มีเปลือก วางไข่ เป็ นกลุ่มในน้ามีสารเป็ น วุ้นหุ้ม ซาลามานเดอร์ กบ คางคก
  • 42. เขียดงู เขียด อึ่งอ่ าง
  • 43. เอวิส ( Aves ) คลาสเอวีส ( Aves ) ได้ เเก่ พวกนกต่ างๆ รวมทั้งเป็ ด ไก่ ห่ าน หงส์ นก ทีใกล้ สูญพันธุ์ นกเเต้ วเเร้ วท้ องดา เเร้ ง นกเงือก นกทีสูญพันธุ์ นกเจ้ าฟาหญิงสิ ่ ่ ้ รินธร คลาสนีปฏิสนธิภายในร่ างกาย เป็ นสั ตว์ มกระดูกสั นหลังพวกเเรกที่เป็ น ้ ี สั ตว์ เลือดอุ่น มีขนลักษณะเป็ นเเผง ขา 1 คู่ ปี ก 1 คู่ หายใจด้ วยปอดมีถุงลม หลายถุ ง ติ ด ต่ อ กั บ ปอดท าหน้ า ที่ เ ก็ บ อากาศหายใจ เเละระบายความร้ อ น กระดูกกลวงออกลูกเป็ นไข่ ที่มีเปลือกหุ้ม ไข่ เเดงมีปริมาณมาก หัวใจ 4 ห้ อง มี เส้ นประสาทสมอง 12 คู่ เป็ ด ไก่ ห่ าน
  • 44. แร้ ง หงส์ นกแก้ ว นกสื่อรัก
  • 45. แรปทิเลีย (Class Reptilia) สั ตว์ เลือยคลาน (Reptilia) จัดอยู่ในไฟลัมสั ตว์ มีแกนสั น เป็ น ้ สั ตว์ มีกระดูกสั นหลังทีจัดเป็ นสั ตว์ ในกลุ่มแรก ๆ ของโลกทีมีการดารงชีวต ่ ่ ิ บนบกอย่ างแท้ จริ ง สั ตว์ เลือยคลานในยุคดึกดาบรรพ์ ท่ีรอดชี วิตจากการ ้ สู ญพันธุ์และยังดารงชีวิตในปัจจุบัน มีจานวนมากถึง 7,000 ชนิด กระจาย อยู่ทวโลกทั้งชนิดอาศัยในแหล่ งนาและบนบก ั่ ้ จิงเหลน ้ จิงจก ้ จระเข้
  • 46. ตะกวน เต่ า ตะพาบนา ้ แย้
  • 47. แมมมาเลีย (Class Mammalia) แมมมาเลีย (Class Mammalia) มีลกษณะสาคัญคือ คือ ั มีขนเป็ นเส้ นๆปกคลุมผิวลาตัวส่ วนมากออกลูกเป็ นตัว ตัวอ่ อน เจริญอยู่ในมดลูกของแม่ ตัวเมียจะมีต่อมนานมผลิตนานมสาหรับ ้ ้ เลียงลูกอ่ อน สั ตว์ เลียงลูกด้ วยนม ได้ แก่ ตุ่นปากเป็ ด พวกสั ตว์ มถุง ้ ้ ี หน้ าท้ อง เช่ น จิงโจ้ โอพอส และพวกสั ตว์ มีรก เช่ น กระรอก กระต่ าย วัว ควาย ช้ าง แรด ลิง คน เป็ นต้ น ตุ๋นปากเป็ ด จิงโจ ้ คน
  • 48.