SlideShare a Scribd company logo
1 of 161
ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 
1.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistoric Age ) 
1.1 ยุคหินเก่า (Old Stone) 2,000,000 - 8,000 B.C. 
- ภาษาพูด 
- เครื่องมือ 
1.2 ยุคหินใหม่ (New Stone Age) 8,000-4,000 B.C. 
- การเพาะปลูก 
- การทา เครื่องปั้นดินเผา 
- การค้าขาย
ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 
1.3 ยุคโลหะ (Copper Age) 4,000-2,500 B.C. 
- การใช้ทองแดงและสาริด 
- การสร้างระบบชลประทาน 
- เมืองเป็นศูนย์กลางขอฃการกสิกรรม 
- การเกิดชนชั้น 
1.4 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย 
- วัฒนธรรมบ้านเก่า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 
- วัฒนธรรมบ้านเชียง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี
ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 
2.สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก 
2.1 อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ 
2.1.1 อารยธรรมอียิปต์ : ของขวัญจากแม่น้า ไนล์ 
2.1.2 อารยธรรมเมโสโปเตเมีย : ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ 
2.1.3 อารยธรรมของกลุ่มชนในตะวันออกกลาง : ฟีนีเชีย ฮีบรู และเปอร์เซีย 
2.1.4 อารยธรรมกรีก : นักธรรมชาตินิยมและมนุษยนิยม 
2.1.5 อารยธรรมโรมัน : นักรบและนักปกครองผู้ยิ่งใหญ่
สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก (ต่อ) 
2.2 อารยธรรมตะวันออกยุคโบราณ 
2.2.1 อารยธรรมอินเดีย : อนุทวีปที่น่าทึ่ง 
2.2.2 อารยธรรมจีน : ดินแดนแห่งลัทธิประเพณี 
2.3 อารยธรรมยุคกลาง 
2.3.1 อารยธรรมยุโรปยุคกลาง : ยุคแห่งศรัทธา 
2.3.2 อารยธรรมอิสลาม : แหล่งความรู้และความเจริญในยุคกลาง
สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก (ต่อ) 
2.4 อารยธรรมยุคใหม่ 
2.4.1 การฟื้นฟูศิลปวิทยา 
2.4.2 การปฏิรูปศาสนา 
2.4.3 การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 
2.4.4 การปฏิวัติอุตสาหกรรม 
2.4.5 การปฏิวัติประชาธิปไตย 
2.4.6 สงครามโลกครั้งที่ 1 
2.5 อารยธรรมยุคปัจจุบัน (โลกร่วมสมัย) 
2.5.1 สงครามโลกครั้งที่ 2 
2.5.2 โลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
สมัยประวัติศาสตร์ 
1.ยุคโบราณ (Early Civilizations) 
3,500 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ.476 
2.ยุคกลาง (Middle Ages) 
ค.ศ.800 - ศตวรรษที่ 15 
3.ยุคใหม่ (Modern Times) 
ศตวรรษที่ 15 - ต้นศตวรรษที่ 20 (World War I) 
4.ยุคปัจจุบัน (Contemporary World) 
กลางศตวรรษที่ 20 (หลังWorld War II) - ปัจจุบัน
ยุคโบราณ 
จีน 
กลุ่มชนใน 
ตะวันออกกลาง 
โรมัน 
อารยธรรม 
ตะวันออก 
อารยธรรม 
ตะวันตก 
กรีก 
อียิปต์ 
อินเดีย 
เมโสโปเตเมีย
อารยธรรม 
ยุคกลาง 
ยุโรปยุคกลาง อิสลาม
อารยธรรม 
ยุคใหม่ การปฏิวัติทาง 
วิทยาศาสตร์ 
การปฏิวัติ 
อุตสาหกรรม 
การปฏิรูป 
ศาสนา 
การฟื้นฟู 
ศิลปวิทยา 
สงครามโลกครั้ง 
ที่1 
การปฏิวัติ 
ประชาธิปไตย
โลกร่วมสมัย 
(ยุคปัจจุบัน) 
โลกหลังสงครามโลก 
ครั้งที่2 
สงครามโลกครั้งที่2 
เกิดภาวะสงคราม 
เย็น 
ทุกประเทศในยุโรป 
ร่วมมือกันสร้าง 
สันติภาพ
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ 
อารยธรรมอียิปต์ : ของขวัญจากแม่น้า ไนล์
แม่น้า ไนล์ยาว 500 ไมล์ อยู่ท่ามกลางทะเลทรายที่ร้อนและแห้งแล้ง
อียิปต์โบราณประกอบด้วยอียิปต์บนและอียิปต์ล่าง 
อารยธรรมอียิปต์เจริญขึ้นในบริเวณเดลต้าซึ่งมีความยาว 100 ไมล์
แผนที่ปัจจุบันของแม่น้า ไนล์ ซึ่งมีต้นกา เนิดในเอธิโอเปีย 
ไหลผ่านซูดาน อียิปต์ ลงสู่ทะเลเมดิเตอเรเนียน
อียิปต์โบราณแบ่งออกเป็น 3 สมัย 
1.สมัยอาณาจักรเก่า 
2,700-2,200 B.C. 
2.สมัยอาณาจักรกลาง 
2,050-1,800 B.C. 
3.สมัยอาณาจักรใหม่ หรือสมัยจักรวรรดิ 
1,580-1,090 B.C.
อารยธรรมอียิปต์ : ของขวัญจากแม่น้า ไนล์ 
1.สมัยอาณาจักรเก่า 2,700-2,200 B.C. 
ฟาโรห์มีอา นาจสูงสุด วิญญาณเป็นอมตะ (เมมฟิส) 
2.สมัยอาณาจักรกลาง 2,050-1,800 B.C. ชลประทาน ขุดคลอง 
ทา เกษตรกรรม และการเดินเรือค้าขาย ถูกรุกรานจากพวกฮิกซอส 
(ธีบส์) 
3.สมัยอาณาจักรใหม่ หรือสมัยจักรวรรดิ ขยายอาณาเขตทางซีเรีย แม่น้า 
ไทกริส ยูเฟรติส รุ่งเรืองด้านการค้าขาย และสูญเสียอา นาจแก่อัสซีเรีย 
เปอร์เซีย กรีก โรมัน ในเวลาต่อมา
สมัยอาณาจักรเก่า (The Old Kingdom) 
The Great Sphinx and the Pyramids of Giza. 
สูง 481 ฟุต ฐานแต่ละด้านยาว 750 ฟุต คลุมพื้นที่ 32 ไร่ครึ่ง สร้างเมื่อ 2,500 B.C. ประกอบด้วย 
หิน 2 ล้านก้อน แต่ละก้อนหนัก 1.5 - 2 ตัน ใช้เวลาสร้าง 20 ปี โดยแรงงานทาส หนึ่งแสนคน
หมู่พีระมิดที่เมืองGiza ประกอบด้วย พีระมิดของฟาโรห์Cheops , 
Khafre หรือ Chephren และ Menkure
ฟาโรห์คูฟู 
พีระมิดคูฟู
พีระมิดคูฟู
พีระมิดคูฟู
The Pyramids of Giza
ฟาโรห์จะต้องนา Book of the dead ไปแสดงต่อเทพโอซิริส 
เพื่อจะได้ตัดสินว่าผู้ใดควรรับรางวัลหรือผู้ใดควรถูกลงโทษ
Book of the Dead
คา สาปเป็นอักษรภาพใน Book of the Dead
คัมภีร์ของผู้ตาย หรือ Book of the Dead ซึ่งจารึกที่ผนังพีระมิด
เทพโอซิริส เทพเจ้าแห่งชีวิตและความตาย 
เทพโอซิริส เทพโอซิริสและมเหสีไอซิส
เทพฮอรัส เทพเจ้าแห่งท้องฟ้า 
เทพเหล่านี้จะมีรูปร่างครึ่งมนุษย์ ครึ่งสัตว์
เทพโทท (Thoth) เทพแห่งภาษา
เทพรา (Ra) เทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์
เทพเจ้าของอียิปต์บางองค์มีรูปร่างเป็นคนมีหัวเป็นสัตว์
“ชับติ” (Shabti) หรือรูปแกะสลักที่ทา จากหลากหลายวัสดุทั้ง ขี้ผึ้ง 
ไม้ ดินเหนียว หิน แก้ว ดินเผา และสัมฤทธ์ิโดยทา หน้าที่เหมือนคน 
รับใช้ลงไปฝังในสุสานแทนชีวิตของคนเป็น ๆ
การทา มัมมี่
การทา มัมมี่ แสดงถึงความเชื่อในเรื่องวญิญาณเป็นอมตะ
สมัยอาณาจักรกลาง (The Middle Kingdom) 
แผนที่สมัยอาณาจักรกลาง
การทา เกษตรกรรม
Ancient Egyptian Irrigation
การประกอบอาชีพของชาวอียิปต์
การติดต่อค้าขาย
ถูกรุกรานจากพวกฮิกซอส
สมัยอาณาจักรใหม่ (The New Kingdom)
ประติมากรรมหินสลักขนาดมหึมาของฟาโรห์Akhnaton พบที่ 
Karnak
Thutmose III Queen Hatshepsut
Ramesses II
แท่งหินโอเบลิสก์ (Obelisk) 
เป็นเสาหินแท่งเดียว สลักจารึกเรื่องราวต่างๆ
Obelisk of Queen Hatshepsut 
in the Temple of Karnak Luxor, 
Egypt
ข้าวของเครื่องใช้ที่มีค่าของฟาโรห์ 
เครื่องประดับ ข้าวของเครื่องใช้ของฟาโรห์ตุตันคามุน
หน้ากากทองคา เครื่องประดับ(สร้อยคอ) และบัลลังก์ไม้ปิดด้วยทองคา ของฟาโรห์ตุตันคามุน
Valley of the Kings
ชาวอียิปต์บูชาเทพ Aton
ชาวอียิปต์ได้สูญเสียอา นาจแก่พวกอัสซีเรีย เปอร์เซีย กรีก และ 
โรมันตามลา ดับ จนในที่สุดได้หันไปนับถือศาสนาอิสลาม ในปลาย 
คริสต์ศตวรรษที่ 7
แผนที่ทวีปแอฟริกาเหนือในปัจจุบัน
มรดกของอียิปต์ 
1.ศาสนาและการฟื้นคืนชีพของฟาโรห์ 
2.สถาปัตยกรรม 
3.การประดิษฐ์ตัวอักษร 
4.วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ เรขาคณิต และการแพทย์ 
5.การค้าขาย
1.ศาสนา 
เทพโอซิริสและไอซิส เทพโอซิริสและฮอรัส
Heritage of Egyptian Civilization 
Book of the Dead
2.สถาปัตยกรรม
ที่เก็บศพสมัยแรกเริ่ม เรียกว่า Mastaba รูปร่างคล้ายพีระมิดขนาด 
เล็ก ยอดตัดแบน เป็นที่เก็บศพของฟาโรห์ พระราชวงศ์ และขุนนาง
พีระมิดในสมัยต่อมาเป็นขั้นๆ เรียกว่า Step Pyramid ภาพนี้คือ 
พีระมิดที่เมือง Sakkara
สฟิงซ์รูปแกะสลักหินที่ใหญ่โต หน้าเป็นคน ตัวเป็นสิงโตหมอบ 
สร้างไว้บูชาแทนสุริยเทพ และปกปักรักษาปิรามิด
Obelisk that stands in Washington DC
วิหารเทพเจ้า Horus ที่เมือง Edfu จะเห็น Pylon ด้านหน้า ซึ่งทา 
หน้าที่เป็นกา แพงและประตู
Temple of Karnak
Temple of Abu Simbel
3.การประดิษฐ์ตัวอักษร 
อักษร Hieroglyph
Hieroglyphics, Hieratic, Phoenician (as used on the Moabite stone and 
Siloam inscription), with Hebrew
Papyrus Plant
The Rosetta Stone
Rosetta Stone 
พบในสมัยนโปเลียน 
ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 
พระเจ้านโปเลียนที่ 1
Champollion 
เป็นนักโบราณคดีชาวฝรั่งเศส 
ได้ศึกษาค้นคว้าจารึกโรเซตตา 
จนสามารถถอดความอักษร 
ฮีโรกริฟ ของอียิปต์ได้
4.วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ เรขาคณิต และการแพทย์ 
-สร้างปิรามิด 
-การชลประทาน 
-การนับเลข 
-การบวกลบและหาร 
-หาพื้นที่ปริมาตร 
-คิดค้นปฏิทินทางสุริยคติ 
-เชี่ยวชาญทางด้านการแพทย์ 
เก็บรักษาศพหรือมัมมี่ไม่ให้เน่าเปื่อย 
Ancient Egyptian Alchemy and Science
Egyptian Calendar
Geometry of Ancient Egypt
5.การค้าขาย 
ชาวอียิปต์ค้าขายทางเรือกับเมืองต่างๆแทบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลแดง 
และได้ขุดคลองเชื่อมแม่น้า ไนล์กับทะเลแดง
ปัจจุบันคลองสุเอช ระยะทาง 120 ไมล์ เชื่อมระหว่าง 
ทะเลแดงกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สร้างขึ้นในตอนกลางศตวรรษที่ 19
การค้าขายทางบกด้วยกองคาราวาน โดยใช้ลาและอูฐบรรทุกสินค้าไปยังดินแดนต่างๆ 
ในแอฟริกา คาบสมุทรอาระเบีย ซีเรีย และปาเลสไตน์ไปจนถึงอ่าวเปอร์เซีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย : ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ 
คา ว่า “เมโสโปเตเมีย” แปลว่า ดินแดนระหว่างแม่น้า ไทกริสและยูเฟรทีส
ดินแดนซูเมอร์ : กา เนิดของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย 
ชาวซุเมเรียน 
- กา เนิด “นครรัฐ” แห่งแรกของโลก 
- การประดิษฐ์ตัวอักษร 
- การค้าขาย 
- การสร้างเทคโนโลยี เช่น ล้อเกวียน ซุ้มโค้ง นับหน่วยเป็น 60 
ปฏิทินจันทรคติ เรขาคณิต สมการกา ลังสาม แบ่งวงกลม 
ออกเป็น 360 องศา 
- การทา สา ริด 
- การนับถือเทพเจ้าหลายองค์
ซูเมอร์ คือ แหล่งกา เนิด “นครรัฐ” แห่งแรกของโลก
กษัตริย์-นักบวช Gudea ศิลปะสุเมเรียน
การประดิษฐ์ตัวอักษรของชาวซูเมอร์ เรียกว่า 
อักษรรูปลิ่ม หรือ อักษรคูนิฟอร์ม (Cuneiform) เพื่อการค้าขาย
อักษรคูนิฟอร์มบันทึกลงบนแผ่นดินเหนียว
การค้าขาย 
Sumerian Seals
การสร้างซุ้มโค้ง (Arch)
การสร้างล้อเกวียน
การสร้างแป้นหมุนที่ใช้ในการทา เครื่องปั้นดินเผา
Sumerian sundial diagrams and examples
ปฏิทินจันทรคติ ใช้ดิถีของดวงจันทร์ 
เพื่อบอกข้างขึ้นข้างแรมบอกเดือน ปฏิทิน 
จันทรคติในหนึ่งเดือนจะนับตามการ 
โคจรรอบโลกของดวงจันทร์ ซึ่งประมาณ 
29 วันครึ่ง ซึ่งในหนึ่งปีจะแบ่งเป็น 12 
เดือนซึ่งมีทั้งหมด 354 วัน โดยวันจะน้อย 
กว่าปฏิทินสุริยคติ 10 วันเศษ
แบ่งวงกลมเป็น 360 องศา (60 x 60)
คา นวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม
การคิดสมการกา ลังสาม
weapons and tools the Sumerians used
ซิกกูแรต (Ziggurat) 
เป็นที่ประทับของเทพเจ้าประจา นครรัฐ
Ziggurat แห่งนครรัฐ Ur
Dur-Untash, or Choqa Zanbil, built in the 13th century BC by Untash 
Napirisha and located near Susa, Iran, is one of the world's best-preserved 
ziggurats.
เทพมาร์ดุก เทพเจ้าสูงสุดของชาวซุเมเรียน
เทพี Ishtar เทพีแห่งความรักและความอุดมสมบูรณ์
เทพเอนลิล เทพเจ้าแห่งลมและการกสิกรรม
มหากาพย์กิลกาเมซ 
วรรณกรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก
จักรวรรดิบาบิโลเนีย : ประมวลกฎหมายฮัมบูราบี 
- 2,350 B.C. ชาวแอคเคเดียนซึ่งมายึดดินแดนของชาวสุเมเรียน 
ได้รับความเจริญของชาวซุเมเรียนไปปรับใช้ แต่ในที่สุดชาวสุเม 
เรียนก็ได้ยึดดินแดนของตนคืนมาได้ 
- 1,800 B.C.ชาวอมอร์ไรต์ ยึดครองดินแดนของชาวซุเมเรียน ขยาย 
อาณาเขต และรวบรวมนครรัฐเป็นอันหนึ่งเดียวกัน แล้ว 
สถาปนาจักรวรรดิบาบิโลเนีย มีนครบาบิโลนเป็นเมืองหลวง ที่ 
มั่นคงทางการเมือง การปกครองและการค้าขาย
Babylon, Ancient Iraq 
Babylon was the capital city 
of Babylonia in Mesopotamia.
สร้างประมวลกฎหมายฮัมบูราบี (Hammurabi’s Code) ฉบับแรกของโลก 
จารึกด้วยอักษรคูนิฟอร์ม ได้ชื่อว่า กฎหมายแบบตาต่อตา ฟันต่อฟัน
เมโสโปเตเมียยุคสุดท้าย : จักรวรรดิอัสซีเรียและแคลเดีย 
- 1,700 B.C. จักรวรรดิบาบิโลเนีย พ่ายแพ้แก่ชาวคัสไซต์ 
- 1,300 B.C. ชาวคัสไซต์พ่ายแพ้ต่อชาวอัสซีเรีย มีเมืองหลวงอยู่ที่ 
นิวเนเวห์ จักรวรรดิอัสซีเรียเจริญสูงสุดในสมัยพระเจ้าอัสซูร์บานิปาล 
- 612 B.C. จักรวรรดิอัสซีเรียพ่ายแพ้ต่อชาวแคลเดีย ชาวแคลเดียสถาปนา 
นครบาบิโลนขึ้นเป็นเมืองหลวงอีกครั้ง เรียกว่า “บาบิโลเนียใหม่ (The 
New Babylonia)” เจริญรุ่งเรืองในสมัยพระเจ้าเนบูคัดเนสซาร์ 
- 539 B.C. จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ถูกรุกรานโดยจักรวรรดิเปอร์เซีย นา 
โดยพระเจ้าไซรัสมหาราช ทา ให้อารยธรรมเมโสโปเตเมียสิ้นสุดลง
จักรวรรดิอัสซีเรีย
ชาวอัสซีเรีย - การใช้อาวุธเหล็ก ทา สงคราม
พระเจ้าอัสซูร์บานิปาล แห่งจักรวรรดิอัสซีเรีย 
ซึ่งเป็นยุคที่ศิลปวิทยาการเจริญสูงสุด
ภาพสลักนูนต่า ซึ่งชาวอัสซีเรียเป็นผู้ริเริ่มภาพสลักนูนต่า
ภาพสลักนูนต่า ของชาวอัสซีเรีย
The Chaldean Account of Genesis
ชาวแคลเดียมีความสนใจด้านดาราศาสตร์
พระเจ้าเนบูคัดเนสซาร์ ชาวแคลเดีย 
ผู้สถาปนาอาณาจักร New Babylonia
Hanging Gardens of Babylon
Hanging Gardens of Babylon
The New Babylonia
อารยธรรมของกลุ่มชนในตะวันออกกลาง : 
ฟีนีเซีย ฮีบรู และเปอร์เซีย
Empires of the Middle East
ฟีนีเชีย : พ่อค้าและผู้สร้างพยัญชนะ 
- เป็นพ่อค้า ชา นาญในการผลิตสินค้า และเริ่มทา สัญญาค้าขาย 
- เป็นนักเดินเรือที่เชี่ยวชาญ 
- ตั้งสถานีการค้าหรืออาณานิคมตามชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน 
ที่มีชื่อว่า “อาณานิคมคาร์เทจ” 
- สร้างตัวอักษร Alphabet
The Commercial Network of the Phoenicians
Trading Ship of the Phoenician
The Phoenician City of Carthage
Phoenician Colonies and Trade
Ruins of Carthage
Phoenician Alphabet
Phoenician Alphabet
ฮีบรู : ผู้ให้กา เนิดศาสนาที่นับถือพระเจ้าองค์เดียว 
- ฮีบรูนับถือพระเจ้าแต่เพียงองค์เดียว เรียกว่า เอกเทวนิยม 
- เป็นที่มาของศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม 
- โมเสสปลดแอกชาวอิสราเอลจากการเป็นทาสของอียิปต์ 
พาชาวอิสราเอลอพยพไปตั้งถิ่นฐานในดินแดนแห่งพันธสัญญา 
และได้รับบัญญัติ 10 ประการจากพระยะโฮวาห์ 
- กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ของชาวฮีบรูคือกษัตริย์เดวิด และ 
พระเจ้าโซโลมอน
SOLOMON AND DAVID, SAINT MARK'S, VENICE
The Promised Land
God gave the ten commandments to Moses
บัญญัติ 10 ประการ
Temple of the Rock in Jerusalem, Israel
เปอร์เซีย : จักรวรรดิอันยิ่งใหญ่ในสมัยโบราณ 
- ชา นาญการรบและการเลี้ยงสัตว์ 
- พระเจ้าไซรัสมหาราชเป็นผู้นา 
- มีการสร้างถนนหรือทางหลวง 
- แบ่งจักรวรรดิ ออกเป็นมณฑล 26 มณฑล 
- นับถือเทพเจ้าหลายองค์ ลัทธิโซโรแอสเตอร์ 
- จักรวรรดิเปอร์เซียถูกพิชิตโดยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช 
(วัฒนธรรมหลายอย่างของเปอร์เซียจึงตกทอดและผสมผสานเข้ากับ 
อารยธรรมกรีกในเวลาต่อมา)
Cyrus the Great of Persian Empire 
ผู้นาในการสร้างจักรวรรดิเปอร์เซียให้เข้มแข็ง 
ผู้ปลดปล่อยชาวฮีบรูให้เป็นอิสระจากการตกเป็นเชลยในบาบิโลเนีย
Persian Empire under Cyrus, 550 – 540 B.C.
Darius the Great of Persia 
กษัตริย์ผู้มีความสามารถอย่างยิ่งในด้านการปกครอง
พระเจ้า Xerxes โอรสของ Darius แห่งจักรวรรดิเปอร์เซีย
Persian Empire under Darius, 521-486 B.C.E. 
จักรวรรดิเปอร์เซียมีอาณาเขตตั้งแต่อนาโตเลีย อียิปต์ เมโสโปเตเมีย อิหร่าน 
ไปจนถึงอินเดียตะวันตก นับเป็นจักรวรรดิแรกของโลก
Map of the Royal Road
ลัทธิโซโรแอสเตอร์ (Zoroaster) นับถือเทพเจ้าหลายองค์
Alexander the Great Conquered the Persian Empire, 300 B.C.
The Persian Army
Persian Empire Army

More Related Content

What's hot

อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันJungko
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกKwandjit Boonmak
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)Horania Vengran
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันNing Rommanee
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22pnmn2122
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกChanapa Youngmang
 
Roman Empire and Christianity in the Middle Ages (Thai language)
Roman Empire and Christianity in the Middle Ages (Thai language)Roman Empire and Christianity in the Middle Ages (Thai language)
Roman Empire and Christianity in the Middle Ages (Thai language)Som Moiz
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

What's hot (18)

อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
Roman Empire and Christianity in the Middle Ages (Thai language)
Roman Empire and Christianity in the Middle Ages (Thai language)Roman Empire and Christianity in the Middle Ages (Thai language)
Roman Empire and Christianity in the Middle Ages (Thai language)
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 

Similar to อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)

จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)Natee Tasanakulwat
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1teacherhistory
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียsangworn
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ปาย' ลี่
 
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111Calvinlok
 
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02-110908014941-phpapp01
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02-110908014941-phpapp0111111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02-110908014941-phpapp01
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02-110908014941-phpapp01Calvinlok
 
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp0211111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02Calvinlok
 
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp0211111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02Calvinlok
 
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111Calvinlok
 
11111 110830225437-phpapp02
11111 110830225437-phpapp0211111 110830225437-phpapp02
11111 110830225437-phpapp02Calvinlok
 
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตก
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตกสื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตก
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตกDraftfykung U'cslkam
 

Similar to อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557) (20)

จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
มังกรหยกแกะสลักยุค
มังกรหยกแกะสลักยุคมังกรหยกแกะสลักยุค
มังกรหยกแกะสลักยุค
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
Mesopotamia
MesopotamiaMesopotamia
Mesopotamia
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111
 
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02-110908014941-phpapp01
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02-110908014941-phpapp0111111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02-110908014941-phpapp01
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02-110908014941-phpapp01
 
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp0211111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02
 
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp0211111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02
11111 110830225437-phpapp02-110906232326-phpapp02
 
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์11111
 
11111 110830225437-phpapp02
11111 110830225437-phpapp0211111 110830225437-phpapp02
11111 110830225437-phpapp02
 
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตก
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตกสื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตก
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตก
 

More from Heritagecivil Kasetsart

ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557Heritagecivil Kasetsart
 

More from Heritagecivil Kasetsart (20)

ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
The heritages of world civilization
The heritages of world civilization The heritages of world civilization
The heritages of world civilization
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
 
01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.
 
01999031 western music classical.
01999031 western music classical.01999031 western music classical.
01999031 western music classical.
 
Man lg
Man lgMan lg
Man lg
 
Man lg handout s
Man lg handout sMan lg handout s
Man lg handout s
 
Man lg eng hndout
Man lg eng hndoutMan lg eng hndout
Man lg eng hndout
 
World history
World historyWorld history
World history
 
World major religion
World major religionWorld major religion
World major religion
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Philosophy history
Philosophy historyPhilosophy history
Philosophy history
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
 

อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)