SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
ทฤษฏีการบริหาร

ทฤษฎีการบริหารการศึกษา
    ในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารควรมีหลักและ
กระบวนการบริหาร การบริหารการศึกษา หลักการแนวคิดในการ
บริหาร ภาพรวมของ
การบริหารทั้งนี้เพื่อให้การจัดการบริหารสถานศึกษามีความ
เหมาะสมผู้เขียนจะได้กล่าวถึงประเด็นดังกล่าวเพื่อให้เกิดความ
เข้าใจและมุมมอง
ในการบริหารสถานศึกษายิ่งขึ้นต่อไป
คำาจำากัดความ
    คำาว่า “การบริหาร”(Administration) ใช้ในความหมายกว้าง
ๆ เช่น การบริหารราชการ อีกคำาหนึ่ง คือ “ การจัดการ”
(Management) ใช้แทนกันได้
กับคำาว่า การบริหาร ส่วนมากหมายถึง การจัดการทางธุรกิจ
มากกว่าโดยมีหลายท่านได้ระบุดังนี้
         Peter F Drucker : คือ ศิลปะในการทำางานให้บรรลุเป้า
หมายร่วมกับผู้อื่น (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 2)
         Herbert A. Simon :กล่าวว่าคือ กิจกรรมที่บุคคลตังแต่ 2
                                                           ้
คนขึ้นไป ร่วมมือกันดำาเนินการให้บรรลุวัถุประสงค์อย่างใดอย่าง
หนึ่งหรือหลายอย่างร่วมกัน (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 2)
         การบริหาร หมายถึง ศิลปะในการทำาให้สิ่งต่าง ๆ ได้รับ
การกระทำาจนเป็น ผลสำาเร็จ กล่าวคือ ผู้บริหารไม่ใช้เป็นผู้ปฏิบัติ
แต่เป็นผู้ใช้ศิลปะทำาให้ผู้ปฏิบัติทำางานจนสำาเร็จตามจุดมุ่งหมาย
ที่ผู้บริหารตัดสินใจเลือกแล้ว (Simon)
         การบริหาร คือ กระบวนการทำางานร่วมกับผู้อื่นเพื่อให้เกิด
ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ (Sergiovanni)
         การบริหาร คือ การทำางานของคณะบุคคลตังแต่ 2 คนขึ้น
                                                   ้
ไป ที่รวมปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน (Barnard)
         การบริหาร หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคลตังแต่สองคน
                                                     ้
ขึ้นไปร่วมมือกันดำาเนินการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างหนึ่ง
อย่างใดหรือหลายๆอย่างที่บุคคลร่วมกันกำาหนดโดยใช้กระบวน
อย่างมีระบบและให้ทรัพยากรตลอดจนเทคนิคต่างๆ อย่างเหมาะ
สม (สมศักดิ์ คงเที่ยง , 2542 : 1)
    ส่วนคำาว่า “การบริหารการศึกษา” หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่
บุคคลหลายคนร่วมกันดำาเนินการ เพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคม
ในทุกๆ ด้าน นับแต่ บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถ เจตคติ
พฤติกรรม คุณธรรม เพื่อให้มค่านิยมตรงกันกับความต้องการ
                             ี
ของสังคม โดยกระบวนการต่างๆ ที่อาศัยควบคุมสิ่งแวดล้อมให้
มีผลต่อบุคคล และอาศัย
ทรัพยากร ตลอดจนเทคนิคต่างๆ อย่างเหมาะสม เพื่อให้บุคคล
พัฒนาไปตรงตามเป้าหมายของสังคมที่ตนดำาเนินชีวิตอยู่(ภาวิ
ดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 6)
    คำาว่า “สถานศึกษา” หมายความ ว่าสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
โรงเรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
ตามอัธยาศัย ศูนย์การเรียน วิทยาลัย วิทยาลัยชุมชน สถาบัน
หรือสถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นของรัฐที่มีอำานาจหน้าที่หรือมี
วัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา
แห่งชาติและตามประกาศกระทรวง(พระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, 2547 : 23)
การบริหารเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์
    การบริหารเป็นสาขาวิชาที่มีการจัดการระเบียบอย่างเป็นระบบ
คือมีหลักเกณฑ์และทฤษฎีที่พึงเชื่อถือได้ อันเกิดจาการค้นคว้า
เชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อประโยชน์ในการบริหาร โดยลักษณะนี้ การ
บริหารจึงเป็นศาสตร์ (Science) เป็นศาสตร์สังคม ซึงอยู่กลุ่ม
                                                    ่
เดียวกับวิชาจิตวิทยา สังคมวิทยา และรัฐศาสตร์แต่ถ้าพิจารณา
การบริหารในลักษณะของ
การปฏิบัติที่ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และ
ทักษะของผู้บริหารแต่ละคน ที่จะ ทำางานให้บรรลุเป้าหมาย ซึง    ่
เป็นการประยุกต์เอาความรู้ หลักการและทฤษฎีไปรับใช้ในการ
ปฏิบัติงานเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และสิ่งแวดล้อม การ
บริหารก็จะมีลักษณะเป็นศิลป์ (Arts) (ที่มา :
http://www.kunkroo.com/admin1.html,)
    ปัจจัยสำาคัญการบริหารที่สำาคัญมี 4 อย่าง ทีเรียกว่า 4Ms
                                               ่
ได้แก่
          1. คน (Man)
          2 เงิน (Money)
          3. วัสดุสิ่งของ(Materials)
          4. การจัดการ (Management)
   กระบวนการบริหารการศึกษา
      จากหลักการบริหารทั่วไป 14 ข้อของ Fayol ทำาให้ต่อมา
Luther Gulick ได้นำา
มาปรับต่อยอดเป็นที่รู้จักกันดีในตัวอักษรย่อที่ว่า “POSDCoRB”
กลายเป็นคัมภีร์ของการจัดองค์การในต้นยุคของศาสตร์การ
บริหารซึ่งตัวย่อแต่ละตัวมีความหมายดังนี้
           P – Planning หมายถึง การวางแผน
           O – Organizing หมายถึง การจัดองค์การ
           S – Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำางาน
           D – Directing หมายถึง การสั่งการ
           Co – Coordinating หมายถึง ความร่วมมือ
           R – Reporting หมายถึง การรายงาน
           B – Budgeting หมายถึง งบประมาณ
ความหมายของทฤษฎีและทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา

   ทฤษฎี หมายถึง แนวความคิดหรือความเชื่อที่เกิดขึ้นอย่างมี
หลักเกณฑ์มีการทดสอบและการสังเกตจนเป็นที่แน่ใจ ทฤษฎี
เป็น เซท(Set) ของมโนทัศน์ที่เชื่อมโยงซึงกันและกัน เป็นข้อ
                                       ่
สรุปอย่างกว้างที่พรรณนาและอธิบายพฤติกรรมการบริหาร
องค์กรการ
ทางศึกษา อย่างเป็นระบบ ถ้าทฤษฎีได้รับการพิสูจน์บ่อย ๆ ก็จะ
กลายเป็นกฎเกณฑ์ ทฤษฎีเป็นแนวความคิดที่มีเหตุผลและ
สามารถนำาไปประยุกต์ และปฏิบัติได้ ทฤษฎีมีบทบาทในการให้
คำาอธิบายเกี่ยวกับปรากฎทั่วไปและชี้แนะการวิจัย
ทฤษฎีทางการบริหารและวิวัฒนาการการบริหารการศึกษา
ระยะที่ 1 ระหว่าง ค.ศ. 1887 – 1945 (ภาวิดา ธาราศรี
สุทธิ, 2542: 10) ยุคนักทฤษฎี
การบริหารสมัยดั้งเดิม (The Classical organization theory)
แบ่งย่อยเป็น 3 กลุ่มดังนี้
          1.กลุ่มการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของเทย์เลอ
ร์(Scientific Management)ของ
เฟรดเดอริก เทย์เลอร์ (Frederick Taylor) ความมุ่งหมายสูงสุด
ของแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์คือ จัดการบริหารธุรกิจหรือโรงงาน
ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด Taylor มองคนงาน
แต่ละคนเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่สามารถปรับปรุงเพื่อเพิ่ม
ผลผลิตขององค์การได้ เจ้าของตำารับ “The one best way” คือ
ประสิทธิภาพของการทำางานสูงสุดจะเกิดขึ้นได้ต้องขึ้นอยู่กับสิ่ง
สำาคัญ 3 อย่างคือ
                    1.1 เลือกคนที่มีความสามารถสูงสุด
(Selection)
                    1.2 ฝึกอบบรมคนงานให้ถูกวิธี (Training)
                    1.3 หาสิ่งจูงใจให้เกิดกำาลังใจในการทำางาน
(Motivation)
        เทย์เลอร์ ก็คือผลผลิตของยุคอุตสาหกรรมในงานวิจัย
เรื่อง “Time and Motion Studies” เวลาและการเคลื่อนไหว
เชื่อว่ามีวิธีการการทางวิทยาศาสตร์ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์เพียง
วิธีเดียวที่ดีที่สุด เขาเชื่อในวิธีแบ่งงานกันทำา ผู้ปฏิบัติระดับล่าง
ต้องรับผิดชอบต่อระดับบน เทย์เลอร์ เสนอ ระบบการจ้างงาน(
จ่ายเงิน)บนพื้นฐานการสร้างแรงจูงใจ สรุปหลักวิทยาศาสตร์
ของเทยเลอร์สรุปง่ายๆประกอบด้วย 3 หลักการดังนี้
                      1. การแบ่งงาน (Division of Labors)
                      2. การควบคุมดูแลบังคับบัญชาตามสายงาน
(Hierarchy)
                      3. การจ่ายค่าจ้างเพื่อสร้างแรงจูงใจ
(Incentive payment)
          2. กลุ่มการบริหารจัดการ(Administration
Management) หรือ ทฤษฎีบริหารองค์การอย่างเป็นทางการ(F
ormal Organization Theory ) ของ อังรี
ฟาโยล (Henri Fayol) บิดาของทฤษฎีการปฏิบัติการและการ
จัดการตามหลักบริหาร ทั้ง Fayol และ Taylor
จะเน้นตัวบุคลปฏิบัติงาน + วิธีการทำางาน ได้ประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลแต่ก็ไม่มองด้าน “จิตวิทยา” (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ,
2542: 17)Fayol ได้เสนอแนวคิดในเรื่องหลักเกี่ยวกับการ
บริหารทั่วไป 14 ประการ แต่ลักษณะที่สำาคัญ มีดังนี้
                  2.1 หลักการทำางานเฉพาะทาง
(Specialization) คือการแบ่งงานให้เกิดความชำานาญเฉพาะ
ทาง
                  2.2 หลักสายบังคับบัญชา เริ่มจากบังคับบัญชา
สูงสุดสู่ระดับตำ่าสุด
                  2.3 หลักเอกภาพของบังคับบัญชา (Unity of
Command)
                  2.4 หลักขอบข่ายของการควบคุมดูแล (Span
of control) ผูดูแลหนึ่งคนต่อ 6 คนที่จะอยู่ใต้การดูแลจึงจะ
               ้
เหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่สุด
                  2.5 การสื่อสารแนวดิ่ง (Vertical
Communication) การสื่อสารโดยตรงจากเบื้องบนสู่เบื้องล่าง
                  2.6 หลักการแบ่งระดับการบังคับบัญชาให้น้อย
ที่สุด คือ ไม่ควรมีสายบังคับบัญชายืดยาว หลายระดับมากเกิน
ไป
                  2.7 หลักการแบ่งความรับผิดชอบระหว่างสาย
บังคับบัญชาและสายเสนาธิการ (Line and Staff Division)
         3. ทฤษฎีบริหารองค์การในระบบ
ราชการ(Bureaucracy) มาจากแนวคิดของ แมกซ์ เวเบอร์
(Max Weber) ที่กล่าวถึงหลักการบริหารราชการประกอบด้วย
                  3.1 หลักของฐานอำานาจจากกฎหมาย
                  3.2 การแบ่งหน้าทีและความรับผิดชอบ ทีต้อง
                                   ่                    ่
ยึดระเบียบกฎเกณฑ์
                  3.3 การแบ่งงานตามความชำานาญการเฉพาะ
ทาง
              3.4 การแบ่งงานไม่เกี่ยวกับผลประโยชน์ส่วนตัว

                 3.5 มีระบบความมั่นคงในอาชีพ
            จะอย่างไรก็ตามระบบราชการก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย
ซึ่งในด้าน ข้อเสีย คือ สายบังคับบัญชายืดยาวการทำางานต้อง
อ้างอิงกฎระเบียบ จึงชักช้าไม่ทันการแก้ไขปัญหาในปัจจุบัน
เรียกว่า ระบบ “Red tape” ในด้านข้อดี คือ ยึดประโยชน์
สาธารณะเป็นหลัก การบังคับบัญชา การเลื่อนขั้นตำาแหน่งที่มี
ระบบระเบียบ แต่ในปัจจุบันระบบราชการกำาลังถูกแทรกแซง
ทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ ทำาให้เริ่มมีปัญหา
    ระยะที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1945 – 1958 (ภาวิดา ธาราศรี
สุทธิ, 2542: 10) ยุคทฤษฎี
มนุษยสัมพันธ์ (Human Relation ) Follette ได้นำาเอาจิตวิทยา
มาใช้และได้เสนอ
การแก้ปัญหาความขัดแย้ง(Conflict) ไว้ 3 แนวทางดังนี้
            1. Domination คือ ใช้อำานาจอีกฝ่ายสยบลง คือให้
อีกฝ่ายแพ้ให้ได้ ไม่ดีนัก
            2. Compromise คือ คนละครึ่งทาง เพื่อให้
เหตุการณ์สงบโดยประนีประนอม
            3. Integration คือ การหาแนวทางที่ไม่มใครเสีย
                                                  ี
หน้า ได้ประโยชน์ทั้ง 2 ทาง (ชนะ ชนะ) นอกจากนี้ Follette
ให้ทัศนะน่าฟังว่า “การเกิดความขัดแย้งในหน่วยงานเป็นความ
พกพร่องของการบริหาร” (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 25)
        การวิจัยหรือการทดลองฮอร์ทอร์น(Hawthon
Experiment) ที่ เมโย(Mayo) กับคณะทำาการวิจัยเริ่มที่ข้อ
สมมติฐานว่าสิ่งแวดล้อมมีผลต่อประสิทธิภาพการทำางานของคน
งาน มีการค้นพบจากการทดลองคือมีการสร้างกลุ่มแบบไม่เป็น
ทางการในองค์การ ทำาให้เกิดแนวความคิดใหม่ที่ว่า ความ
สัมพันธ์ของมนุษย์ มีความสำาคัญมาก ซึ่งผลการศึกษาทดลอง
ของเมโยและคณะ พอสรุปได้ดังนี้
1. คนเป็นสิ่งมีชีวิต จิตใจ ขวัญ กำาลังใจ และ
ความพึงพอใจเป็นเรื่องสำาคัญในการทำางาน
                   2. เงินไม่ใช่ สิ่งล่อใจที่สำาคัญแต่เพียงอย่าง
เดียว รางวัลทางจิตใจมีผลต่อการจูงใจในการทำางานไม่น้อยกว่า
เงิน
                   3. การทำางานขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมทาง
สังคมมากกว่าสภาพแวดล้อมทางกายภาพคับที่อยู่ได้คับใจอยู่
อยาก
          ข้อคิดที่สำาคัญ การตอบสนองคน ด้านความต้องการ
ศักดิ์ศรี การยกย่อง จะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน
การทำางานจากแนวคิด “มนุษยสัมพันธ์”*
    ระยะที่ 3 ตังแต่ ค.ศ. 1958 – ปัจจุบัน (ภาวิดา ธาราศรี
                 ้
สุทธิ, 2542: 11) ยุคการใช้ทฤษฎีการบริหาร(Administrative
Theory)หรือการศึกษาเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral
Science Approach) ยึดหลักระบบงาน + ความสัมพันธ์ของคน
+ พฤติกรรมขององค์การ ซึงมีแนวคิด หลักการ ทฤษฎีทหลายๆ
                               ่                             ี่
คนได้แสดงไว้ดังต่อไปนี้
       1.เชสเตอร์ ไอ บาร์นาร์ด (Chester I Barnard ) เขียน
หนังสือชื่อ The Function of The Executive ที่กล่าวถึงงานใน
หน้าที่ของผู้บริหารโดยให้ความสำาคัญต่อบุคคลระบบของความ
ร่วมมือองค์การ และเป้าหมายขององค์การ กับความต้องการ
ของบุคคลในองค์การต้องสมดุลกัน
       2.ทฤษฎีของมาสโลว์ ว่าด้วยการจัดอันดับขั้นของความ
ต้องการของมนุษย์ (Maslow – Hierarchy of needs) เป็นเรื่อง
แรงจูงใจแบ่งความต้องการของมนุษย์ตั้งแต่ความต้องการด้าน
กายภาพ ความต้องการด้านความปลอดภัยความต้องการด้าน
สังคม ความต้องการด้านการเคารพ – นับถือ และประการ
สุดท้าย คือ การบรรลุศักยภาพของตนเอง (Self actualization)
คือมีโอกาสได้พัฒนาตนเองถึงขั้นสูงสุดจากการทำางาน แต่
ความต้องการเหล่านั้นต้องได้รับการสนองตอบตามลำาดับขั้น
       3.ทฤษฎี X ทฤษฎี Y ของแมคกรีกอร์(Douglas MC
Gregor Theory X,
Theory Y ) เขาได้เสนอแนวคิดการบริหารอยู่บนพื้นฐานของข้อ
สมมติฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ต่างกัน ทฤษฎี X(The
Traditional View of Direction and Control) ทฤษฎีนี้เกิดข้อ
สมติฐานดังนี้
                  1. คนไม่อยากทำางาน และหลีกเลี่ยงความรับผิด
ชอบ
                  2. คนไม่ทะเยอทะยาน และไม่คิดริเริ่ม ชอบ
ให้การสั่ง
                  3. คนเห็นแก่ตนเองมากกว่าองค์การ
                  4. คนมักต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
                  5. คนมักโง่ และหลอกง่าย
ผลการมองธรรมชาติของมนุษย์เช่นนี้ การบริหารจัดการจึงเน้น
การใช้เงิน วัตถุ เป็นเครื่องล่อใจ เน้นการควบคุม การสั่งการ
เป็นต้น
            ทฤษฎี Y(The integration of Individual and
Organization Goal) ทฤษฎีข้อนี้เกิดจากข้อสมติฐานดังนี้
                  1. คนจะให้ความร่วมมือ สนับสนุน รับผิดชอบ
ขยัน
                  2. คนไม่เกียจคร้านและไว้วางใจได้
                  3. คนมีความคิดริเริ่มทำางานถ้าได้รับการจูงใจ
อย่างถูกต้อง
                  4. คนมักจะพัฒนาวิธีการทำางาน และพัฒนา
ตนเองอยู่เสมอ
            ผู้บังคับบัญชาจะไม่ควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชาอย่าง
เข้มงวด แต่จะส่งเสริมให้รู้จักควบคุมตนเองหรือของกลุ่มมากขึ้น
ต้องให้เกียรติซึ่งกันและกันจากความเชื่อที่แตกต่างกัน ทำาให้
เกิดระบบการบริหารที่แตกต่างกันระหว่างระบบที่เน้นการควบคุม
กับระบบที่ค่อนข้างให้อิสระภาพ
       4.อูชิ (Ouchi ) ชาวญี่ปุ่นได้เสนอ ทฤษฎี Z (Z Theory)
(William G. Ouchi) ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัย UXLA (I
of California Los Angeles) ทฤษฎีนี้รวมเอาหลักการของ
ทฤษฎี X , Y เข้าด้วยกัน แนวความคิดก็คือ องค์การต้องมีหลัก
เกณฑ์ที่ควบคุมมนุษย์ แต่มนุษย์ก็รักความเป็นอิสระ และมีความ
ต้องการหน้าที่ของผู้บริหารจึงต้องปรับเป้าหมายขององค์การให้
สอดคล้องกับเป้าหมายของบุคคลในองค์การ
สรุปเพื่อออมชอมสองทฤษฎี มีองค์ประกอบที่สำาคัญ 4 ประการ
คือ
               1. การทำาให้ปรัชญาที่กำาหนดไว้บรรลุ
               2. การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ
               3. การให้ความไว้วางใจแก่ผใต้บังคับบัญชา
                                          ู้
               4. การให้ผใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วมในการ
                          ู้
ตัดสินใจ

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาPitchayakarn Nitisahakul
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน7roommate
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
สาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือสาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือpreecha klamrassamee
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำguest817d3d
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 

What's hot (20)

ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 
สาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือสาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือ
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 

Similar to ทฤษฏีการบริหาร

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organizationwiraja
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรsukanya56106930005
 
Development of management theory
Development of management theoryDevelopment of management theory
Development of management theoryKan Yuenyong
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUpantapong
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2nattawad147
 

Similar to ทฤษฏีการบริหาร (20)

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Classical theory mallika setsuai
Classical theory mallika setsuaiClassical theory mallika setsuai
Classical theory mallika setsuai
 
Classical theory mallika setsuai
Classical theory mallika setsuaiClassical theory mallika setsuai
Classical theory mallika setsuai
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
Development of management theory
Development of management theoryDevelopment of management theory
Development of management theory
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 

ทฤษฏีการบริหาร

  • 1. ทฤษฏีการบริหาร ทฤษฎีการบริหารการศึกษา ในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารควรมีหลักและ กระบวนการบริหาร การบริหารการศึกษา หลักการแนวคิดในการ บริหาร ภาพรวมของ การบริหารทั้งนี้เพื่อให้การจัดการบริหารสถานศึกษามีความ เหมาะสมผู้เขียนจะได้กล่าวถึงประเด็นดังกล่าวเพื่อให้เกิดความ เข้าใจและมุมมอง ในการบริหารสถานศึกษายิ่งขึ้นต่อไป คำาจำากัดความ คำาว่า “การบริหาร”(Administration) ใช้ในความหมายกว้าง ๆ เช่น การบริหารราชการ อีกคำาหนึ่ง คือ “ การจัดการ” (Management) ใช้แทนกันได้ กับคำาว่า การบริหาร ส่วนมากหมายถึง การจัดการทางธุรกิจ มากกว่าโดยมีหลายท่านได้ระบุดังนี้ Peter F Drucker : คือ ศิลปะในการทำางานให้บรรลุเป้า หมายร่วมกับผู้อื่น (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 2) Herbert A. Simon :กล่าวว่าคือ กิจกรรมที่บุคคลตังแต่ 2 ้ คนขึ้นไป ร่วมมือกันดำาเนินการให้บรรลุวัถุประสงค์อย่างใดอย่าง หนึ่งหรือหลายอย่างร่วมกัน (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 2) การบริหาร หมายถึง ศิลปะในการทำาให้สิ่งต่าง ๆ ได้รับ การกระทำาจนเป็น ผลสำาเร็จ กล่าวคือ ผู้บริหารไม่ใช้เป็นผู้ปฏิบัติ แต่เป็นผู้ใช้ศิลปะทำาให้ผู้ปฏิบัติทำางานจนสำาเร็จตามจุดมุ่งหมาย ที่ผู้บริหารตัดสินใจเลือกแล้ว (Simon) การบริหาร คือ กระบวนการทำางานร่วมกับผู้อื่นเพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ (Sergiovanni) การบริหาร คือ การทำางานของคณะบุคคลตังแต่ 2 คนขึ้น ้ ไป ที่รวมปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน (Barnard) การบริหาร หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคลตังแต่สองคน ้ ขึ้นไปร่วมมือกันดำาเนินการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างหนึ่ง อย่างใดหรือหลายๆอย่างที่บุคคลร่วมกันกำาหนดโดยใช้กระบวน
  • 2. อย่างมีระบบและให้ทรัพยากรตลอดจนเทคนิคต่างๆ อย่างเหมาะ สม (สมศักดิ์ คงเที่ยง , 2542 : 1) ส่วนคำาว่า “การบริหารการศึกษา” หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่ บุคคลหลายคนร่วมกันดำาเนินการ เพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคม ในทุกๆ ด้าน นับแต่ บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถ เจตคติ พฤติกรรม คุณธรรม เพื่อให้มค่านิยมตรงกันกับความต้องการ ี ของสังคม โดยกระบวนการต่างๆ ที่อาศัยควบคุมสิ่งแวดล้อมให้ มีผลต่อบุคคล และอาศัย ทรัพยากร ตลอดจนเทคนิคต่างๆ อย่างเหมาะสม เพื่อให้บุคคล พัฒนาไปตรงตามเป้าหมายของสังคมที่ตนดำาเนินชีวิตอยู่(ภาวิ ดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 6) คำาว่า “สถานศึกษา” หมายความ ว่าสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ ตามอัธยาศัย ศูนย์การเรียน วิทยาลัย วิทยาลัยชุมชน สถาบัน หรือสถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นของรัฐที่มีอำานาจหน้าที่หรือมี วัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติและตามประกาศกระทรวง(พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, 2547 : 23) การบริหารเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ การบริหารเป็นสาขาวิชาที่มีการจัดการระเบียบอย่างเป็นระบบ คือมีหลักเกณฑ์และทฤษฎีที่พึงเชื่อถือได้ อันเกิดจาการค้นคว้า เชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อประโยชน์ในการบริหาร โดยลักษณะนี้ การ บริหารจึงเป็นศาสตร์ (Science) เป็นศาสตร์สังคม ซึงอยู่กลุ่ม ่ เดียวกับวิชาจิตวิทยา สังคมวิทยา และรัฐศาสตร์แต่ถ้าพิจารณา การบริหารในลักษณะของ การปฏิบัติที่ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และ ทักษะของผู้บริหารแต่ละคน ที่จะ ทำางานให้บรรลุเป้าหมาย ซึง ่ เป็นการประยุกต์เอาความรู้ หลักการและทฤษฎีไปรับใช้ในการ ปฏิบัติงานเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และสิ่งแวดล้อม การ บริหารก็จะมีลักษณะเป็นศิลป์ (Arts) (ที่มา : http://www.kunkroo.com/admin1.html,) ปัจจัยสำาคัญการบริหารที่สำาคัญมี 4 อย่าง ทีเรียกว่า 4Ms ่
  • 3. ได้แก่ 1. คน (Man) 2 เงิน (Money) 3. วัสดุสิ่งของ(Materials) 4. การจัดการ (Management) กระบวนการบริหารการศึกษา จากหลักการบริหารทั่วไป 14 ข้อของ Fayol ทำาให้ต่อมา Luther Gulick ได้นำา มาปรับต่อยอดเป็นที่รู้จักกันดีในตัวอักษรย่อที่ว่า “POSDCoRB” กลายเป็นคัมภีร์ของการจัดองค์การในต้นยุคของศาสตร์การ บริหารซึ่งตัวย่อแต่ละตัวมีความหมายดังนี้ P – Planning หมายถึง การวางแผน O – Organizing หมายถึง การจัดองค์การ S – Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำางาน D – Directing หมายถึง การสั่งการ Co – Coordinating หมายถึง ความร่วมมือ R – Reporting หมายถึง การรายงาน B – Budgeting หมายถึง งบประมาณ ความหมายของทฤษฎีและทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา ทฤษฎี หมายถึง แนวความคิดหรือความเชื่อที่เกิดขึ้นอย่างมี หลักเกณฑ์มีการทดสอบและการสังเกตจนเป็นที่แน่ใจ ทฤษฎี เป็น เซท(Set) ของมโนทัศน์ที่เชื่อมโยงซึงกันและกัน เป็นข้อ ่ สรุปอย่างกว้างที่พรรณนาและอธิบายพฤติกรรมการบริหาร องค์กรการ ทางศึกษา อย่างเป็นระบบ ถ้าทฤษฎีได้รับการพิสูจน์บ่อย ๆ ก็จะ กลายเป็นกฎเกณฑ์ ทฤษฎีเป็นแนวความคิดที่มีเหตุผลและ สามารถนำาไปประยุกต์ และปฏิบัติได้ ทฤษฎีมีบทบาทในการให้ คำาอธิบายเกี่ยวกับปรากฎทั่วไปและชี้แนะการวิจัย ทฤษฎีทางการบริหารและวิวัฒนาการการบริหารการศึกษา
  • 4. ระยะที่ 1 ระหว่าง ค.ศ. 1887 – 1945 (ภาวิดา ธาราศรี สุทธิ, 2542: 10) ยุคนักทฤษฎี การบริหารสมัยดั้งเดิม (The Classical organization theory) แบ่งย่อยเป็น 3 กลุ่มดังนี้ 1.กลุ่มการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของเทย์เลอ ร์(Scientific Management)ของ เฟรดเดอริก เทย์เลอร์ (Frederick Taylor) ความมุ่งหมายสูงสุด ของแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์คือ จัดการบริหารธุรกิจหรือโรงงาน ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด Taylor มองคนงาน แต่ละคนเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่สามารถปรับปรุงเพื่อเพิ่ม ผลผลิตขององค์การได้ เจ้าของตำารับ “The one best way” คือ ประสิทธิภาพของการทำางานสูงสุดจะเกิดขึ้นได้ต้องขึ้นอยู่กับสิ่ง สำาคัญ 3 อย่างคือ 1.1 เลือกคนที่มีความสามารถสูงสุด (Selection) 1.2 ฝึกอบบรมคนงานให้ถูกวิธี (Training) 1.3 หาสิ่งจูงใจให้เกิดกำาลังใจในการทำางาน (Motivation) เทย์เลอร์ ก็คือผลผลิตของยุคอุตสาหกรรมในงานวิจัย เรื่อง “Time and Motion Studies” เวลาและการเคลื่อนไหว เชื่อว่ามีวิธีการการทางวิทยาศาสตร์ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์เพียง วิธีเดียวที่ดีที่สุด เขาเชื่อในวิธีแบ่งงานกันทำา ผู้ปฏิบัติระดับล่าง ต้องรับผิดชอบต่อระดับบน เทย์เลอร์ เสนอ ระบบการจ้างงาน( จ่ายเงิน)บนพื้นฐานการสร้างแรงจูงใจ สรุปหลักวิทยาศาสตร์ ของเทยเลอร์สรุปง่ายๆประกอบด้วย 3 หลักการดังนี้ 1. การแบ่งงาน (Division of Labors) 2. การควบคุมดูแลบังคับบัญชาตามสายงาน (Hierarchy) 3. การจ่ายค่าจ้างเพื่อสร้างแรงจูงใจ (Incentive payment) 2. กลุ่มการบริหารจัดการ(Administration
  • 5. Management) หรือ ทฤษฎีบริหารองค์การอย่างเป็นทางการ(F ormal Organization Theory ) ของ อังรี ฟาโยล (Henri Fayol) บิดาของทฤษฎีการปฏิบัติการและการ จัดการตามหลักบริหาร ทั้ง Fayol และ Taylor จะเน้นตัวบุคลปฏิบัติงาน + วิธีการทำางาน ได้ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลแต่ก็ไม่มองด้าน “จิตวิทยา” (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 17)Fayol ได้เสนอแนวคิดในเรื่องหลักเกี่ยวกับการ บริหารทั่วไป 14 ประการ แต่ลักษณะที่สำาคัญ มีดังนี้ 2.1 หลักการทำางานเฉพาะทาง (Specialization) คือการแบ่งงานให้เกิดความชำานาญเฉพาะ ทาง 2.2 หลักสายบังคับบัญชา เริ่มจากบังคับบัญชา สูงสุดสู่ระดับตำ่าสุด 2.3 หลักเอกภาพของบังคับบัญชา (Unity of Command) 2.4 หลักขอบข่ายของการควบคุมดูแล (Span of control) ผูดูแลหนึ่งคนต่อ 6 คนที่จะอยู่ใต้การดูแลจึงจะ ้ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่สุด 2.5 การสื่อสารแนวดิ่ง (Vertical Communication) การสื่อสารโดยตรงจากเบื้องบนสู่เบื้องล่าง 2.6 หลักการแบ่งระดับการบังคับบัญชาให้น้อย ที่สุด คือ ไม่ควรมีสายบังคับบัญชายืดยาว หลายระดับมากเกิน ไป 2.7 หลักการแบ่งความรับผิดชอบระหว่างสาย บังคับบัญชาและสายเสนาธิการ (Line and Staff Division) 3. ทฤษฎีบริหารองค์การในระบบ ราชการ(Bureaucracy) มาจากแนวคิดของ แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) ที่กล่าวถึงหลักการบริหารราชการประกอบด้วย 3.1 หลักของฐานอำานาจจากกฎหมาย 3.2 การแบ่งหน้าทีและความรับผิดชอบ ทีต้อง ่ ่ ยึดระเบียบกฎเกณฑ์ 3.3 การแบ่งงานตามความชำานาญการเฉพาะ
  • 6. ทาง 3.4 การแบ่งงานไม่เกี่ยวกับผลประโยชน์ส่วนตัว 3.5 มีระบบความมั่นคงในอาชีพ จะอย่างไรก็ตามระบบราชการก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งในด้าน ข้อเสีย คือ สายบังคับบัญชายืดยาวการทำางานต้อง อ้างอิงกฎระเบียบ จึงชักช้าไม่ทันการแก้ไขปัญหาในปัจจุบัน เรียกว่า ระบบ “Red tape” ในด้านข้อดี คือ ยึดประโยชน์ สาธารณะเป็นหลัก การบังคับบัญชา การเลื่อนขั้นตำาแหน่งที่มี ระบบระเบียบ แต่ในปัจจุบันระบบราชการกำาลังถูกแทรกแซง ทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ ทำาให้เริ่มมีปัญหา ระยะที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1945 – 1958 (ภาวิดา ธาราศรี สุทธิ, 2542: 10) ยุคทฤษฎี มนุษยสัมพันธ์ (Human Relation ) Follette ได้นำาเอาจิตวิทยา มาใช้และได้เสนอ การแก้ปัญหาความขัดแย้ง(Conflict) ไว้ 3 แนวทางดังนี้ 1. Domination คือ ใช้อำานาจอีกฝ่ายสยบลง คือให้ อีกฝ่ายแพ้ให้ได้ ไม่ดีนัก 2. Compromise คือ คนละครึ่งทาง เพื่อให้ เหตุการณ์สงบโดยประนีประนอม 3. Integration คือ การหาแนวทางที่ไม่มใครเสีย ี หน้า ได้ประโยชน์ทั้ง 2 ทาง (ชนะ ชนะ) นอกจากนี้ Follette ให้ทัศนะน่าฟังว่า “การเกิดความขัดแย้งในหน่วยงานเป็นความ พกพร่องของการบริหาร” (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 25) การวิจัยหรือการทดลองฮอร์ทอร์น(Hawthon Experiment) ที่ เมโย(Mayo) กับคณะทำาการวิจัยเริ่มที่ข้อ สมมติฐานว่าสิ่งแวดล้อมมีผลต่อประสิทธิภาพการทำางานของคน งาน มีการค้นพบจากการทดลองคือมีการสร้างกลุ่มแบบไม่เป็น ทางการในองค์การ ทำาให้เกิดแนวความคิดใหม่ที่ว่า ความ สัมพันธ์ของมนุษย์ มีความสำาคัญมาก ซึ่งผลการศึกษาทดลอง ของเมโยและคณะ พอสรุปได้ดังนี้
  • 7. 1. คนเป็นสิ่งมีชีวิต จิตใจ ขวัญ กำาลังใจ และ ความพึงพอใจเป็นเรื่องสำาคัญในการทำางาน 2. เงินไม่ใช่ สิ่งล่อใจที่สำาคัญแต่เพียงอย่าง เดียว รางวัลทางจิตใจมีผลต่อการจูงใจในการทำางานไม่น้อยกว่า เงิน 3. การทำางานขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมทาง สังคมมากกว่าสภาพแวดล้อมทางกายภาพคับที่อยู่ได้คับใจอยู่ อยาก ข้อคิดที่สำาคัญ การตอบสนองคน ด้านความต้องการ ศักดิ์ศรี การยกย่อง จะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน การทำางานจากแนวคิด “มนุษยสัมพันธ์”* ระยะที่ 3 ตังแต่ ค.ศ. 1958 – ปัจจุบัน (ภาวิดา ธาราศรี ้ สุทธิ, 2542: 11) ยุคการใช้ทฤษฎีการบริหาร(Administrative Theory)หรือการศึกษาเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Approach) ยึดหลักระบบงาน + ความสัมพันธ์ของคน + พฤติกรรมขององค์การ ซึงมีแนวคิด หลักการ ทฤษฎีทหลายๆ ่ ี่ คนได้แสดงไว้ดังต่อไปนี้ 1.เชสเตอร์ ไอ บาร์นาร์ด (Chester I Barnard ) เขียน หนังสือชื่อ The Function of The Executive ที่กล่าวถึงงานใน หน้าที่ของผู้บริหารโดยให้ความสำาคัญต่อบุคคลระบบของความ ร่วมมือองค์การ และเป้าหมายขององค์การ กับความต้องการ ของบุคคลในองค์การต้องสมดุลกัน 2.ทฤษฎีของมาสโลว์ ว่าด้วยการจัดอันดับขั้นของความ ต้องการของมนุษย์ (Maslow – Hierarchy of needs) เป็นเรื่อง แรงจูงใจแบ่งความต้องการของมนุษย์ตั้งแต่ความต้องการด้าน กายภาพ ความต้องการด้านความปลอดภัยความต้องการด้าน สังคม ความต้องการด้านการเคารพ – นับถือ และประการ สุดท้าย คือ การบรรลุศักยภาพของตนเอง (Self actualization) คือมีโอกาสได้พัฒนาตนเองถึงขั้นสูงสุดจากการทำางาน แต่ ความต้องการเหล่านั้นต้องได้รับการสนองตอบตามลำาดับขั้น 3.ทฤษฎี X ทฤษฎี Y ของแมคกรีกอร์(Douglas MC Gregor Theory X,
  • 8. Theory Y ) เขาได้เสนอแนวคิดการบริหารอยู่บนพื้นฐานของข้อ สมมติฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ต่างกัน ทฤษฎี X(The Traditional View of Direction and Control) ทฤษฎีนี้เกิดข้อ สมติฐานดังนี้ 1. คนไม่อยากทำางาน และหลีกเลี่ยงความรับผิด ชอบ 2. คนไม่ทะเยอทะยาน และไม่คิดริเริ่ม ชอบ ให้การสั่ง 3. คนเห็นแก่ตนเองมากกว่าองค์การ 4. คนมักต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 5. คนมักโง่ และหลอกง่าย ผลการมองธรรมชาติของมนุษย์เช่นนี้ การบริหารจัดการจึงเน้น การใช้เงิน วัตถุ เป็นเครื่องล่อใจ เน้นการควบคุม การสั่งการ เป็นต้น ทฤษฎี Y(The integration of Individual and Organization Goal) ทฤษฎีข้อนี้เกิดจากข้อสมติฐานดังนี้ 1. คนจะให้ความร่วมมือ สนับสนุน รับผิดชอบ ขยัน 2. คนไม่เกียจคร้านและไว้วางใจได้ 3. คนมีความคิดริเริ่มทำางานถ้าได้รับการจูงใจ อย่างถูกต้อง 4. คนมักจะพัฒนาวิธีการทำางาน และพัฒนา ตนเองอยู่เสมอ ผู้บังคับบัญชาจะไม่ควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชาอย่าง เข้มงวด แต่จะส่งเสริมให้รู้จักควบคุมตนเองหรือของกลุ่มมากขึ้น ต้องให้เกียรติซึ่งกันและกันจากความเชื่อที่แตกต่างกัน ทำาให้ เกิดระบบการบริหารที่แตกต่างกันระหว่างระบบที่เน้นการควบคุม กับระบบที่ค่อนข้างให้อิสระภาพ 4.อูชิ (Ouchi ) ชาวญี่ปุ่นได้เสนอ ทฤษฎี Z (Z Theory) (William G. Ouchi) ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัย UXLA (I of California Los Angeles) ทฤษฎีนี้รวมเอาหลักการของ ทฤษฎี X , Y เข้าด้วยกัน แนวความคิดก็คือ องค์การต้องมีหลัก
  • 9. เกณฑ์ที่ควบคุมมนุษย์ แต่มนุษย์ก็รักความเป็นอิสระ และมีความ ต้องการหน้าที่ของผู้บริหารจึงต้องปรับเป้าหมายขององค์การให้ สอดคล้องกับเป้าหมายของบุคคลในองค์การ สรุปเพื่อออมชอมสองทฤษฎี มีองค์ประกอบที่สำาคัญ 4 ประการ คือ 1. การทำาให้ปรัชญาที่กำาหนดไว้บรรลุ 2. การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำางานอย่างมี ประสิทธิภาพ 3. การให้ความไว้วางใจแก่ผใต้บังคับบัญชา ู้ 4. การให้ผใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วมในการ ู้ ตัดสินใจ