SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
หน่ วยการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง การเคลือนที่แบบหมุน
                                ่
สาระการเรี ยนรู้ วิชาฟิ สิ กส์ รหัสวิชา ว 31202            กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ฟิสิ กส์
ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1,4/2                ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 เวลา 16 ชัวโมง
                                                                                                     ่
ผูสอน นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา
  ้                                                       โรงเรี ยน บาลีสาธิ ตศึกษา มจร.วข.เชียงใหม่

                               ********************************
    1. สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้
    สาระที่ 4 แรงและการเคลือนที่
                             ่
    มาตรฐาน    ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่ อนที่ แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ในธรรมชาติ มีกระบวนการสื บ
               เสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
    สาระที่ 5 พลังงาน
     มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต                 การเปลี่ยนรู ปพลังงาน
                ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงานผลของการใช้พลังงานต่อชี วตและสิ่ งแวดล้อม มี
                                                                                    ิ
                กระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์

    2. ผลการเรียนรู้
       การเคลื่อนที่แบบหมุนมีผลการเรี ยนรู ้ดงนี้
                                             ั
           - เข้าใจความหมายความหมายของการเคลื่อนที่แบบหมุนได้(K)
           - สามารถคานวณหาค่าต่างๆจากการเคลื่อนที่แบบหมุนต่างๆได้(P)
           - สามารถประยุกต์นาความรู้เรื่ องการเคลื่อนที่แบบหมุนไปใช้ในชีวตประจาวันได้ (A)
                                                                         ิ
           - เข้าใจความหมายความหมายของโมเมนต์ความเฉื่อยได้(K)
           - สามารถคานวณหาค่าต่างๆจากโมเมนต์ความเฉื่อยได้(P)
           - สามารถประยุกต์นาความรู้เรื่ องโมเมนต์ความเฉื่อยไปใช้ในชีวตประจาวันได้ (A)
                                                                       ิ
           - เข้าใจความหมายความหมายของทอร์กได้(K)
           - สามารถคานวณหาค่าต่างๆจากทอร์กได้(P)
           - สามารถประยุกต์นาความรู้เรื่ องทอร์กไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ (A)
           - เข้าใจความหมายความหมายของ งาน กาลัง และพลังงานในการเคลื่อนที่แบบหมุนได้(K)
           - สามารถคานวณหาค่าต่างๆจาก งาน กาลัง และพลังงานในการเคลื่อนที่แบบหมุนได้(P)
           - สามารถประยุกต์นาความรู ้เรื่ องกาลัง และพลังงานในการเคลื่อนที่แบบหมุนไปใช้ใน
             ชีวตประจาวันได้ (A)
                 ิ
3. สาระสาคัญ
        การเคลื่อนที่แบบหมุนจะเป็ นการเคลื่อนที่โดยการหมุนรอบตัวเอง รอบจุดใดจุดหนึ่ง หรื อ แกนใด
แกนหนึ่งในตัวมัน
        โมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุเป็ นสมบัติของวัตถุแข็งเกร็ งในการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงความเร็ ว
เชิงมุมของการหมุนของวัตถุรอบแกนหมุน เป็ นปริ มาณสเกลาร์
        ทอร์ก หรื อ โมเมนต์ของแรง คือ ความพยายามของแรงที่จะหมุนวัตถุรอบแกนหรื อจุดหมุนหรื อก็
คือ โมเมนต์ของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบหมุน มีหน่วย N⋅m เกิดจากผลคูณเชิงเวกเตอร์ ของเวกเตอร์ ตาแหน่งr
กับแรง F
        การเคลื่อนที่แบบหมุนของวัตถุรอบแกน วัตถุน้ นย่อมมีงาน กาลัง และพลังงานเกิดขึ้นเสมอ
                                                     ั



   4. สาระการเรี ยนรู้
     4.1 ด้านความรู้ (K)
       - การเคลื่อนที่แบบหมุน
       - โมเมนต์ความเฉื่อย
       - ทอร์ก
       - การเคลื่อนที่แบบหมุน

     4.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
       1. วิธีการประเมิน
                  - ทดสอบ ตรวจผลงาน
                  - ทักษะการทดลอง
                  - นาเสนอ วิเคราะห์ วิจารณ์
       2. เครื่ องมือการประเมิน
                  - แบบทดสอบ
                  - แบบตรวจผลงาน
                  - แบบประเมินการถาม-ตอบ
                  - แบบประเมินทักษะการทดลอง
       3. เกณฑ์การประเมิน
                  - ตรวจแบบประเมินใบงาน
                  - สรุ ปคะแนนผลการเรี ยนรู้
     4.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
            - มุ่งมันในการทางาน
                       ่
-   การสื่ อสารมีประสิ ทธิภาพ
          -   ความตระหนักรู้ในตน
          -   การทางานกลุ่ม
          -   สามารถค้นความข้อมูลเพิ่มเติม
          -   ซื่อสัตย์ สุ จริ ต



4.4 สมรรถนะ
         - ความสามารถในการสื่ อสาร
         - ความสามารถในการคิด
         - ความสามารถในการแก้ปัญหา
         - ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต
                                ั   ิ
          - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี



  5. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

      ชั่วโมงที1 เรื่อง การเคลือนที่แบบหมุน
                ่              ่
      ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
      1. ครู เกริ่ นนา และพูดคุยเรื่ องการเคลื่อนที่ในแบบต่างๆว่านักเรี ยนรู ้จกการเคลื่อนที่แบบใดบ้าง
                                                                               ั
           และการเคลื่อนที่ในแต่ละแบบนั้นมีตวอย่างอะไรบ้าง
                                                 ั
                                                                                    ั
      2. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าในการ
                  ั
           เคลื่อนที่แบบหมุนนั้นมีลกษณะเป็ นแบบใดมีอะไรมาเกี่ยวข้องบ้าง
                                      ั
      ขั้นการสอน
      1. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
                     ั
      2. ครู ให้ความหมายของการเคลื่อนที่แบบหมุน
      ขั้นสรุ ป
      1. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
      2. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้

      ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง การเคลือนที่แบบหมุน
                                 ่
      ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
      1. ครู ทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่ในแบบหมุนว่าในการเคลื่อนที่แบบหมุนจะมีค่าอะไรมาเกี่ยวข้อง
           บ้าง
ั
2. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าการ
        ั
     กระจัดเชิงมุมนั้นเป็ นอย่างไร หาได้อย่างไร
ขั้นการสอน
1. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับการกระจัดเชิงมุม
            ั
2. ครู ให้ความหมายและคานวณของการกระจัดเชิงมุม
                                                     s
                       2  1   เมื่อ              หน่วย radian (rad)
                                                     r
ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับการกระจัดเชิงมุม
2. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้




ชั่วโมงที่ 3 เรื่อง การเคลือนที่แบบหมุน
                           ่
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู ทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่ในแบบหมุนว่าในการเคลื่อนที่แบบหมุนจะมีค่าอะไรมาเกี่ยวข้อง
     บ้าง
                                                                        ั
2. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าความเร็ ว
           ั
     เชิงมุมนั้นเป็ นอย่างไร หาได้อย่างไร
ขั้นการสอน
1. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับความเร็ วเชิงมุม
               ั
2. ครู ให้ความหมายและคานวณของความเร็ วเชิงมุม
                                2  1
ความเร็ วเชิงมุมเฉลี่ย                                หน่วย rad s
                              t   t2  t1

ความเร็ วเชิงมุมขณะหนึ่ง   t 0 
                             lim            
                                                d
                                                         หน่วย rad s
                                    t          dt
ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับความเร็ วเชิงมุม
2. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้

ชั่วโมงที่ 4 – 5 เรื่อง การเคลือนทีแบบหมุน
                               ่ ่
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู ทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่ในแบบหมุนว่าในการเคลื่อนที่แบบหมุนจะมีค่าอะไรมาเกี่ยวข้อง
     บ้าง
ั
2. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าความเร่ ง
          ั
     เชิงมุมนั้นเป็ นอย่างไร หาได้อย่างไร
ขั้นการสอน
1. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับความเร่ งเชิงมุม
             ั
2. ครู ให้ความหมายและคานวณของความเร่ งเชิงมุม
                                 2  1
ความเร่ งเชิงมุมเฉลี่ย                          หน่วย rad s2
                                 t      t2  t1
                                       d
ความเร่ งเชิงมุมขณะหนึ่ง     lim
                                t 0 t
                                                  หน่วย rad s2
                                             dt
ความเร่ งในแนวสัมผัส       at   r
                                v2
ความเร่ งในแนวรัศมี        ar       2r
                                 r
ความเร่ งลัพธ์             a  at  ar


ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับความเร่ งเชิงมุม
2. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้

ชั่วโมงที่ 6 เรื่อง การเคลือนที่แบบหมุน
                           ่
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
1. ครู ทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่ในแบบหมุนและแบบเส้นตรงว่ามีความแตกต่างกันที่ไหนบ้าง
                                                                        ั
2. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าสมการ
           ั
     ระหว่างการเคลื่อนที่แบบหมุนและแบบเส้นตรงแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
ขั้นการสอน
1. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับการเปรี ยบเทียบสมการการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงกับการ
               ั
     เคลื่อนที่ในแบบหมุน
2. ครู อธิบายการเปรี ยบเทียบสมการการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงกับการเคลื่อนที่ในแบบหมุน
ขั้นสรุ ป
1. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับความเร็ วเชิงมุม
2. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้
ชั่วโมงที่ 7 เรื่อง โมเมนต์ ความเฉื่อย
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
3. ครู เกริ่ นนา และทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่แบบหมุนว่าความเร็ วในการเคลื่อนที่แบบหมุนนั้น
     จะมีส่วนใดมาเกี่ยวข้องได้บาง ้
                                                                        ั
4. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าโมเมนต์
           ั
     ความเฉื่อยคืออะไร สาคัญอย่างไร หาได้จากไหน
ขั้นการสอน
3. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่อย
               ั
4. ครู ให้ความหมายและคานวณของโมเมนต์ความเฉื่ อย


ขั้นสรุ ป
3. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่ อย
4. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้

ชั่วโมงที่ 8 เรื่อง โมเมนต์ ความเฉื่อย
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
3. ครู ทบทวนเรื่ องโมเมนต์ความเฉื่อยว่าในกรณี ท่ีวตถุหมุนรอบแกนที่ไม่ใช่แกนสมมาตร เราจะ
                                                  ั
     สามารถหาโมเมนต์ความเฉื่ อยของวัตถุรอบแกนไม่สมมาตรได้อย่างไร
                                                                        ั
4. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าการหา
           ั
     ค่าโมเมนต์ความเฉื่อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนขนานหาได้อย่างไร
ขั้นการสอน
3. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนขนาน
               ั
4. ครู ให้ความหมายและคานวณของโมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนขนาน

ขั้นสรุ ป
3. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนขนาน
4. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้

ชั่วโมงที่ 9-10 เรื่อง โมเมนต์ ความเฉื่อย
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
3. ครู ทบทวนเรื่ องครู ทบทวนเรื่ องโมเมนต์ความเฉื่ อยว่าในกรณี ที่วตถุที่มีลกษณะรู ปทรง 2 มิติ
                                                                   ั        ั
     หรื อรู ปบนระนาบ เราจะสามารถหาโมเมนต์ความเฉื่ อยของวัตถุที่มีลกษณะรู ปทรง 2 มิติ หรื อ
                                                                       ั
     รู ปบนระนาบได้อย่างไร
ั
4. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าการหา
         ั
     โมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนตั้งฉากหาได้อย่างไร
ขั้นการสอน
3. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนตั้งฉาก
           ั
4. ครู ให้ความหมายและคานวณของโมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนตั้งฉาก

ขั้นสรุ ป
3. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนตั้งฉาก
4. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้



ชั่วโมงที่ 11-13 เรื่อง ทอร์ ค

ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
5. ครู เกริ่ นนา และทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่แบบหมุน
                                                                        ั
6. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าในการ
           ั
     เคลื่อนที่แบบหมุนนั้นความพยายามของแรงที่จะหมุนวัตถุรอบจุดหมุนนั้นเป็ นอย่างไร หาได้
     อย่างไร
ขั้นการสอน
5. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับทอร์กและความสัมพันธ์ระหว่างทอร์ กกับความเร่ งเชิงมุม
               ั
6. ครู ให้ความหมายและคานวณของทอร์กความสัมพันธ์ระหว่างทอร์ กกับความเร่ งเชิงมุม




ขั้นสรุ ป
5. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
6. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้
ชั่วโมงที่ 14 เรื่อง ทอร์ ค
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
7. ครู เกริ่ นนา และทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่แบบหมุน
                                                                        ั
8. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าในการ
           ั
     เคลื่อนที่แบบหมุนนั้นจะเกิดค่าอะไรได้บาง ค่าแต่ละอย่างจะหาได้อย่างไร
                                             ้
ขั้นการสอน
7. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับงานในการเคลื่อนที่แบบหมุน
               ั
8. ครู ให้ความหมายและคานวณของงานในการเคลื่อนที่แบบหมุน

ขั้นสรุ ป
7. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
8. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้

ชั่วโมงที่ 15 เรื่อง ทอร์ ค
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
5. ครู ทบทวนเรื่ องงานในการเคลื่อนที่ในแบบหมุน
                                                                        ั
6. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่านอกจาก
           ั
     งานแล้วการเคลื่อนที่แบบหมุนนั้นมีค่าอะไรอีก
ขั้นการสอน
5. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับกาลังในการเคลื่อนที่แบบหมุน
               ั
6. ครู ให้ความหมายและคานวณของกาลังในการเคลื่อนที่แบบหมุน


ขั้นสรุ ป
5. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับการกระจัดเชิงมุม
6. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้
ชั่วโมงที่ 16 เรื่อง ทอร์ ค
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
5. ครู ทบทวนเรื่ องงานและกาลังในการเคลื่อนที่ในแบบหมุน
                                                                        ั
6. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่านอกจาก
           ั
     งานและกาลังในการเคลื่อนที่แบบหมุนนั้นจะยังหาค่าอะไรได้อีก
ขั้นการสอน
5. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับพลังงานในการเคลื่อนที่แบบหมุน
               ั
6. ครู ให้ความหมายและคานวณของพลังงานในการเคลื่อนที่แบบหมุน


ขั้นสรุ ป
5. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับความเร็ วเชิงมุม
6. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้
6. เกณฑ์ การประเมิน

       6.1) เกณฑ์ ประเมินด้ านความรู้

ระดับคุณภาพ                                   เกณฑ์ การให้ คะแนน
ดีมาก              ทาแบบทดสอบได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ดี                 ทาแบบทดสอบได้ร้อยละ 70-79
พอใช้              ทาแบบทดสอบได้ร้อยละ 50-69
ปรับปรุ ง          ทาแบบทดสอบได้ร้อยละ 49 ลงมา

       6.22) เกณฑ์ ประเมินด้ านทักษะ และกระบวนการ

ระดับคุณภาพ                                  เกณฑ์ การให้ คะแนน
ดี (3)        ทางานได้ถูกต้อง ครบถ้วน สวยงาม มีความคิดสร้างสรรค์ และส่ งงานตรงเวลา
พอใช้ (2)     ทางานได้ถูกต้อง และส่ งงานตรงเวลา
ปรับปรุ ง (1) ทางานได้ถูกต้องบางส่ วน ไม่ทนเวลาที่กาหนด
                                          ั

       6.3) เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะ

ระดับคุณภาพ                                เกณฑ์ การให้ คะแนน
ดี (3)        ปฏิบติตนด้านความรับผิดชอบ มีระเบียบวินย บ่อยครั้ง (ร้อยละ 80 ขึ้นไป)
                  ั                                   ั
พอใช้ (2)     ปฏิบติตนด้านความรับผิดชอบ มีระเบียบวินยบ้าง บางครั้ง (ร้อยละ60-79 )
                    ั                               ั
ปรับปรุ ง (1) ปฏิบติตนด้านความรับผิดชอบ นาน ๆ ครั้ง หรื อไม่ปฏิบติเลย (ร้อยละ 59 ลงมา)
                      ั                                          ั
7. บันทึก หลังจากกิจกรรม
   ห้ อง ม.4/1..........................................................................................................................................
   ............................................................................................................................................................
   ............................................................................................................................................................
   ............................................................................................................................................................
   ห้ อง ม.4/2..........................................................................................................................................
   ............................................................................................................................................................
   ............................................................................................................................................................
   ............................................................................................................................................................



                                                                         ลงชื่อ.....................................................ผูจดการสอน
                                                                                                                                        ้ั
                                                                                    (นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา)
                                                                              ............../.......... ................./.............

8. ข้ อคิดเห็น/เสนอแนะเพือพัฒนาของผู้ตรวจแผน
                         ่
………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………..

                                                                         ลงชื่อ__________________________อาจารย์พี่เลี้ยง
                                                                                  ( อ.ธีรพจน์ สมบูรณ์ศิลป์ )
                                                                         ______/_______________________/_________

9. เอกสารประกอบแผน
   - ใบความรู้เรื่ องงานทางฟิ สิ กส์
   - เอกสารทางฟิ สิ กส์/เกณฑ์การประเมิน

More Related Content

What's hot

แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
tewin2553
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
wachiphoke
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
website22556
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
krupornpana55
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
Apinya Phuadsing
 
แบบสังเกตุชั้นเรียน
แบบสังเกตุชั้นเรียนแบบสังเกตุชั้นเรียน
แบบสังเกตุชั้นเรียน
Ict Krutao
 

What's hot (20)

04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แบบสังเกตุชั้นเรียน
แบบสังเกตุชั้นเรียนแบบสังเกตุชั้นเรียน
แบบสังเกตุชั้นเรียน
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 

Viewers also liked

แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัม
krupayom
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
krukrajeab
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
jirupi
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
thanakit553
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
Apinya Phuadsing
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
jirupi
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
Kobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (20)

ใบความรู้เรื่องโมเมนตัม
ใบความรู้เรื่องโมเมนตัมใบความรู้เรื่องโมเมนตัม
ใบความรู้เรื่องโมเมนตัม
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัม
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัมเฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
 

Similar to แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551

แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะ
krupornpana55
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิ
krupornpana55
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
krupornpana55
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
krupornpana55
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
supphawan
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
supphawan
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2
Yoon Yoon
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
krupornpana55
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
krupornpana55
 
แผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำแผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำ
krupornpana55
 

Similar to แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551 (20)

แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะ
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิ
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
projectile motion
projectile motionprojectile motion
projectile motion
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
Rubric2555
Rubric2555Rubric2555
Rubric2555
 
แผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำแผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำ
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

More from Weerachat Martluplao

ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
Weerachat Martluplao
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
Weerachat Martluplao
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 

More from Weerachat Martluplao (20)

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
Asean curriculum thai
Asean curriculum thaiAsean curriculum thai
Asean curriculum thai
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
 
Stem workshop report
Stem workshop reportStem workshop report
Stem workshop report
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
trigonometry
trigonometrytrigonometry
trigonometry
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric charges
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
 

แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551

  • 1. หน่ วยการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง การเคลือนที่แบบหมุน ่ สาระการเรี ยนรู้ วิชาฟิ สิ กส์ รหัสวิชา ว 31202 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ฟิสิ กส์ ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1,4/2 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 เวลา 16 ชัวโมง ่ ผูสอน นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา ้ โรงเรี ยน บาลีสาธิ ตศึกษา มจร.วข.เชียงใหม่ ******************************** 1. สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ สาระที่ 4 แรงและการเคลือนที่ ่ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่ อนที่ แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ในธรรมชาติ มีกระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงานผลของการใช้พลังงานต่อชี วตและสิ่ งแวดล้อม มี ิ กระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ 2. ผลการเรียนรู้ การเคลื่อนที่แบบหมุนมีผลการเรี ยนรู ้ดงนี้ ั - เข้าใจความหมายความหมายของการเคลื่อนที่แบบหมุนได้(K) - สามารถคานวณหาค่าต่างๆจากการเคลื่อนที่แบบหมุนต่างๆได้(P) - สามารถประยุกต์นาความรู้เรื่ องการเคลื่อนที่แบบหมุนไปใช้ในชีวตประจาวันได้ (A) ิ - เข้าใจความหมายความหมายของโมเมนต์ความเฉื่อยได้(K) - สามารถคานวณหาค่าต่างๆจากโมเมนต์ความเฉื่อยได้(P) - สามารถประยุกต์นาความรู้เรื่ องโมเมนต์ความเฉื่อยไปใช้ในชีวตประจาวันได้ (A) ิ - เข้าใจความหมายความหมายของทอร์กได้(K) - สามารถคานวณหาค่าต่างๆจากทอร์กได้(P) - สามารถประยุกต์นาความรู้เรื่ องทอร์กไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ (A) - เข้าใจความหมายความหมายของ งาน กาลัง และพลังงานในการเคลื่อนที่แบบหมุนได้(K) - สามารถคานวณหาค่าต่างๆจาก งาน กาลัง และพลังงานในการเคลื่อนที่แบบหมุนได้(P) - สามารถประยุกต์นาความรู ้เรื่ องกาลัง และพลังงานในการเคลื่อนที่แบบหมุนไปใช้ใน ชีวตประจาวันได้ (A) ิ
  • 2. 3. สาระสาคัญ การเคลื่อนที่แบบหมุนจะเป็ นการเคลื่อนที่โดยการหมุนรอบตัวเอง รอบจุดใดจุดหนึ่ง หรื อ แกนใด แกนหนึ่งในตัวมัน โมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุเป็ นสมบัติของวัตถุแข็งเกร็ งในการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงความเร็ ว เชิงมุมของการหมุนของวัตถุรอบแกนหมุน เป็ นปริ มาณสเกลาร์ ทอร์ก หรื อ โมเมนต์ของแรง คือ ความพยายามของแรงที่จะหมุนวัตถุรอบแกนหรื อจุดหมุนหรื อก็ คือ โมเมนต์ของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบหมุน มีหน่วย N⋅m เกิดจากผลคูณเชิงเวกเตอร์ ของเวกเตอร์ ตาแหน่งr กับแรง F การเคลื่อนที่แบบหมุนของวัตถุรอบแกน วัตถุน้ นย่อมมีงาน กาลัง และพลังงานเกิดขึ้นเสมอ ั 4. สาระการเรี ยนรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) - การเคลื่อนที่แบบหมุน - โมเมนต์ความเฉื่อย - ทอร์ก - การเคลื่อนที่แบบหมุน 4.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. วิธีการประเมิน - ทดสอบ ตรวจผลงาน - ทักษะการทดลอง - นาเสนอ วิเคราะห์ วิจารณ์ 2. เครื่ องมือการประเมิน - แบบทดสอบ - แบบตรวจผลงาน - แบบประเมินการถาม-ตอบ - แบบประเมินทักษะการทดลอง 3. เกณฑ์การประเมิน - ตรวจแบบประเมินใบงาน - สรุ ปคะแนนผลการเรี ยนรู้ 4.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) - มุ่งมันในการทางาน ่
  • 3. - การสื่ อสารมีประสิ ทธิภาพ - ความตระหนักรู้ในตน - การทางานกลุ่ม - สามารถค้นความข้อมูลเพิ่มเติม - ซื่อสัตย์ สุ จริ ต 4.4 สมรรถนะ - ความสามารถในการสื่ อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั ิ - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที1 เรื่อง การเคลือนที่แบบหมุน ่ ่ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู เกริ่ นนา และพูดคุยเรื่ องการเคลื่อนที่ในแบบต่างๆว่านักเรี ยนรู ้จกการเคลื่อนที่แบบใดบ้าง ั และการเคลื่อนที่ในแต่ละแบบนั้นมีตวอย่างอะไรบ้าง ั ั 2. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าในการ ั เคลื่อนที่แบบหมุนนั้นมีลกษณะเป็ นแบบใดมีอะไรมาเกี่ยวข้องบ้าง ั ขั้นการสอน 1. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบหมุน ั 2. ครู ให้ความหมายของการเคลื่อนที่แบบหมุน ขั้นสรุ ป 1. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบหมุน 2. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้ ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง การเคลือนที่แบบหมุน ่ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู ทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่ในแบบหมุนว่าในการเคลื่อนที่แบบหมุนจะมีค่าอะไรมาเกี่ยวข้อง บ้าง
  • 4. ั 2. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าการ ั กระจัดเชิงมุมนั้นเป็ นอย่างไร หาได้อย่างไร ขั้นการสอน 1. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับการกระจัดเชิงมุม ั 2. ครู ให้ความหมายและคานวณของการกระจัดเชิงมุม s   2  1 เมื่อ  หน่วย radian (rad) r ขั้นสรุ ป 1. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับการกระจัดเชิงมุม 2. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้ ชั่วโมงที่ 3 เรื่อง การเคลือนที่แบบหมุน ่ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู ทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่ในแบบหมุนว่าในการเคลื่อนที่แบบหมุนจะมีค่าอะไรมาเกี่ยวข้อง บ้าง ั 2. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าความเร็ ว ั เชิงมุมนั้นเป็ นอย่างไร หาได้อย่างไร ขั้นการสอน 1. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับความเร็ วเชิงมุม ั 2. ครู ให้ความหมายและคานวณของความเร็ วเชิงมุม   2  1 ความเร็ วเชิงมุมเฉลี่ย   หน่วย rad s t t2  t1 ความเร็ วเชิงมุมขณะหนึ่ง   t 0  lim  d หน่วย rad s t dt ขั้นสรุ ป 1. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับความเร็ วเชิงมุม 2. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้ ชั่วโมงที่ 4 – 5 เรื่อง การเคลือนทีแบบหมุน ่ ่ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู ทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่ในแบบหมุนว่าในการเคลื่อนที่แบบหมุนจะมีค่าอะไรมาเกี่ยวข้อง บ้าง
  • 5. ั 2. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าความเร่ ง ั เชิงมุมนั้นเป็ นอย่างไร หาได้อย่างไร ขั้นการสอน 1. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับความเร่ งเชิงมุม ั 2. ครู ให้ความหมายและคานวณของความเร่ งเชิงมุม  2  1 ความเร่ งเชิงมุมเฉลี่ย   หน่วย rad s2 t t2  t1  d ความเร่ งเชิงมุมขณะหนึ่ง   lim t 0 t  หน่วย rad s2 dt ความเร่ งในแนวสัมผัส at   r v2 ความเร่ งในแนวรัศมี ar    2r r ความเร่ งลัพธ์ a  at  ar ขั้นสรุ ป 1. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับความเร่ งเชิงมุม 2. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้ ชั่วโมงที่ 6 เรื่อง การเคลือนที่แบบหมุน ่ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู ทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่ในแบบหมุนและแบบเส้นตรงว่ามีความแตกต่างกันที่ไหนบ้าง ั 2. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าสมการ ั ระหว่างการเคลื่อนที่แบบหมุนและแบบเส้นตรงแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ขั้นการสอน 1. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับการเปรี ยบเทียบสมการการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงกับการ ั เคลื่อนที่ในแบบหมุน 2. ครู อธิบายการเปรี ยบเทียบสมการการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงกับการเคลื่อนที่ในแบบหมุน ขั้นสรุ ป 1. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับความเร็ วเชิงมุม 2. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้
  • 6. ชั่วโมงที่ 7 เรื่อง โมเมนต์ ความเฉื่อย ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 3. ครู เกริ่ นนา และทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่แบบหมุนว่าความเร็ วในการเคลื่อนที่แบบหมุนนั้น จะมีส่วนใดมาเกี่ยวข้องได้บาง ้ ั 4. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าโมเมนต์ ั ความเฉื่อยคืออะไร สาคัญอย่างไร หาได้จากไหน ขั้นการสอน 3. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่อย ั 4. ครู ให้ความหมายและคานวณของโมเมนต์ความเฉื่ อย ขั้นสรุ ป 3. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่ อย 4. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้ ชั่วโมงที่ 8 เรื่อง โมเมนต์ ความเฉื่อย ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 3. ครู ทบทวนเรื่ องโมเมนต์ความเฉื่อยว่าในกรณี ท่ีวตถุหมุนรอบแกนที่ไม่ใช่แกนสมมาตร เราจะ ั สามารถหาโมเมนต์ความเฉื่ อยของวัตถุรอบแกนไม่สมมาตรได้อย่างไร ั 4. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าการหา ั ค่าโมเมนต์ความเฉื่อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนขนานหาได้อย่างไร ขั้นการสอน 3. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนขนาน ั 4. ครู ให้ความหมายและคานวณของโมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนขนาน ขั้นสรุ ป 3. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนขนาน 4. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้ ชั่วโมงที่ 9-10 เรื่อง โมเมนต์ ความเฉื่อย ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 3. ครู ทบทวนเรื่ องครู ทบทวนเรื่ องโมเมนต์ความเฉื่ อยว่าในกรณี ที่วตถุที่มีลกษณะรู ปทรง 2 มิติ ั ั หรื อรู ปบนระนาบ เราจะสามารถหาโมเมนต์ความเฉื่ อยของวัตถุที่มีลกษณะรู ปทรง 2 มิติ หรื อ ั รู ปบนระนาบได้อย่างไร
  • 7. ั 4. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าการหา ั โมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนตั้งฉากหาได้อย่างไร ขั้นการสอน 3. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนตั้งฉาก ั 4. ครู ให้ความหมายและคานวณของโมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนตั้งฉาก ขั้นสรุ ป 3. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับโมเมนต์ความเฉื่ อยโดยใช้ทฤษฎีบทแกนตั้งฉาก 4. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้ ชั่วโมงที่ 11-13 เรื่อง ทอร์ ค ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 5. ครู เกริ่ นนา และทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่แบบหมุน ั 6. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าในการ ั เคลื่อนที่แบบหมุนนั้นความพยายามของแรงที่จะหมุนวัตถุรอบจุดหมุนนั้นเป็ นอย่างไร หาได้ อย่างไร ขั้นการสอน 5. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับทอร์กและความสัมพันธ์ระหว่างทอร์ กกับความเร่ งเชิงมุม ั 6. ครู ให้ความหมายและคานวณของทอร์กความสัมพันธ์ระหว่างทอร์ กกับความเร่ งเชิงมุม ขั้นสรุ ป 5. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบหมุน 6. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้
  • 8. ชั่วโมงที่ 14 เรื่อง ทอร์ ค ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 7. ครู เกริ่ นนา และทบทวนเรื่ องการเคลื่อนที่แบบหมุน ั 8. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่าในการ ั เคลื่อนที่แบบหมุนนั้นจะเกิดค่าอะไรได้บาง ค่าแต่ละอย่างจะหาได้อย่างไร ้ ขั้นการสอน 7. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับงานในการเคลื่อนที่แบบหมุน ั 8. ครู ให้ความหมายและคานวณของงานในการเคลื่อนที่แบบหมุน ขั้นสรุ ป 7. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบหมุน 8. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้ ชั่วโมงที่ 15 เรื่อง ทอร์ ค ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 5. ครู ทบทวนเรื่ องงานในการเคลื่อนที่ในแบบหมุน ั 6. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่านอกจาก ั งานแล้วการเคลื่อนที่แบบหมุนนั้นมีค่าอะไรอีก ขั้นการสอน 5. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับกาลังในการเคลื่อนที่แบบหมุน ั 6. ครู ให้ความหมายและคานวณของกาลังในการเคลื่อนที่แบบหมุน ขั้นสรุ ป 5. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับการกระจัดเชิงมุม 6. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้
  • 9. ชั่วโมงที่ 16 เรื่อง ทอร์ ค ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 5. ครู ทบทวนเรื่ องงานและกาลังในการเคลื่อนที่ในแบบหมุน ั 6. ให้นกเรี ยนอภิปรายร่ วมกันระหว่างนักเรี ยนกับนักเรี ยนและระหว่างครู กบนักเรี ยน ว่านอกจาก ั งานและกาลังในการเคลื่อนที่แบบหมุนนั้นจะยังหาค่าอะไรได้อีก ขั้นการสอน 5. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาเกี่ยวกับพลังงานในการเคลื่อนที่แบบหมุน ั 6. ครู ให้ความหมายและคานวณของพลังงานในการเคลื่อนที่แบบหมุน ขั้นสรุ ป 5. นักเรี ยนและครู ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับความเร็ วเชิงมุม 6. นักเรี ยนสามารถทาแบบทดสอบได้
  • 10. 6. เกณฑ์ การประเมิน 6.1) เกณฑ์ ประเมินด้ านความรู้ ระดับคุณภาพ เกณฑ์ การให้ คะแนน ดีมาก ทาแบบทดสอบได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป ดี ทาแบบทดสอบได้ร้อยละ 70-79 พอใช้ ทาแบบทดสอบได้ร้อยละ 50-69 ปรับปรุ ง ทาแบบทดสอบได้ร้อยละ 49 ลงมา 6.22) เกณฑ์ ประเมินด้ านทักษะ และกระบวนการ ระดับคุณภาพ เกณฑ์ การให้ คะแนน ดี (3) ทางานได้ถูกต้อง ครบถ้วน สวยงาม มีความคิดสร้างสรรค์ และส่ งงานตรงเวลา พอใช้ (2) ทางานได้ถูกต้อง และส่ งงานตรงเวลา ปรับปรุ ง (1) ทางานได้ถูกต้องบางส่ วน ไม่ทนเวลาที่กาหนด ั 6.3) เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ เกณฑ์ การให้ คะแนน ดี (3) ปฏิบติตนด้านความรับผิดชอบ มีระเบียบวินย บ่อยครั้ง (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ั ั พอใช้ (2) ปฏิบติตนด้านความรับผิดชอบ มีระเบียบวินยบ้าง บางครั้ง (ร้อยละ60-79 ) ั ั ปรับปรุ ง (1) ปฏิบติตนด้านความรับผิดชอบ นาน ๆ ครั้ง หรื อไม่ปฏิบติเลย (ร้อยละ 59 ลงมา) ั ั
  • 11. 7. บันทึก หลังจากกิจกรรม ห้ อง ม.4/1.......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ห้ อง ม.4/2.......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ.....................................................ผูจดการสอน ้ั (นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา) ............../.......... ................./............. 8. ข้ อคิดเห็น/เสนอแนะเพือพัฒนาของผู้ตรวจแผน ่ …………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ__________________________อาจารย์พี่เลี้ยง ( อ.ธีรพจน์ สมบูรณ์ศิลป์ ) ______/_______________________/_________ 9. เอกสารประกอบแผน - ใบความรู้เรื่ องงานทางฟิ สิ กส์ - เอกสารทางฟิ สิ กส์/เกณฑ์การประเมิน