SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 
1.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistoric Age ) 
1.1 ยุคหินเก่า (Old Stone) 2,000,000 - 8,000 B.C. 
- ภาษาพูด 
- เครื่องมือ 
1.2 ยุคหินใหม่ (New Stone Age) 8,000-4,000 B.C. 
- การเพาะปลูก 
- การทา เครื่องปั้นดินเผา 
- การค้าขาย
ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 
1.3 ยุคโลหะ (Copper Age) 4,000-2,500 B.C. 
- การใช้ทองแดงและสาริด 
- การสร้างระบบชลประทาน 
- เมืองเป็นศูนย์กลางขอฃการกสิกรรม 
- การเกิดชนชั้น 
1.4 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย 
- วัฒนธรรมบ้านเก่า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 
- วัฒนธรรมบ้านเชียง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี
ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 
2.สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก 
2.1 อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ 
2.1.1 อารยธรรมอียิปต์ : ของขวัญจากแม่น้า ไนล์ 
2.1.2 อารยธรรมเมโสโปเตเมีย : ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ 
2.1.3 อารยธรรมของกลุ่มชนในตะวันออกกลาง : ฟีนีเชีย ฮีบรู และเปอร์เซีย 
2.1.4 อารยธรรมกรีก : นักธรรมชาตินิยมและมนุษยนิยม 
2.1.5 อารยธรรมโรมัน : นักรบและนักปกครองผู้ยิ่งใหญ่
สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก (ต่อ) 
2.2 อารยธรรมตะวันออกยุคโบราณ 
2.2.1 อารยธรรมอินเดีย : อนุทวีปที่น่าทึ่ง 
2.2.2 อารยธรรมจีน : ดินแดนแห่งลัทธิประเพณี 
2.3 อารยธรรมยุคกลาง 
2.3.1 อารยธรรมยุโรปยุคกลาง : ยุคแห่งศรัทธา 
2.3.2 อารยธรรมอิสลาม : แหล่งความรู้และความเจริญในยุคกลาง
สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก (ต่อ) 
2.4 อารยธรรมยุคใหม่ 
2.4.1 การฟื้นฟูศิลปวิทยา 
2.4.2 การปฏิรูปศาสนา 
2.4.3 การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 
2.4.4 การปฏิวัติอุตสาหกรรม 
2.4.5 การปฏิวัติประชาธิปไตย 
2.4.6 สงครามโลกครั้งที่ 1 
2.5 อารยธรรมยุคปัจจุบัน (โลกร่วมสมัย) 
2.5.1 สงครามโลกครั้งที่ 2 
2.5.2 โลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
1.ยุคโบราณ (Early Civilizations) 
3,500 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ.476 
2.ยุคกลาง (Middle Ages) 
ค.ศ.800 - ศตวรรษที่ 15 
3.ยุคใหม่ (Modern Times) 
ศตวรรษที่ 15 - World war I (ค.ศ.1918) 
4.โลกร่วมสมัย (Contemporary World) 
World war II (1945) - ปัจจุบัน
ยุคโบราณ ยุคกลาง 
สมัย 
ประวัติศาสตร์ 
ยุคสมัยใหม่ โลกร่วมสมัย 
(ยุคปัจจุบัน)
ยุคโบราณ 
จีน 
กลุ่มชนใน 
ตะวันออกกลาง 
โรมัน 
อารยธรรม 
ตะวันออก 
อารยธรรม 
ตะวันตก 
กรีก 
อียิปต์ 
อินเดีย 
เมโสโปเตเมีย
อารยธรรม 
ยุคกลาง 
ยุโรปยุคกลาง อิสลาม
อารยธรรม 
ยุคใหม่ การปฏิวัติทาง 
วิทยาศาสตร์ 
การปฏิวัติ 
อุตสาหกรรม 
การปฏิรูป 
ศาสนา 
การฟื้นฟู 
ศิลปวิทยา 
สงครามโลกครั้ง 
ที่1 
การปฏิวัติ 
ประชาธิปไตย
โลกร่วมสมัย 
(ยุคปัจจุบัน) 
โลกหลังสงครามโลก 
ครั้งที่2 
สงครามโลกครั้งที่2 
เกิดภาวะสงคราม 
เย็น 
ทุกประเทศในยุโรป 
ร่วมมือกันสร้าง 
สันติภาพ
โลกร่วมสมัย 
ความเป็นมาของโลกปัจจุบัน 
ช่วงเวลาที่ควรกล่าวถึง คือ 
1.เวทีโลกระหว่างต้นศตวรรษที่ 19 มาจนถึงสิ้นสงครามโลกครั้งที่2 มี 
ศูนย์กลางอยู่ที่ทวีปยุโรป 
2.ในช่วงเวลาดังกล่าว มีประเทศในทวีปอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องบ้าง ที่สา คัญมี 
อยู่ 3 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น
3.ช่วงเวลาระหว่างศตวรรษที่ 19 และ 20 สถานการณ์โลก (ซึ่งมีศูนย์กลาง 
อยู่ที่ยุโรป) มีพัฒนาการเป็นแบบแผน (pattern) ที่คล้ายคลึงกันมาก ดังนี้ 
มหาอานาจ 
เก่าเริ่มเสื่อม 
อานาจ 
เกิดมหาอานาจ 
ใหม่ที่ท้าทาย 
เสถียรภาพของ 
มหาอานาจเก่า 
เกิดสงคราม 
ใหญ่ 
เกิดมหาอานาจ 
ใหม่และระบบ 
โลกใหม่ภายหลัง 
สงครามใหญ่ 
เหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในโลก คือ
ช่วงเวลาค.ศ. มหาอานาจเก่า 
(ประเทศเดียว 
หรือกลุ่ม 
ประเทศ) 
มหาอานาจใหม่ 
(ประเทศเดียว 
หรือกลุ่ม 
ประเทศ) 
สงครามใหญ่ 
(ตามรูปแบบ 
และนอก 
รูปแบบ) 
เกิดระบบโลกใหม่ 
ภายหลังสงคราม 
ใหญ่ 
1792-1815 ฝรั่งเศสยุค 
นโปเลียน 
อังกฤษ ปรัสเซีย 
ออสเตรีย รัสเซีย 
สงคราม 
นโปเลียน 
การประชุม 
คองเกรสแห่ง 
เวียนนาและระบบ 
Concert of Europe 
1871-1914 เยอรมนี 
ออสเตรีย 
อาณาจักร 
ออตโตมัน 
อังกฤษ ฝรั่งเศส 
รัสเซีย 
สหรัฐอเมริกา 
สงครามโลก 
ครั้งที่ 1 
(ค.ศ.1914- 
1918) 
การประชุม 
สันติภาพที่แวร์ 
ซายส์และการรักษา 
ความมั่นคงของ 
โลกภายใต้ระบบ 
สันนิบาตชาติ
ช่วงเวลาค.ศ. มหาอานาจเก่า 
(ประเทศเดียว 
หรือกลุ่ม 
ประเทศ) 
มหาอานาจใหม่ 
(ประเทศเดียว 
หรือกลุ่ม 
ประเทศ) 
สงครามใหญ่ 
(ตามรูปแบบ 
และนอก 
รูปแบบ) 
เกิดระบบโลกใหม่ 
ภายหลังสงคราม 
ใหญ่ 
1933-1945 เยอรมนี อิตาลี 
ญี่ปุ่น (มีอา นาจ 
และเสื่อมอา นาจ 
ในเวลา 
อันรวดเร็ว 
อังกฤษ ฝรั่งเศส 
สหภาพโซเวียต 
สหรัฐอเมริกา 
สงครามโลก 
ครั้งที่ 2 
(ค.ศ.1939- 
1945) 
- การประชุม 
สันติภาพที่ปอตสดัม 
-การเริ่มระบบ 
การเงินการคลังโลก 
ที่เบร็ตเติน วูดส์ 
-การรักษาความ 
มั่นคงของโลก 
ภายใต้ระบบ 
สหประชาชาติ 
1945-1991 เยอรมนี อิตาลี 
ญี่ปุ่น อังกฤษ 
ฝรั่งเศส 
สหรัฐอเมริกา 
สหภาพโซเวียต 
สงครามเย็น 
(ค.ศ.1945- 
1991) 
ระบบโลก 2 ขั้ว ซึ่ง 
มีอาวุธนิวเคลียร์ 
เป็นเครื่องมือ
ช่วงเวลาค.ศ. มหาอานาจเก่า 
(ประเทศเดียว 
หรือกลุ่ม 
ประเทศ) 
มหาอานาจใหม่ 
(ประเทศเดียว 
หรือกลุ่ม 
ประเทศ) 
สงครามใหญ่ 
(ตามรูปแบบ 
และนอก 
รูปแบบ) 
เกิดระบบโลกใหม่ 
ภายหลังสงคราม 
ใหญ่ 
1992-ปัจจุบัน สหภาพโซเวียต 
และประเทศบริ 
สาร 
สหรัฐอเมริกา จีน 
ญี่ปุ่น สหภาพ 
ยุโรป 
-สงคราม 
เศรษฐกิจ 
-การก่อการร้าย 
ระหว่างประเทศ 
-ระบบโลกขั้วเดียว 
ภายใต้การนาของ 
สหรัฐอเมริกา 
-ความอ่อนแอของ 
ระบบรักษาความ 
มั่นคงของโลกโดย 
สหประชาชาติ 
-ความล้มเหลวของ 
มหาอา นาจในการ 
ปราบปรามการก่อ 
การร้ายระหว่าง 
ประเทศ
4.จากตารางข้างต้น มีคา ถามหลายข้อเกิดขึ้นอย่างชัดเจน เช่น เหตุใด 
“มหาอา นาจเก่า” จึงเสื่อมอา นาจลง เหตุใดบางประเทศจึงกลายเป็น 
“มหาอา นาจใหม่” ขึ้นมาแทนที่ มีปัจจัยแวดล้อมอย่างใดที่กา หนดว่า 
“ระบบโลกใหม่” (New World Order –NWO) จะต้องเกิดขึ้นและมี 
ลักษณะเช่นนี้ต่อไป ซึ่ง กรณีเหตุการณ์จริงมีดังต่อไปนี้ 
1.สงครามโลกครั้งที่ 1 : สาเหตุและเหตุผล 
2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล 
3. สงครามเย็น : สาเหตุและเหตุผล
1.สงครามโลกครั้งที่ 1 : สาเหตุและเหตุผล 
1.1 จุดระเบิดของสงคราม เกิดจากความรู้สึกชาตินิยมอย่างรุนแรงของกลุ่ม 
รักชาติในประเทศเซอร์เบีย 
1.2 “ตัวแสดง” สา คัญในยุโรปขณะนั้น เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย 
ออสเตรีย และเยอรมนี ต่างต้องการทั้งรักษาและเพิ่มทรัพยากรอา นาจ 
ของตนในด้านต่างๆ 
1.3 มหาอา นาจเหล่านั้นเชื่อมั่นในสมรรถนะของกา ลังทหารของตนว่า หาก 
เกิดสงครามไม่ว่าตนจะเป็นฝ่ายรุกหรือฝ่ายรับ ตนจะต้องเป็นชนะ
1.สงครามโลกครั้งที่ 1 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 
1.4 ก่อนสงครามจะระเบิดขึ้น ประเทศสา คัญในยุโรปได้แบ่ง 
ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆตามแนวผลประโยชน์ที่มีร่วมกันของแต่ละ 
กลุ่ม คือ กลุ่ม Triple Alliance (เยอรมนี ออสเตรีย อิตาลี) ใน 
ค.ศ.1883 และกลุ่ม Triple Entente (อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย) ใน 
ค.ศ.1904
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 
1.อาณาจักรที่สา คัญ 4 อาณาจักรได้หมดอา นาจลงไป คือ เยอรมนี ออสเตรีย 
ออตโตมัน และรัสเซีย 
2.มีประเทศเกิดใหม่จา นวนหนึ่งซึ่งเป็นผลมาจากการแยกตัวออกมาจาก 
อาณาจักรเก่าที่ล่มสลายลงไปคือ โปแลนด์ ฮังการี เชโกสโลวะเกีย 
ยูโกสลาเวีย โรมาเนีย บัลแกเรีย แอลเบเนีย เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 
3.เนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้สร้างความสูญเสียมากมายอย่างที่โลกไม่ 
เคยพบเห็นมาก่อน จึงเกิดมีการถกแถลงถึงการที่ควรนาแนวความคิด 
อุดมคติ (Idealism) เข้ามาใช้ในการรักษาความมั่นคงของโลกแทน 
แนวความคิดสัจนิยม (Realism) 
ความสูญเสียของสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่2 
จา นวนคนตาย 10,947,000 58,508,000 
ค่าใช้จ่ายในการทา สงคราม ล้าน US$ 196.5 ล้าน US$ 2,091.3 
จา นวนประเทศที่เข้าร่วมสงคราม 24 67
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 
4.ในการประชุมสันติภาพที่แวร์ซายส์ (Versailles Peace Conference) 
เมื่อต้นปีค.ศ.1919 ประเทศผู้มีชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่ 1 สามารถ 
ตกลงก่อตั้งองค์การระหว่างประเทศระดับโลกขึ้นมาเพื่อรักษาความมั่นคง 
และจรรโลงสันติภาพของโลก คือ องค์การสันนิบาตชาติ (League of 
Nations)
World War-I map shows the major war fronts of 
World War-I which started in 1914.
World War I
World War I
World War I
World War I Gas Attack
World War I
British Soldiers' Encampment
American Artillery Firing at the German Army, 
September 26, 1918
WORLD WAR 1 at SEA 
TURKISH or OTTOMAN NAVY
2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล 
สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ระเบิดขึ้นจากวิกฤติการณ์เฉพาะหน้า คือ 
เยอรมนีได้บุกโจมตีโปแลนด์ในลักษณะสายฟ้าแลบ 
สงครามโลกครั้งที่2 เกิดจากสาเหตุต่างๆดังต่อไปนี้ 
1.โลกภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดภาพมายาที่โลกจะดา เนินไปในแนว 
อุดมคติ
2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 
2. มีสมาชิกหลายประเทศ โดยเฉพาะสมาชิกถาวรในคณะมนตรีของ 
สันนิบาตชาติหวังจะใช้อา นาจจากสถานะพิเศษกว่าประเทศอื่นของตน 
เช่น ญี่ปุ่นขยายอา นาจรุกคืบเข้าไปในแมนจูเรียของจีน ตั้งแต่ค.ศ.1931 
และในดินแดนส่วนอื่นๆของจีน ขณะเดียวกันญี่ปุ่นก็ได้ขยายอา นาจไป 
ครอบคลุมทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นประเทศเดียวในโลกที่ 
สามารถโจมตีเสี้ยวส่วนของดินแดนของสหรัฐอเมริกาได้สา เร็จ 
อังกฤษและฝรั่งเศสใช้ความเป็นมหาอา นาจในสันนิบาตชาติทา การแบ่ง 
ดินแดนในตะวันออกกลางระหว่างกัน และอิตาลีได้ขยายอา นาจไป 
ครอบครองดินแดนในแอฟริกาเหนือ ได้แก่ ประเทศเอธิโอเปีย และลิเบีย
2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 
3. สนธิสัญญาแวร์ซายส์กา หนดให้เยอรมนีต้องถูก “ลงโทษ” อย่างรุนแรง 
ทุกด้าน และมีการผลักดันให้เกิดวีรบุรุษอย่างอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf 
Hitler) 
4. จากเหตุผลส่วนตัวของฮิตเลอร์ที่เกลียดชังชนชาติยิว ทา ให้ฮิตเลอร์ได้ 
ประกาศยึดนโยบาย “ความเหนือกว่าด้านชาติพันธุ์”
2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 
5. ภาพลักษณ์ขององค์การสันนิบาตชาติมิใช่เป็นองค์การที่ตั้งขึ้นมาเพื่อ 
สร้างหรือรักษาสันติภาพและการพัฒนาโลกโดยส่วนรวม ยิ่งกว่านั้น 
องค์การนี้ยังสา แดงบทบาทของความเป็นองค์การของ “ผู้ชนะสงคราม” 
โดยแท้จริง เพราะประเทศผู้แพ้ทั้งหลายมิได้รับการอนุญาตให้เข้ามาเป็น 
สมาชิกก่อตั้งร่วมกับประเทศผู้ชนะเลย
2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 
6. สหรัฐอเมริกาหันหลังกลับไปสู่นโยบายอยู่โดดเดี่ยว (isolationism) ทา 
ให้สหรัฐอเมริกามิได้เข้ามาเป็นตัวแสดงหลักที่เอื้อประโยชน์ต่อการ 
สร้างสันติภาพและความมั่นคงให้แก่โลก ทา ให้อังกฤษผิดหวังที่หลัง 
สงครามโลกครั้งที่ 1 ไม่ได้มีสันติภาพภายใต้การนา ของอังกฤษและ 
อเมริกัน
2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 
7. ประเทศมหาอา นาจตะวันตก ทรุดโทรมจากสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 
ต้องแก้ไขปัญหาภายในประเทศ จึงไม่มีประเทศใดแข็งแกร่งพอที่จะ 
ต้านทานการขยายอา นาจของฮิตเลอร์ จึงยอมจา นน (Appeasement) ต่อ 
เยอรมนี เพื่อที่เยอรมนีจะไม่ก่อสงครามใหญ่ 
8. สงครามครั้งนี้ขยายออกไปกว้างกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1 เนื่องจาก 
เยอรมนีได้สร้างพันธมิตรกับอิตาลีและญี่ปุ่นในแกนอา นาจที่เรียกว่า 
“Axis Powers”
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 
1. เยอรมนีกับญี่ปุ่นเป็นประเทศมหาอา นาจที่มีความพร้อมด้านกา ลังอาวุธ 
มากที่สุดในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงคราม ทั้งสอง 
ประเทศนี้กลายเป็นประเทศที่พ่ายแพ้และประสบความหายนะมากที่สุด 
2. ระบบเผด็จการนาซี และความสา คัญของทฤษฎีชาติพันธุ์ที่สูงส่งของ 
เยอรมนี และระบบทหารนิยมในญี่ปุ่น ถูกทา ให้ยุติลงโดยเด็ดขาด
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 
3. เยอรมนีถูกแบ่งแยกเป็น 2 ประเทศ สหรัฐอเมริกาควบคุมเยอรมนี 
ตะวันตก และสหภาพโซเวียตควบคุมเยอรมนีตะวันออก ส่วนญี่ปุ่นอยู่ 
ภายใต้การควบคุมของสหรัฐอเมริกา 
4. สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตกลายเป็นอภิมหาอา นาจเพียง 2 
ประเทศที่เป็นเจ้าของอาวุธปรมาณู ตั้งแต่นั้นมา อาวุธปรมาณูเป็น 
เครื่องมือใหม่ของนโยบายต่างประเทศ
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 
5. สหภาพโซเวียตแยกยุโรปตะวันออก ออกจากยุโรปตะวันตก และใช้ 
แนวความคิดคอมมิวนิสต์เป็นเครื่องมือสร้างเอกภาพในหมู่ประเทศ 
ยุโรปตะวันออก โดยการก่อตั้งรัฐบาลกลางในทุกประเทศให้เป็นรัฐบาล 
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ซึ่งเป็นการทา ลาย “พันธมิตรสงคราม” ระหว่าง 
มหาอา นาจ ตะวันตกกับสหภาพโซเวียตโดยสิ้นเชิง 
6. ผลจากเหตุการณ์ในข้อ 5. โลกได้แบ่งออกเป็น 2 ขั้ว ระหว่างกลุ่มเสรี 
ประชาธิปไตยภายใต้การนาของสหรัฐอเมริกา กับกลุ่มคอมมิวนิสต์ 
ภายใต้การนา ของสหภาพโซเวียต เมื่อเกิดความขัดแย้งและไม่สามารถ 
ขจัดลงไปได้ จึงเกิดสภาพสงครามเย็น
World War II
World War II
ROYAL, DOMINION & ALLIED NAVIES in 
WORLD WAR 2
World War II
Europe on the Eve of World War II, 1939
3. สงครามเย็น : สาเหตุและเหตุผล 
ภาคีในกลุ่มมหาอา นาจสัมพันธมิตรโดยเฉพาะ 3 มหาอา นาจคือ 
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และสหภาพโซเวียต ได้มีการประชุมหารือกัน 
เพื่อจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศ เพื่อรักษาความมั่นคงและจรรโลง 
สันติภาพของโลก และได้มีการประชุมระหว่างประเทศหลายครั้ง 
โดยเฉพาะ 2 ครั้งสุดท้าย คือ การประชุมยัลต้า และการประชุม 
ซานฟรานซิสโก ระหว่างกลุ่มประเทศที่ชนะสงครามในเดือนมิถุนายนปี 
เดียวกัน การประชุมครั้งล่าสุดนี้ได้ให้กา เนิดองค์การสหประชาชาติ 
(United Nations)
3. สงครามเย็น : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 
ระบบโลกใหม่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นไปในลักษณะ 
แนวคิดแบบอุดมคติเชิง “สถาบันนิยม” (Institutionalism) 
เวทีหลังยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 หวนกลับไปสู่แนวคิดแบบ realism 
เช่นเดียวกับระยะเวลาก่อนหน้านั้น แต่สิ่งแวดล้อมในโลกมีความ 
แตกต่างจากช่วงเวลานั้น เช่น 
1.ตัวแสดงระดับ “อภิมหาอา นาจ” มีเพียง 2 ประเทศคือสหรัฐอเมริกาและ 
สหภาพโซเวียต 
2.อาวุธนิวเคลียร์เป็นเครื่องมือต่อรองชนิดใหม่ อนุสนธิจากสภาพโลก 
ดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดสงครามเย็น (Cold War)
3. สงครามเย็น : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 
ความหมายพื้นฐานของสงครามเย็นคือ การมีความขัดแย้งและ 
แตกแยกระหว่างกลุ่มประเทศที่สา คัญในโลก 2 กลุ่ม ซึ่งไม่สามารถใช้ 
สงครามเป็นเครื่องมือประหัตประหารกันได้ เนื่องจากต่างฝ่ายต่างมี 
อาวุธนิวเคลียร์เป็นเครื่องมือต่อรอง ดังนั้นโลกจึงตกอยู่ในสภาวะ 
อึมครึม (จะมีสงครามก็ไม่ใช่ จะมีสันติภาพก็ไม่เชิง) สงครามเย็นจึงเป็น 
สิ่งที่วาดภาพโลกให้เห็นได้ชัดว่า การมีองค์การสหประชาชาติเป็น 
ผลิตผลของแนวคิดแบบอุดมคติ แต่ในความเป็นจริงหลังสงครามโลก 
ครั้งที่2 ก็ยังคงสภาพเป็นโลกแบบสัจนิยม
ผลของสงครามเย็น 
1.โลกถูกแบ่งเป็น 2 ขั้วอย่างชัดเจน ขั้วเสรีประชาธิปไตยอยู่ภายใต้การนา 
ของสหรัฐอเมริกา และอีกขั้วหนึ่งอยู่ภายใต้การนา ของสหภาพโซเวียต 
2.การแบ่งสรรอา นาจระหว่างกลุ่มประเทศ 2 ขั้นนี้มีไม่เท่ากันในทาง 
กายภาพ คือขั้วของสหรัฐอเมริกามีจา นวนประเทศมากกว่า มีทรัพยากร 
ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี รวมทั้งมีจา นวนและความสามารถ 
ของประชากรมากกว่าขั้วของสหภาพโซเวียต แต่ในทางสัญลักษณ์ถือว่า 
มีความเสมอภาค เพราะสมรรถนะของอาวุธนิวเคลียร์ที่ทั้ง 2 ฝ่ายมีเท่า 
เทียมกัน
ผลของสงครามเย็น (ต่อ) 
3. ทั้งสองฝ่ายมีผลประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น ตลาด พื้นที่ และแหล่ง 
ทรัพยากรในโลกที่ต้องการจะครอบครอง ต่างฝ่ายจึงต้องแสวงหา 
เครื่องมือและยุทธศาสตร์ต่างๆที่จะนา ไปสู่ผลประโยชน์ที่ต้องการ 
อุดมการณ์จึงเป็นเพียงข้ออ้างและเครื่องมือที่ต่างฝ่ายนา มาใช้ในการ 
สร้างกลุ่มพันธมิตรของตน 
4. การแสวงหาเส้นทางไปสู่ผลประโยชน์นั้น จะต้องใช้สงครามเป็น 
เครื่องมือ สงครามที่เกิดขึ้น มหาอา นาจทั้งสองไม่สามารถเผชิญหน้ากัน 
โดยตรงได้เนื่องจากข้อจา กัดของต่างฝ่ายต่างมีอาวุธนิวเคลียร์ จึงเกิด 
สงครามตัวแทน (proxy war)
ผลของสงครามเย็น (ต่อ) 
5. สหรัฐอเมริกาใช้นโยบายสกัดกั้น ถูกเสนอแนะโดยจอร์ช เอฟ.เค็นแนน 
ซึ่งสหรัฐอเมริกาจะต้องใช้อา นาจและขีดความสามารถด้านต่างๆสกัดกั้น 
หรือล้อมกรอบมิให้กลุ่มประเทศขั้วคอมมิวนิสต์แผ่ขยายอา นาจออกมา 
จากฐานของตนได้ 
6. สหรัฐอเมริกาได้ดา เนินนโยบายต่างประเทศตามแนวคิด realism เต็มตัว 
ได้ทา การสกัดกั้นกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ด้วยการสร้างกลุ่มพันธมิตร 
ทางทหารและใช้อา นาจทางเศรษฐกิจ
ผลของสงครามเย็น (ต่อ) 
7.สา หรับกลุ่มประเทศขั้วคอมมิวนิสต์ซึ่งอยู่ภายใต้การนา ของสหภาพ 
โซเวียต ต้องเผชิญต่อปัญหาหลายประการ ซึ่งมี 2 ปัญหาเป็นปัญหาหลักคือ 
7.1 การเกิดกลุ่มพันธมิตรสังคมคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก 
7.2 กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์เหล่านี้ไม่มีโอกาสได้พัฒนาตนเองให้ 
เจริญก้าวหน้าไปในแนวทางอุดมการณ์มาร์กซิสต์อย่างแท้จริง
ผลของสงครามเย็น (ต่อ) 
ประเทศขั้วคอมมิวนิสต์จึงประสบความล้มเหลวทั้งใน 
ขบวนการสร้างประเทศให้เป็นสังคมนิยมคอมมิวนิสต์และล้มเหลวทั้ง 
การที่ไม่สามารถพัฒนาประเทศให้แข็งแกร่งพอที่จะแข่งขันกับขั้วของ 
สหรัฐอเมริกา 
อาวุธนิวเคลียร์ของสหภาพโซเวียต มิได้เป็นเครื่องมือสร้างอา นาจ 
ที่แท้จริงให้แก่ประเทศนี้ แต่กลับเป็นตัวถ่วงความเจริญทางเศรษฐกิจ
เหตุการณ์ที่เป็นนับว่าเป็นสัญลักษณ์ของการสิ้นสุดของ “สงคราม 
เย็น” คือ การทา ลายกา แพงเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1989 และการรวม 
ประเทศ เยอรมนีทั้งสองเข้าเป็นประเทศเดียวกัน ในปี ค.ศ. 1990 การที่ 
ทั้งสองฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดหย่อนท่าที และเงื่อนไขของฝ่าย 
รัสเซีย ยอมให้ ประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นจุดสา คัญของความขัดแย้งใน 
ยุโรป กลับมารวมกัน ได้ย่อมแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจและมีไมตรีต่อ 
กันที่กลับคืนมา
จากเหตุการณ์ต่างๆ ในที่สุดแล้วสหภาพโซเวียตและกลุ่มรัฐสังคม 
ในยุโรป ก็ถึงแก่การล่มสลายเมื่อปลายทศวรรษ 1980 ต่อกับต้นทศวรรษ 
1990 ล่มสลายด้วยปัญหาจากภายในกลุ่มที่ไม่สามารถสร้างกลุ่มให้ 
แข็งแรงจนแข่งขันกับกลุ่มประชาธิปไตยได้
ศตวรรษที่ 20 กับโลกยุคโลกาภิวัตน์และยุคหลังสมัยใหม่ 
1.ในแง่ประวัติศาสตร์โลก 
ศตวรรรษที่ 20 เป็นศตวรรษที่ตะวันตกเริ่มเสื่อมถอยอา นาจลง 
2.ในแง่อา นาจการเมืองและสังคม 
ศตวรรษที่ 20 ถือได้ว่าเป็นศตวรรษของประชาชน
3.ในแง่วัฒนธรรม 
ศตวรรษที่ 20 ก็มีปรากฏการณ์ที่อาจเรียกว่าเป็นการปฏิวัติ 
วัฒนธรรมขึ้นสองด้าน คือ 
3.1 การเกิดวัฒนธรรมประชานิยม (Popular Culture) 
ซึ่งแยกเป็นสามส่วน คือ 
ส่วนที่หนึ่ง คือ การมีอุตสาหกรรมเชิงศิลปะ 
ส่วนที่สอง คือ การเฟื่องฟูขึ้นของเทคโนโลยีการสื่อสาร 
ส่วนที่สาม คือ การล้มเลิกการแบ่งแยกเป็นวัฒนธรรม 
ชั้นสูงและวัฒนธรรมชั้นล่าง 
3.2 มีการปฏิวัติของคนหนุ่มสาว
4.ศตวรรษที่ 20 เป็นศตวรรษที่มีการปฏิวัติความคิดที่สา คัญ 
ทั้งในวงการวิทยาศาสตร์ ศิลปะ และปรัชญา ที่บางครั้ง 
เรียกว่าการปฏิวัติปรัชญา Post Modern, Post Colonial หรือ 
Post-Western ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และศิลปิน มี 
ความคิดเห็นในแนวทางเดียวกันอย่างสังเกตได้ชัดเจน คือ 
(1) แนวคิดเชิงสัมพัทธภาพ (Relativism) 
(2) ความรู้มนุษย์ไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ หรือ 
ปรัชญากับโลกแห่งความจริงข้างนอกแยกออกจากกัน 
ค่อนข้างเด็ดขาด
5.พหุนิยม : พหุสังคมและพหุวัฒนธรรม 
6.เศรษฐกิจในศตวรรษที่ 20 ก็มีการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ 
2 ประการคือ 
(1) ระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรมเปลี่ยนเป็นแบบหลัง 
อุตสาหกรรม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ก็คือ เป็นระบบ 
เศรษฐกิจที่ภาคบริการข้อมูลข่าวสาร มีความสาคัญ 
มากกว่าภาคการผลิตสินค้าที่เป็นวัตถุจริง 
(2) มีการปฏิวัติระบบการเงิน คือ การเกิดทุน การเงินโลก 
(Global Finance Capital)
7.กระบวนการยึดตรึงและถอดถอยของมนุษย์ 
ในศตวรรษที่ 20-21 เป็นศตวรรษที่จะนาพามนุษย์ให้พ้นและ 
ละเลิกกรอบจา กัดต่างๆในทุกๆด้าน (Human Disembedding) 
สังคมหลังอุตสาหกรรม หรือหลังสมัยใหม่ โดยทิศทางใหญ่ 
จะเป็นการย้อนกระบวนการผูกมัด ยึดตรึงมนุษย์ เป็นการถดถอย ซึ่งมี 
สองส่วนคือ ถอดจากกรอบต่างๆและถอยให้พ้นจากสิ่งที่ยึดตรึงไว้ ไม่ 
ว่าจะเป็นท้องถิ่น ประเทศ ชาติ องค์กร สถาบันต่างๆดังตัวอย่างต่อไปนี้
1.เพราะรัฐของประเทศหนึ่งถูกลดอา นาจบทบาทลงโดยการ 
ปฏิวัติการเงินของโลก 
2.สังคมสมัยใหม่ตั้งแต่เกิดอุตสาหกรรมนิยมขึ้นก็มี 
กระบวนการถอดมนุษย์ออกจากพื้นถิ่น ทั้งในทางสังคม 
ในทางวัฒนธรรม รวมทั้งถอดจากสถานะเดิม เป็นต้น 
3.การผลิตแบบหลังอุตสาหกรรมและการปฏิวัติการเงินโลก 
ก็จะยังทา ให้เกิดความผันผวนในภูมิลา เนา อาชีพการงาน 
อัตลักษณ์มากยิ่งขึ้น 
4.กระแสศิลปะและปรัชญาก็ถอดถอยจากโลกความจริง

More Related Content

What's hot

อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1teerachon
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555Kroo Mngschool
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมKiratika Tongdee
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1teerachon
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)Thanuphong Ngoapm
 

What's hot (20)

การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
Lesson4cellres bio3 2562
Lesson4cellres bio3 2562Lesson4cellres bio3 2562
Lesson4cellres bio3 2562
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
 

Viewers also liked

ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 
ยุโรป
ยุโรปยุโรป
ยุโรปchanok
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก Heritagecivil Kasetsart
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่Mind Mmindds
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่BNice' Nutchayatip
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลพัน พัน
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 

Viewers also liked (14)

ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
ยุโรป
ยุโรปยุโรป
ยุโรป
 
The heritages of world civilization
The heritages of world civilization The heritages of world civilization
The heritages of world civilization
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
 
Man lg
Man lgMan lg
Man lg
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่
 
01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากล
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 

Similar to ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)

ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปrawi05022544
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลSompak3111
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลSompak3111
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองNatthachai Nimnual
 
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์Nattanicha Kanjai
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 

Similar to ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557) (10)

ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
 
บทที่ 1.pdf
บทที่ 1.pdfบทที่ 1.pdf
บทที่ 1.pdf
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากล
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากล
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
 
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 

More from Heritagecivil Kasetsart

มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557Heritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
The heritages of world civilization Inter
The heritages of world civilization InterThe heritages of world civilization Inter
The heritages of world civilization InterHeritagecivil Kasetsart
 

More from Heritagecivil Kasetsart (20)

01999031 western music classical.
01999031 western music classical.01999031 western music classical.
01999031 western music classical.
 
Man lg handout s
Man lg handout sMan lg handout s
Man lg handout s
 
Man lg eng hndout
Man lg eng hndoutMan lg eng hndout
Man lg eng hndout
 
World history
World historyWorld history
World history
 
World major religion
World major religionWorld major religion
World major religion
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Philosophy history
Philosophy historyPhilosophy history
Philosophy history
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
 
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
The heritages of world civilization Inter
The heritages of world civilization InterThe heritages of world civilization Inter
The heritages of world civilization Inter
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่
 

ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)

  • 1.
  • 2.
  • 3. ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 1.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistoric Age ) 1.1 ยุคหินเก่า (Old Stone) 2,000,000 - 8,000 B.C. - ภาษาพูด - เครื่องมือ 1.2 ยุคหินใหม่ (New Stone Age) 8,000-4,000 B.C. - การเพาะปลูก - การทา เครื่องปั้นดินเผา - การค้าขาย
  • 4. ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 1.3 ยุคโลหะ (Copper Age) 4,000-2,500 B.C. - การใช้ทองแดงและสาริด - การสร้างระบบชลประทาน - เมืองเป็นศูนย์กลางขอฃการกสิกรรม - การเกิดชนชั้น 1.4 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย - วัฒนธรรมบ้านเก่า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี - วัฒนธรรมบ้านเชียง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี
  • 5. ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 2.สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก 2.1 อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ 2.1.1 อารยธรรมอียิปต์ : ของขวัญจากแม่น้า ไนล์ 2.1.2 อารยธรรมเมโสโปเตเมีย : ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ 2.1.3 อารยธรรมของกลุ่มชนในตะวันออกกลาง : ฟีนีเชีย ฮีบรู และเปอร์เซีย 2.1.4 อารยธรรมกรีก : นักธรรมชาตินิยมและมนุษยนิยม 2.1.5 อารยธรรมโรมัน : นักรบและนักปกครองผู้ยิ่งใหญ่
  • 6. สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก (ต่อ) 2.2 อารยธรรมตะวันออกยุคโบราณ 2.2.1 อารยธรรมอินเดีย : อนุทวีปที่น่าทึ่ง 2.2.2 อารยธรรมจีน : ดินแดนแห่งลัทธิประเพณี 2.3 อารยธรรมยุคกลาง 2.3.1 อารยธรรมยุโรปยุคกลาง : ยุคแห่งศรัทธา 2.3.2 อารยธรรมอิสลาม : แหล่งความรู้และความเจริญในยุคกลาง
  • 7. สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก (ต่อ) 2.4 อารยธรรมยุคใหม่ 2.4.1 การฟื้นฟูศิลปวิทยา 2.4.2 การปฏิรูปศาสนา 2.4.3 การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 2.4.4 การปฏิวัติอุตสาหกรรม 2.4.5 การปฏิวัติประชาธิปไตย 2.4.6 สงครามโลกครั้งที่ 1 2.5 อารยธรรมยุคปัจจุบัน (โลกร่วมสมัย) 2.5.1 สงครามโลกครั้งที่ 2 2.5.2 โลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
  • 8. 1.ยุคโบราณ (Early Civilizations) 3,500 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ.476 2.ยุคกลาง (Middle Ages) ค.ศ.800 - ศตวรรษที่ 15 3.ยุคใหม่ (Modern Times) ศตวรรษที่ 15 - World war I (ค.ศ.1918) 4.โลกร่วมสมัย (Contemporary World) World war II (1945) - ปัจจุบัน
  • 9. ยุคโบราณ ยุคกลาง สมัย ประวัติศาสตร์ ยุคสมัยใหม่ โลกร่วมสมัย (ยุคปัจจุบัน)
  • 10. ยุคโบราณ จีน กลุ่มชนใน ตะวันออกกลาง โรมัน อารยธรรม ตะวันออก อารยธรรม ตะวันตก กรีก อียิปต์ อินเดีย เมโสโปเตเมีย
  • 12. อารยธรรม ยุคใหม่ การปฏิวัติทาง วิทยาศาสตร์ การปฏิวัติ อุตสาหกรรม การปฏิรูป ศาสนา การฟื้นฟู ศิลปวิทยา สงครามโลกครั้ง ที่1 การปฏิวัติ ประชาธิปไตย
  • 13. โลกร่วมสมัย (ยุคปัจจุบัน) โลกหลังสงครามโลก ครั้งที่2 สงครามโลกครั้งที่2 เกิดภาวะสงคราม เย็น ทุกประเทศในยุโรป ร่วมมือกันสร้าง สันติภาพ
  • 14. โลกร่วมสมัย ความเป็นมาของโลกปัจจุบัน ช่วงเวลาที่ควรกล่าวถึง คือ 1.เวทีโลกระหว่างต้นศตวรรษที่ 19 มาจนถึงสิ้นสงครามโลกครั้งที่2 มี ศูนย์กลางอยู่ที่ทวีปยุโรป 2.ในช่วงเวลาดังกล่าว มีประเทศในทวีปอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องบ้าง ที่สา คัญมี อยู่ 3 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น
  • 15. 3.ช่วงเวลาระหว่างศตวรรษที่ 19 และ 20 สถานการณ์โลก (ซึ่งมีศูนย์กลาง อยู่ที่ยุโรป) มีพัฒนาการเป็นแบบแผน (pattern) ที่คล้ายคลึงกันมาก ดังนี้ มหาอานาจ เก่าเริ่มเสื่อม อานาจ เกิดมหาอานาจ ใหม่ที่ท้าทาย เสถียรภาพของ มหาอานาจเก่า เกิดสงคราม ใหญ่ เกิดมหาอานาจ ใหม่และระบบ โลกใหม่ภายหลัง สงครามใหญ่ เหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในโลก คือ
  • 16. ช่วงเวลาค.ศ. มหาอานาจเก่า (ประเทศเดียว หรือกลุ่ม ประเทศ) มหาอานาจใหม่ (ประเทศเดียว หรือกลุ่ม ประเทศ) สงครามใหญ่ (ตามรูปแบบ และนอก รูปแบบ) เกิดระบบโลกใหม่ ภายหลังสงคราม ใหญ่ 1792-1815 ฝรั่งเศสยุค นโปเลียน อังกฤษ ปรัสเซีย ออสเตรีย รัสเซีย สงคราม นโปเลียน การประชุม คองเกรสแห่ง เวียนนาและระบบ Concert of Europe 1871-1914 เยอรมนี ออสเตรีย อาณาจักร ออตโตมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย สหรัฐอเมริกา สงครามโลก ครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914- 1918) การประชุม สันติภาพที่แวร์ ซายส์และการรักษา ความมั่นคงของ โลกภายใต้ระบบ สันนิบาตชาติ
  • 17. ช่วงเวลาค.ศ. มหาอานาจเก่า (ประเทศเดียว หรือกลุ่ม ประเทศ) มหาอานาจใหม่ (ประเทศเดียว หรือกลุ่ม ประเทศ) สงครามใหญ่ (ตามรูปแบบ และนอก รูปแบบ) เกิดระบบโลกใหม่ ภายหลังสงคราม ใหญ่ 1933-1945 เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น (มีอา นาจ และเสื่อมอา นาจ ในเวลา อันรวดเร็ว อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา สงครามโลก ครั้งที่ 2 (ค.ศ.1939- 1945) - การประชุม สันติภาพที่ปอตสดัม -การเริ่มระบบ การเงินการคลังโลก ที่เบร็ตเติน วูดส์ -การรักษาความ มั่นคงของโลก ภายใต้ระบบ สหประชาชาติ 1945-1991 เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต สงครามเย็น (ค.ศ.1945- 1991) ระบบโลก 2 ขั้ว ซึ่ง มีอาวุธนิวเคลียร์ เป็นเครื่องมือ
  • 18. ช่วงเวลาค.ศ. มหาอานาจเก่า (ประเทศเดียว หรือกลุ่ม ประเทศ) มหาอานาจใหม่ (ประเทศเดียว หรือกลุ่ม ประเทศ) สงครามใหญ่ (ตามรูปแบบ และนอก รูปแบบ) เกิดระบบโลกใหม่ ภายหลังสงคราม ใหญ่ 1992-ปัจจุบัน สหภาพโซเวียต และประเทศบริ สาร สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น สหภาพ ยุโรป -สงคราม เศรษฐกิจ -การก่อการร้าย ระหว่างประเทศ -ระบบโลกขั้วเดียว ภายใต้การนาของ สหรัฐอเมริกา -ความอ่อนแอของ ระบบรักษาความ มั่นคงของโลกโดย สหประชาชาติ -ความล้มเหลวของ มหาอา นาจในการ ปราบปรามการก่อ การร้ายระหว่าง ประเทศ
  • 19. 4.จากตารางข้างต้น มีคา ถามหลายข้อเกิดขึ้นอย่างชัดเจน เช่น เหตุใด “มหาอา นาจเก่า” จึงเสื่อมอา นาจลง เหตุใดบางประเทศจึงกลายเป็น “มหาอา นาจใหม่” ขึ้นมาแทนที่ มีปัจจัยแวดล้อมอย่างใดที่กา หนดว่า “ระบบโลกใหม่” (New World Order –NWO) จะต้องเกิดขึ้นและมี ลักษณะเช่นนี้ต่อไป ซึ่ง กรณีเหตุการณ์จริงมีดังต่อไปนี้ 1.สงครามโลกครั้งที่ 1 : สาเหตุและเหตุผล 2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล 3. สงครามเย็น : สาเหตุและเหตุผล
  • 20. 1.สงครามโลกครั้งที่ 1 : สาเหตุและเหตุผล 1.1 จุดระเบิดของสงคราม เกิดจากความรู้สึกชาตินิยมอย่างรุนแรงของกลุ่ม รักชาติในประเทศเซอร์เบีย 1.2 “ตัวแสดง” สา คัญในยุโรปขณะนั้น เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย ออสเตรีย และเยอรมนี ต่างต้องการทั้งรักษาและเพิ่มทรัพยากรอา นาจ ของตนในด้านต่างๆ 1.3 มหาอา นาจเหล่านั้นเชื่อมั่นในสมรรถนะของกา ลังทหารของตนว่า หาก เกิดสงครามไม่ว่าตนจะเป็นฝ่ายรุกหรือฝ่ายรับ ตนจะต้องเป็นชนะ
  • 21. 1.สงครามโลกครั้งที่ 1 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 1.4 ก่อนสงครามจะระเบิดขึ้น ประเทศสา คัญในยุโรปได้แบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆตามแนวผลประโยชน์ที่มีร่วมกันของแต่ละ กลุ่ม คือ กลุ่ม Triple Alliance (เยอรมนี ออสเตรีย อิตาลี) ใน ค.ศ.1883 และกลุ่ม Triple Entente (อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย) ใน ค.ศ.1904
  • 22. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 1.อาณาจักรที่สา คัญ 4 อาณาจักรได้หมดอา นาจลงไป คือ เยอรมนี ออสเตรีย ออตโตมัน และรัสเซีย 2.มีประเทศเกิดใหม่จา นวนหนึ่งซึ่งเป็นผลมาจากการแยกตัวออกมาจาก อาณาจักรเก่าที่ล่มสลายลงไปคือ โปแลนด์ ฮังการี เชโกสโลวะเกีย ยูโกสลาเวีย โรมาเนีย บัลแกเรีย แอลเบเนีย เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย
  • 23. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 3.เนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้สร้างความสูญเสียมากมายอย่างที่โลกไม่ เคยพบเห็นมาก่อน จึงเกิดมีการถกแถลงถึงการที่ควรนาแนวความคิด อุดมคติ (Idealism) เข้ามาใช้ในการรักษาความมั่นคงของโลกแทน แนวความคิดสัจนิยม (Realism) ความสูญเสียของสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่2 จา นวนคนตาย 10,947,000 58,508,000 ค่าใช้จ่ายในการทา สงคราม ล้าน US$ 196.5 ล้าน US$ 2,091.3 จา นวนประเทศที่เข้าร่วมสงคราม 24 67
  • 24. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 4.ในการประชุมสันติภาพที่แวร์ซายส์ (Versailles Peace Conference) เมื่อต้นปีค.ศ.1919 ประเทศผู้มีชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่ 1 สามารถ ตกลงก่อตั้งองค์การระหว่างประเทศระดับโลกขึ้นมาเพื่อรักษาความมั่นคง และจรรโลงสันติภาพของโลก คือ องค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations)
  • 25. World War-I map shows the major war fronts of World War-I which started in 1914.
  • 26.
  • 30. World War I Gas Attack
  • 33. American Artillery Firing at the German Army, September 26, 1918
  • 34. WORLD WAR 1 at SEA TURKISH or OTTOMAN NAVY
  • 35. 2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ระเบิดขึ้นจากวิกฤติการณ์เฉพาะหน้า คือ เยอรมนีได้บุกโจมตีโปแลนด์ในลักษณะสายฟ้าแลบ สงครามโลกครั้งที่2 เกิดจากสาเหตุต่างๆดังต่อไปนี้ 1.โลกภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดภาพมายาที่โลกจะดา เนินไปในแนว อุดมคติ
  • 36. 2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 2. มีสมาชิกหลายประเทศ โดยเฉพาะสมาชิกถาวรในคณะมนตรีของ สันนิบาตชาติหวังจะใช้อา นาจจากสถานะพิเศษกว่าประเทศอื่นของตน เช่น ญี่ปุ่นขยายอา นาจรุกคืบเข้าไปในแมนจูเรียของจีน ตั้งแต่ค.ศ.1931 และในดินแดนส่วนอื่นๆของจีน ขณะเดียวกันญี่ปุ่นก็ได้ขยายอา นาจไป ครอบคลุมทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นประเทศเดียวในโลกที่ สามารถโจมตีเสี้ยวส่วนของดินแดนของสหรัฐอเมริกาได้สา เร็จ อังกฤษและฝรั่งเศสใช้ความเป็นมหาอา นาจในสันนิบาตชาติทา การแบ่ง ดินแดนในตะวันออกกลางระหว่างกัน และอิตาลีได้ขยายอา นาจไป ครอบครองดินแดนในแอฟริกาเหนือ ได้แก่ ประเทศเอธิโอเปีย และลิเบีย
  • 37. 2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 3. สนธิสัญญาแวร์ซายส์กา หนดให้เยอรมนีต้องถูก “ลงโทษ” อย่างรุนแรง ทุกด้าน และมีการผลักดันให้เกิดวีรบุรุษอย่างอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) 4. จากเหตุผลส่วนตัวของฮิตเลอร์ที่เกลียดชังชนชาติยิว ทา ให้ฮิตเลอร์ได้ ประกาศยึดนโยบาย “ความเหนือกว่าด้านชาติพันธุ์”
  • 38. 2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 5. ภาพลักษณ์ขององค์การสันนิบาตชาติมิใช่เป็นองค์การที่ตั้งขึ้นมาเพื่อ สร้างหรือรักษาสันติภาพและการพัฒนาโลกโดยส่วนรวม ยิ่งกว่านั้น องค์การนี้ยังสา แดงบทบาทของความเป็นองค์การของ “ผู้ชนะสงคราม” โดยแท้จริง เพราะประเทศผู้แพ้ทั้งหลายมิได้รับการอนุญาตให้เข้ามาเป็น สมาชิกก่อตั้งร่วมกับประเทศผู้ชนะเลย
  • 39. 2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 6. สหรัฐอเมริกาหันหลังกลับไปสู่นโยบายอยู่โดดเดี่ยว (isolationism) ทา ให้สหรัฐอเมริกามิได้เข้ามาเป็นตัวแสดงหลักที่เอื้อประโยชน์ต่อการ สร้างสันติภาพและความมั่นคงให้แก่โลก ทา ให้อังกฤษผิดหวังที่หลัง สงครามโลกครั้งที่ 1 ไม่ได้มีสันติภาพภายใต้การนา ของอังกฤษและ อเมริกัน
  • 40. 2. สงครามโลกครั้งที่ 2 : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) 7. ประเทศมหาอา นาจตะวันตก ทรุดโทรมจากสงครามโลกครั้งที่ 1 และ ต้องแก้ไขปัญหาภายในประเทศ จึงไม่มีประเทศใดแข็งแกร่งพอที่จะ ต้านทานการขยายอา นาจของฮิตเลอร์ จึงยอมจา นน (Appeasement) ต่อ เยอรมนี เพื่อที่เยอรมนีจะไม่ก่อสงครามใหญ่ 8. สงครามครั้งนี้ขยายออกไปกว้างกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1 เนื่องจาก เยอรมนีได้สร้างพันธมิตรกับอิตาลีและญี่ปุ่นในแกนอา นาจที่เรียกว่า “Axis Powers”
  • 41. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 1. เยอรมนีกับญี่ปุ่นเป็นประเทศมหาอา นาจที่มีความพร้อมด้านกา ลังอาวุธ มากที่สุดในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงคราม ทั้งสอง ประเทศนี้กลายเป็นประเทศที่พ่ายแพ้และประสบความหายนะมากที่สุด 2. ระบบเผด็จการนาซี และความสา คัญของทฤษฎีชาติพันธุ์ที่สูงส่งของ เยอรมนี และระบบทหารนิยมในญี่ปุ่น ถูกทา ให้ยุติลงโดยเด็ดขาด
  • 42. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 3. เยอรมนีถูกแบ่งแยกเป็น 2 ประเทศ สหรัฐอเมริกาควบคุมเยอรมนี ตะวันตก และสหภาพโซเวียตควบคุมเยอรมนีตะวันออก ส่วนญี่ปุ่นอยู่ ภายใต้การควบคุมของสหรัฐอเมริกา 4. สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตกลายเป็นอภิมหาอา นาจเพียง 2 ประเทศที่เป็นเจ้าของอาวุธปรมาณู ตั้งแต่นั้นมา อาวุธปรมาณูเป็น เครื่องมือใหม่ของนโยบายต่างประเทศ
  • 43. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 5. สหภาพโซเวียตแยกยุโรปตะวันออก ออกจากยุโรปตะวันตก และใช้ แนวความคิดคอมมิวนิสต์เป็นเครื่องมือสร้างเอกภาพในหมู่ประเทศ ยุโรปตะวันออก โดยการก่อตั้งรัฐบาลกลางในทุกประเทศให้เป็นรัฐบาล สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ซึ่งเป็นการทา ลาย “พันธมิตรสงคราม” ระหว่าง มหาอา นาจ ตะวันตกกับสหภาพโซเวียตโดยสิ้นเชิง 6. ผลจากเหตุการณ์ในข้อ 5. โลกได้แบ่งออกเป็น 2 ขั้ว ระหว่างกลุ่มเสรี ประชาธิปไตยภายใต้การนาของสหรัฐอเมริกา กับกลุ่มคอมมิวนิสต์ ภายใต้การนา ของสหภาพโซเวียต เมื่อเกิดความขัดแย้งและไม่สามารถ ขจัดลงไปได้ จึงเกิดสภาพสงครามเย็น
  • 46. ROYAL, DOMINION & ALLIED NAVIES in WORLD WAR 2
  • 48.
  • 49. Europe on the Eve of World War II, 1939
  • 50.
  • 51.
  • 52. 3. สงครามเย็น : สาเหตุและเหตุผล ภาคีในกลุ่มมหาอา นาจสัมพันธมิตรโดยเฉพาะ 3 มหาอา นาจคือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และสหภาพโซเวียต ได้มีการประชุมหารือกัน เพื่อจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศ เพื่อรักษาความมั่นคงและจรรโลง สันติภาพของโลก และได้มีการประชุมระหว่างประเทศหลายครั้ง โดยเฉพาะ 2 ครั้งสุดท้าย คือ การประชุมยัลต้า และการประชุม ซานฟรานซิสโก ระหว่างกลุ่มประเทศที่ชนะสงครามในเดือนมิถุนายนปี เดียวกัน การประชุมครั้งล่าสุดนี้ได้ให้กา เนิดองค์การสหประชาชาติ (United Nations)
  • 53. 3. สงครามเย็น : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) ระบบโลกใหม่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นไปในลักษณะ แนวคิดแบบอุดมคติเชิง “สถาบันนิยม” (Institutionalism) เวทีหลังยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 หวนกลับไปสู่แนวคิดแบบ realism เช่นเดียวกับระยะเวลาก่อนหน้านั้น แต่สิ่งแวดล้อมในโลกมีความ แตกต่างจากช่วงเวลานั้น เช่น 1.ตัวแสดงระดับ “อภิมหาอา นาจ” มีเพียง 2 ประเทศคือสหรัฐอเมริกาและ สหภาพโซเวียต 2.อาวุธนิวเคลียร์เป็นเครื่องมือต่อรองชนิดใหม่ อนุสนธิจากสภาพโลก ดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดสงครามเย็น (Cold War)
  • 54. 3. สงครามเย็น : สาเหตุและเหตุผล (ต่อ) ความหมายพื้นฐานของสงครามเย็นคือ การมีความขัดแย้งและ แตกแยกระหว่างกลุ่มประเทศที่สา คัญในโลก 2 กลุ่ม ซึ่งไม่สามารถใช้ สงครามเป็นเครื่องมือประหัตประหารกันได้ เนื่องจากต่างฝ่ายต่างมี อาวุธนิวเคลียร์เป็นเครื่องมือต่อรอง ดังนั้นโลกจึงตกอยู่ในสภาวะ อึมครึม (จะมีสงครามก็ไม่ใช่ จะมีสันติภาพก็ไม่เชิง) สงครามเย็นจึงเป็น สิ่งที่วาดภาพโลกให้เห็นได้ชัดว่า การมีองค์การสหประชาชาติเป็น ผลิตผลของแนวคิดแบบอุดมคติ แต่ในความเป็นจริงหลังสงครามโลก ครั้งที่2 ก็ยังคงสภาพเป็นโลกแบบสัจนิยม
  • 55. ผลของสงครามเย็น 1.โลกถูกแบ่งเป็น 2 ขั้วอย่างชัดเจน ขั้วเสรีประชาธิปไตยอยู่ภายใต้การนา ของสหรัฐอเมริกา และอีกขั้วหนึ่งอยู่ภายใต้การนา ของสหภาพโซเวียต 2.การแบ่งสรรอา นาจระหว่างกลุ่มประเทศ 2 ขั้นนี้มีไม่เท่ากันในทาง กายภาพ คือขั้วของสหรัฐอเมริกามีจา นวนประเทศมากกว่า มีทรัพยากร ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี รวมทั้งมีจา นวนและความสามารถ ของประชากรมากกว่าขั้วของสหภาพโซเวียต แต่ในทางสัญลักษณ์ถือว่า มีความเสมอภาค เพราะสมรรถนะของอาวุธนิวเคลียร์ที่ทั้ง 2 ฝ่ายมีเท่า เทียมกัน
  • 56. ผลของสงครามเย็น (ต่อ) 3. ทั้งสองฝ่ายมีผลประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น ตลาด พื้นที่ และแหล่ง ทรัพยากรในโลกที่ต้องการจะครอบครอง ต่างฝ่ายจึงต้องแสวงหา เครื่องมือและยุทธศาสตร์ต่างๆที่จะนา ไปสู่ผลประโยชน์ที่ต้องการ อุดมการณ์จึงเป็นเพียงข้ออ้างและเครื่องมือที่ต่างฝ่ายนา มาใช้ในการ สร้างกลุ่มพันธมิตรของตน 4. การแสวงหาเส้นทางไปสู่ผลประโยชน์นั้น จะต้องใช้สงครามเป็น เครื่องมือ สงครามที่เกิดขึ้น มหาอา นาจทั้งสองไม่สามารถเผชิญหน้ากัน โดยตรงได้เนื่องจากข้อจา กัดของต่างฝ่ายต่างมีอาวุธนิวเคลียร์ จึงเกิด สงครามตัวแทน (proxy war)
  • 57. ผลของสงครามเย็น (ต่อ) 5. สหรัฐอเมริกาใช้นโยบายสกัดกั้น ถูกเสนอแนะโดยจอร์ช เอฟ.เค็นแนน ซึ่งสหรัฐอเมริกาจะต้องใช้อา นาจและขีดความสามารถด้านต่างๆสกัดกั้น หรือล้อมกรอบมิให้กลุ่มประเทศขั้วคอมมิวนิสต์แผ่ขยายอา นาจออกมา จากฐานของตนได้ 6. สหรัฐอเมริกาได้ดา เนินนโยบายต่างประเทศตามแนวคิด realism เต็มตัว ได้ทา การสกัดกั้นกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ด้วยการสร้างกลุ่มพันธมิตร ทางทหารและใช้อา นาจทางเศรษฐกิจ
  • 58. ผลของสงครามเย็น (ต่อ) 7.สา หรับกลุ่มประเทศขั้วคอมมิวนิสต์ซึ่งอยู่ภายใต้การนา ของสหภาพ โซเวียต ต้องเผชิญต่อปัญหาหลายประการ ซึ่งมี 2 ปัญหาเป็นปัญหาหลักคือ 7.1 การเกิดกลุ่มพันธมิตรสังคมคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก 7.2 กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์เหล่านี้ไม่มีโอกาสได้พัฒนาตนเองให้ เจริญก้าวหน้าไปในแนวทางอุดมการณ์มาร์กซิสต์อย่างแท้จริง
  • 59. ผลของสงครามเย็น (ต่อ) ประเทศขั้วคอมมิวนิสต์จึงประสบความล้มเหลวทั้งใน ขบวนการสร้างประเทศให้เป็นสังคมนิยมคอมมิวนิสต์และล้มเหลวทั้ง การที่ไม่สามารถพัฒนาประเทศให้แข็งแกร่งพอที่จะแข่งขันกับขั้วของ สหรัฐอเมริกา อาวุธนิวเคลียร์ของสหภาพโซเวียต มิได้เป็นเครื่องมือสร้างอา นาจ ที่แท้จริงให้แก่ประเทศนี้ แต่กลับเป็นตัวถ่วงความเจริญทางเศรษฐกิจ
  • 60. เหตุการณ์ที่เป็นนับว่าเป็นสัญลักษณ์ของการสิ้นสุดของ “สงคราม เย็น” คือ การทา ลายกา แพงเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1989 และการรวม ประเทศ เยอรมนีทั้งสองเข้าเป็นประเทศเดียวกัน ในปี ค.ศ. 1990 การที่ ทั้งสองฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดหย่อนท่าที และเงื่อนไขของฝ่าย รัสเซีย ยอมให้ ประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นจุดสา คัญของความขัดแย้งใน ยุโรป กลับมารวมกัน ได้ย่อมแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจและมีไมตรีต่อ กันที่กลับคืนมา
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64. จากเหตุการณ์ต่างๆ ในที่สุดแล้วสหภาพโซเวียตและกลุ่มรัฐสังคม ในยุโรป ก็ถึงแก่การล่มสลายเมื่อปลายทศวรรษ 1980 ต่อกับต้นทศวรรษ 1990 ล่มสลายด้วยปัญหาจากภายในกลุ่มที่ไม่สามารถสร้างกลุ่มให้ แข็งแรงจนแข่งขันกับกลุ่มประชาธิปไตยได้
  • 65. ศตวรรษที่ 20 กับโลกยุคโลกาภิวัตน์และยุคหลังสมัยใหม่ 1.ในแง่ประวัติศาสตร์โลก ศตวรรรษที่ 20 เป็นศตวรรษที่ตะวันตกเริ่มเสื่อมถอยอา นาจลง 2.ในแง่อา นาจการเมืองและสังคม ศตวรรษที่ 20 ถือได้ว่าเป็นศตวรรษของประชาชน
  • 66. 3.ในแง่วัฒนธรรม ศตวรรษที่ 20 ก็มีปรากฏการณ์ที่อาจเรียกว่าเป็นการปฏิวัติ วัฒนธรรมขึ้นสองด้าน คือ 3.1 การเกิดวัฒนธรรมประชานิยม (Popular Culture) ซึ่งแยกเป็นสามส่วน คือ ส่วนที่หนึ่ง คือ การมีอุตสาหกรรมเชิงศิลปะ ส่วนที่สอง คือ การเฟื่องฟูขึ้นของเทคโนโลยีการสื่อสาร ส่วนที่สาม คือ การล้มเลิกการแบ่งแยกเป็นวัฒนธรรม ชั้นสูงและวัฒนธรรมชั้นล่าง 3.2 มีการปฏิวัติของคนหนุ่มสาว
  • 67. 4.ศตวรรษที่ 20 เป็นศตวรรษที่มีการปฏิวัติความคิดที่สา คัญ ทั้งในวงการวิทยาศาสตร์ ศิลปะ และปรัชญา ที่บางครั้ง เรียกว่าการปฏิวัติปรัชญา Post Modern, Post Colonial หรือ Post-Western ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และศิลปิน มี ความคิดเห็นในแนวทางเดียวกันอย่างสังเกตได้ชัดเจน คือ (1) แนวคิดเชิงสัมพัทธภาพ (Relativism) (2) ความรู้มนุษย์ไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ หรือ ปรัชญากับโลกแห่งความจริงข้างนอกแยกออกจากกัน ค่อนข้างเด็ดขาด
  • 68. 5.พหุนิยม : พหุสังคมและพหุวัฒนธรรม 6.เศรษฐกิจในศตวรรษที่ 20 ก็มีการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ 2 ประการคือ (1) ระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรมเปลี่ยนเป็นแบบหลัง อุตสาหกรรม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ก็คือ เป็นระบบ เศรษฐกิจที่ภาคบริการข้อมูลข่าวสาร มีความสาคัญ มากกว่าภาคการผลิตสินค้าที่เป็นวัตถุจริง (2) มีการปฏิวัติระบบการเงิน คือ การเกิดทุน การเงินโลก (Global Finance Capital)
  • 69. 7.กระบวนการยึดตรึงและถอดถอยของมนุษย์ ในศตวรรษที่ 20-21 เป็นศตวรรษที่จะนาพามนุษย์ให้พ้นและ ละเลิกกรอบจา กัดต่างๆในทุกๆด้าน (Human Disembedding) สังคมหลังอุตสาหกรรม หรือหลังสมัยใหม่ โดยทิศทางใหญ่ จะเป็นการย้อนกระบวนการผูกมัด ยึดตรึงมนุษย์ เป็นการถดถอย ซึ่งมี สองส่วนคือ ถอดจากกรอบต่างๆและถอยให้พ้นจากสิ่งที่ยึดตรึงไว้ ไม่ ว่าจะเป็นท้องถิ่น ประเทศ ชาติ องค์กร สถาบันต่างๆดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 70. 1.เพราะรัฐของประเทศหนึ่งถูกลดอา นาจบทบาทลงโดยการ ปฏิวัติการเงินของโลก 2.สังคมสมัยใหม่ตั้งแต่เกิดอุตสาหกรรมนิยมขึ้นก็มี กระบวนการถอดมนุษย์ออกจากพื้นถิ่น ทั้งในทางสังคม ในทางวัฒนธรรม รวมทั้งถอดจากสถานะเดิม เป็นต้น 3.การผลิตแบบหลังอุตสาหกรรมและการปฏิวัติการเงินโลก ก็จะยังทา ให้เกิดความผันผวนในภูมิลา เนา อาชีพการงาน อัตลักษณ์มากยิ่งขึ้น 4.กระแสศิลปะและปรัชญาก็ถอดถอยจากโลกความจริง