SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
การฟื้นฟู
ศิลปวิทยาการ
(Renaissance)
ความหมาย
การฟื้นฟูศิลปวิทยา =
การเกิดใหม่
ภูมิปัญ
ญาศิลปกร
รมวรรณก
รรม
• เริ่มต้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 14-17
• ถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างสมัยกลาง
และสมัยใหม่
• ศูนย์กลาง : ประเทศอิตาลี
สาเหตุของการฟื้นฟู
ศิลปวิทยาการ
1.การขยายตัวทางการค้า
-ทำาให้ฐานะทางการเงินของชาวยุโรปมั่งคั่งขึ้น
จึงหันมาสนับสนุนงานด้านศิลปวิทยาการ
2.บรรดานักปราชญ์และศิลปินต่างๆให้
ความสนใจในศิลปะและวิทยาการของ
ชาวโรมัน
3.ผู้คนเสื่อมศรัทธาในสถาบันคริสต์
ศาสนา และหันไปสนใจผลงาน
แนวคิดใหม่สมัยฟื้นฟู
ศิลปวิทยาการ
ความเชื่อเดิม
-มนุษย์ทุกคนมีบาปติดตัวมาแต่กำาเนิด การมี
ชีวิตอยู่ในปัจจุบันเพื่อเป็นการไถ่บาป ทำาให้
ชีวิตมีการพัฒนาไม่มากนัก
เมื่อเกิดการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
-ทำาให้เริ่มเห็นว่าแท้จริงมนุษย์สามารถพัฒนา
ชีวิตให้ดีและมีคุณค่าได้ โดยการศึกษาและ
เรียนรู้จากวรรณกรรมของกรีกและโรมันที่สอด
แทรกปรัชญาและแนวทางในการดำาเนินชีวิต
แนวคิดดังกล่าวจึงเป็นที่มา
ของ
“ลัทธิมนุษยนิยม (Humanism) ”
ที่ให้ความสนใจในโลกปัจจุบัน
แทนการมุ่งหน้าไปสู่สวรรค์
ความเจริญ
รุ่งเรืองในสมัย
ฟื้นฟูศิลปวิทยา
การ
ด้านวรรณกรรม
ฟรันเซสโก เปทราก (Francesco
Petrarch)
เป็นผู้บุกเบิกแนวคิดมนุษยนิยมจนได้รับ
ยกย่องให้เป็นบิดาแห่ง
   มนุษยนิยม มีผลงานวรรณกรรมที่เรียกว่า งาน
 คลาสสิก ที่สะท้อนจิตวิญญาณของมนุษย์
โยฮันเนส กูเตนเบิร์ก (Johannes
Gutenburg)
ได้ประดิษฐ์แท่นพิมพ์และระบบการพิมพ์แบบ
เรียงตัวอักษร ทำาให้หนังสือราคาถูกลงเป็นอัน
มาก
 วิลเลียม เชกสเปียร์ (William
Shakespeare)
 เขียนบทละครเรื่อง โรมีโอและจูเลียต ที่
 สะท้อนถึงความหลากหลายของปัจเจกชน
  อารมณ์และความรู้สึก ซึ่งได้รับความนิยมนำา
  มาสร้างเป็นภาพยนตร์ในปัจจุบัน นอกจากนี้ยัง
 มีเรื่อง
   เวนิสวานิช คิงเลีย แมกเบทและฝันกลางฤดู
ฝน
ด้านศิลปกรรม
   ไมเคิล แองเจโล (Michelangelo )
งานประติมากรรม : รูปสลักเดวิด(David) และ ปิเอ
ตา(Pieta)
งานจิตรกรรม : จิตรกรรมฝาผนังของโบสถ์ซีสติน
ในมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์
เลโอนาร์โด ดาวินชี(Leonardo da
Vinci)
ภาพเขียนที่มีชื่อเสียง : ภาพอาหารมื้อ
สุดท้าย(The Last Supper) โมนาลิซา(Monalisa)
ราฟาเอล (Raphael)
ภาพพระแม่ พระบุตร และจอห์น แบปติสต์
(Madonna and Child with St.John) แสดงความ
รักของแม่ที่มีต่อบุตร
งานสร้างสรรค์ทางด้านศิลป
วัฒนธรรม ได้วางรากฐานความเจริญ
ด้านต่างๆให้แก่ชาติตะวันตกเป็นอัน
มาก ทำาให้ชาวยุโรปได้ก้าวเข้าสู่ยุค
สมัยใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 อย่าง
มีเหตุผลและโลกทัศน์ที่กว้างขวางขึ้น
การปฏิรูป
ศาสนา
สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา
1. ชาวยุโรปมีความรู้มากขึ้น จึงไม่พอใจที่
สันตะปาปาและพระชั้นสูงบางพระองค์มีความ
เป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย และเรียกเก็บภาษีสูงขึ้น
เพื่อนำาเงินไปใช้จ่ายในคริสตจักรที่กรุงโรม
2. เนื่องจากสันตะปาปาเข้าไปมีส่วนร่วมทางการ
เมืองของยุโรป ทำาให้เจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ
ต้องการเป็นอิสระจากคริสตจักรที่มีสันตะปาปา
เป็นผู้ปกครอง
สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา (ต่อ)
3. ประชาชนบางส่วนต้องการทำาความเข้าใจ
หลักธรรมทางศาสนาเพิ่มขึ้น จนมีนักคิดเสนอว่า
มนุษย์ควรเข้าถึงพระเจ้าและทำาความเข้าใจใน
คัมภีร์ไบเบิลด้วยตนเองมากกว่าผ่านทาง
พิธีกรรมของศาสนจักร
4. สันตะปาปาจูเลียสที่2 และสันตะปาปาลีโอที่10
ต้องการงบประมาณในการก่อสร้างมหาวิหาร
เซนต์ปีเตอร์ที่กรุงโรม จึงส่งคณะทูตมาขายใบ
การเริ่มปฏิรูปศาสนา
มาร์ติน ลูเทอร์ (Martin Luther)
นักบวชชาวเยอรมันที่ทำาการประท้วงการขายใบยก
โทษบาปด้วยการปิดประกาศคำาประท้วง 95 ข้อ
หน้ามหาวิหารแห่งเมืองวิทเทนแบรก ซึ่งประกาศดัง
กล่าวถือว่าเป็นการประท้วงที่เป็นที่มาของนิกาย
โปรเตสแตนต์ และได้รับการสนับสนุนอย่างกว้าง
ขวางในเยอรมัน
-ถูกกล่าวหาจากจักรพรรดิ ชาลส์ที่ 5 ว่ามีท่าทีเป็น
ปฏิปักษ์ต่อคริสต์ศาสนา และเป็นบุคคลนอกศาสนา
แต่ได้รับการอุปถัมภ์จากเจ้าผู้ครองแคว้นแซกโซนี
ได้แปลคัมภีร์ไบเบิลจากภาษาละตินมาเป็นภาษา
เยอรมัน ทำาให้ความรู้ทางด้านศาสนาแพร่หลาย
และส่งเสริมพัฒนาการของภาษาเยอรมัน
ได้ก่อตั้งนิกายลูเทอร์ ซึ่งได้แพร่ขยายไปทั่ว
เยอรมนีและสแกนดิเนเวีย
นิกายลูเทอร์
- มีหลักปฏิบัติ การดำาเนินงาน พิธีกรรมทาง
ศาสนา และลักษณะของนักบวชเป็นแบบ
คาทอลิก
- นักบวชในนิกายลูเทอร์เป็นเพียงผู้สอนศาสนา
สามารถมีครอบครัวได้
- ยังคงมีการรักษาพิธีกรรมบางข้อไว้ เช่น ศีลจุ่ม
และศีลมหาสนิท
- มีกรอบความคิดว่า ความหลุดพ้นทางวิญญาณ
ผลของการปฏิรูปทางศาสนาได้ก่อให้เกิด
นิกายโปรเตสแตนต์ขึ้น
แบ่งเป็น 3 นิกายสำาคัญ ได้แก่
1.นิกายลูเทอร์
แพร่หลายในเยอรมัน และ
ประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวีย
3. นิกายอังกฤษ หรือแองกลิคัน
เป็นนิกายประจำาประเทศอังกฤษ
2. นิกายคาลวิน
แพร่หลายในสวิตเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส
เนเธอร์แลนด์และสกอตแลนด์
การปฏิรูปของศาสนจักร
1. ศาสนจักรได้จัดการประชุมสังคายนาพระ
ศาสนาที่เมืองเทรนต์ ใช้ระยะเวลา 18 ปี มี
บทสรุปดังนี้
1. สันตะปาปาทรงเป็นประมุข
ของคริสต์ศาสนา
2. การประกาศหลักธรรมทาง
ศาสนาต้องให้ ศาสนจักร
เป็นผู้ประกาศ
3. คัมภีร์ไบเบิลต้องเป็นภาษา
ละติน
4. ยกเลิกการขายใบยกโทษ
บาปและตำาแหน่งทางศาสนา
การปฏิรูปของศาสนจักร (ต่อ)
2. ศาสนจักรได้ตั้งศาลศาสนาเพื่อลงโทษพวกนอก
ศาสนา
- พิจารณาความผิดของพวกนอกศาสนา
คาทอลิก และชาวคาทอลิกที่มีความคิดเห็น
แตกต่างจากศาสนจักร
- ลงโทษโดยการเผาคนผิดทั้งเป็น
ผลของการปฏิรูปศาสนา
1. คริสตจักรตะวันตกได้แตกแยกออกเป็น 2
นิกาย คือ
1. นิกายโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางอยู่ที่กรุงโรม มี
สันตะปาปาเป็นประมุข
2. นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งแยกเป็นนิกายต่างๆใน
ประเทศทางภาคเหนือของยุโรป ความเป็น
เอกภาพทางศาสนาของยุโรปสิ้นสุดลง
2. เกิดกระแสชาตินิยมในประเทศต่างๆ
3. เกิดการแข่งขันระหว่างนิกายต่างๆ
4. สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป
THANK YOU
นำาเสนอ
อาจารย์ ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณ
กุล
จัดทำาโดย
1.นางสาวพราวฐิตา ขัตติโยทัยวงศ์
ม.6.7 เลขที่ 9
2.นางสาวเฟื่องฟ้า จันทร์แสง
ม6.7 เลขที่ 11

More Related Content

What's hot

What's hot (8)

Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
Kaarfuuenfuusilpwithyaakaar3
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
 
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
Content04
Content04Content04
Content04
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 

Similar to Social5.2 5.3แก้

ศิลปวัฒนธรรมตะวันตกสมัยกลาง
ศิลปวัฒนธรรมตะวันตกสมัยกลางศิลปวัฒนธรรมตะวันตกสมัยกลาง
ศิลปวัฒนธรรมตะวันตกสมัยกลางNamKantima
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4Panomporn Chinchana
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาPuchida Saingchin
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธAniwat Suyata
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมืองAniwat Suyata
 

Similar to Social5.2 5.3แก้ (6)

ศิลปวัฒนธรรมตะวันตกสมัยกลาง
ศิลปวัฒนธรรมตะวันตกสมัยกลางศิลปวัฒนธรรมตะวันตกสมัยกลาง
ศิลปวัฒนธรรมตะวันตกสมัยกลาง
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 

Social5.2 5.3แก้