SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ระบบฐาน 16 มีจานวนตัวเลข (สัญลักษณ์) ที่ใช้เพียง 16 ตัวเท่านั้น ได้แก่ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7,
8, 9, A, B, C, D, E, F, เพื่อใช้ในการเขียนจานวนต่างๆ ในระบบ ระบบนี้ยังมีค่าประจาตาแหน่ง
เช่นเดียวกับระบบอื่นๆ ดังตาราง 3.4
ตาราง ค่าประจาตาแหน่งเลขฐานสิบหก
       การเขียนและอ่านจานวนในระบบฐาน 16
     การเขียนจานวนในระบบเลขฐาน 16 สามาเขียนได้ดังนี้

                        an K a2 a1 . b1 b2 K bm
                                                      16
เมื่อ             a1 a2 K a n       แทน ตัวเลขในระบบฐาน 16 (หน้าจุดทศนิยม)
                    b1 b2 K bm      แทน ตัวเลขในระบบฐาน 16 (หลังจุดทศนิยม)

            1AE2F
เช่น                   16          อ่านว่า หนึ่ง เอ อี สอง เอฟ ฐานสิบหก
             3B.479
                       16           อ่านว่า สาม บี จุด สี่ เจ็ด เก้า ฐานสิบหก




        การบวกและการลบเลขฐานสิบหก
        การบวกเลขฐานสิบหกมีหลักการเช่นเดียวกับเลขฐานสอง และเลขฐานแปด คือ ถ้าบวก
กันแล้วให้ผลลัพธ์เกิน 15 ให้ใช้ 16 ลบตัวเลขดังกล่าว จะได้เป็นผลลัพธ์แล้วทดไปหลักที่มากกว่า
เท่ากับ 1 แต่ถ้าบวกกันแล้วไม่เกิน 15 ก็คือได้คาตอบ
ส่วนการลบก็เช่นกัน ถ้าตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบให้ยืมหลักที่มีค่ามากกว่ามา 1 ซึ่งเท่ากับ 16 แล้ว
จึงทาการลบได้
ตัวอย่าง จงบวกเลขฐานสิบหกต่อไปนี้
                    (1) ( 3CF )16 + ( 2A9 )                        (2) ( AF9 )16 + ( E5F )16
                    (3) ( C9D0 ) 16+ ( 257F )16                   (4) ( 3B71 )16 + ( 235A) 16
วิธีทา
                 (1) 3CF                                               (2) AE9
                            +                                                    +
                      2A9                                                  E5F
                      678                                                 1948

                 (3) C9D0                                           (4) 3B71
                         +                                                 +
                     257A                                               255F
                     EF4F                                              5ECB

ตัวอย่าง จงลบเลขฐานสิบหกต่อไปนี้
                   (1) (678)16 – (2A9)16                            (2) (92A)16 – (352)16
                   (3) (459)16 – (30C) 16                           (4) (A35)16 – (47B)16
วิธีทา
              (1) 678                                             (2) 92A
                        -                                                      -
                   2A9                                                  352
                  3CF                                                    5D8
(2) 459                                      (4) A35
                     -                                                -
                  30C                                          47B
                  14D                                          5BA




    การคูณและการหารฐานสิบหกมีหลักการเช่นเดียวกับการคูณและการหารเลขฐานแปด
แตกต่างกันเพียงระบบเลขฐานเท่านั้นเอง

ตัวอย่าง จงหาผลลัพธ์ของการคูณเลขฐานสิบหก (4B2)16 x (2E)16
วิธีทา             4B2
                      X
                    2E
                41BC
                      +
                  964
               D7FC

: (4B2)16X (2E)16 = (D7FC)16
ตัวอย่าง จงหาผลลัพธ์ของการหารเลขฐานสิบหก (D7FC) 16  (2E)16
  วิธีทา                  4B2

                                   -
                              B8
                           1FF
                             -
                         1FA
                          5C
                             -
                          5C
                          00

  : (D7FC) 16  (2E)16 = (4B2)16




   หมายเหตุ การบวก ลบ คูณ หรือหารเลขฐานแปด และฐานสิบหก หากใช้ไม่ชานาญ
อาจใช้วิธีการแปลงเลขตังกล่าวให้อยู่ในรูปเลขฐานสองก่อนแล้วจึงกระทาการบวก การลบ การคูณ
หรือการหารในรูปเลขฐานสองแล้วจึงแปลงกลับมาเป็นเลขฐานที่ต้องการได้ซึ่งวิธีการนี้จะง่ายกว่า
เนื่องจากการคานวร ในรูปเลขฐานสองนั้นทาได้ง่ายกว่าการคานวณด้วยฐานแปดหรือฐานสิบหก
ซึ่งวิธีการแปลงระหว่างเลขบานสองกับฐานแปดและฐานสิบหก จะกล่าวในหัวข้อถัดไป

More Related Content

What's hot

แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
กชนุช คำเวียง
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
teerachon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
Kittichai Pinlert
 
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Nattapon
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
waranyuati
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
krumolticha
 
เฉลย Onet 51 ภาษาไทย
เฉลย Onet 51 ภาษาไทยเฉลย Onet 51 ภาษาไทย
เฉลย Onet 51 ภาษาไทย
meanerimz97
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
Manchai
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
Visiene Lssbh
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
 
เฉลย Onet 51 ภาษาไทย
เฉลย Onet 51 ภาษาไทยเฉลย Onet 51 ภาษาไทย
เฉลย Onet 51 ภาษาไทย
 
ป.6.doc
ป.6.docป.6.doc
ป.6.doc
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 

More from jibjoy_butsaya

การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
jibjoy_butsaya
 
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
jibjoy_butsaya
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
jibjoy_butsaya
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
jibjoy_butsaya
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
jibjoy_butsaya
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
jibjoy_butsaya
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
jibjoy_butsaya
 

More from jibjoy_butsaya (11)

การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
 

การบวกลบ เลขฐาน16

  • 1. ระบบฐาน 16 มีจานวนตัวเลข (สัญลักษณ์) ที่ใช้เพียง 16 ตัวเท่านั้น ได้แก่ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C, D, E, F, เพื่อใช้ในการเขียนจานวนต่างๆ ในระบบ ระบบนี้ยังมีค่าประจาตาแหน่ง เช่นเดียวกับระบบอื่นๆ ดังตาราง 3.4 ตาราง ค่าประจาตาแหน่งเลขฐานสิบหก การเขียนและอ่านจานวนในระบบฐาน 16 การเขียนจานวนในระบบเลขฐาน 16 สามาเขียนได้ดังนี้ an K a2 a1 . b1 b2 K bm 16 เมื่อ a1 a2 K a n แทน ตัวเลขในระบบฐาน 16 (หน้าจุดทศนิยม) b1 b2 K bm แทน ตัวเลขในระบบฐาน 16 (หลังจุดทศนิยม) 1AE2F เช่น 16 อ่านว่า หนึ่ง เอ อี สอง เอฟ ฐานสิบหก 3B.479 16 อ่านว่า สาม บี จุด สี่ เจ็ด เก้า ฐานสิบหก การบวกและการลบเลขฐานสิบหก การบวกเลขฐานสิบหกมีหลักการเช่นเดียวกับเลขฐานสอง และเลขฐานแปด คือ ถ้าบวก กันแล้วให้ผลลัพธ์เกิน 15 ให้ใช้ 16 ลบตัวเลขดังกล่าว จะได้เป็นผลลัพธ์แล้วทดไปหลักที่มากกว่า เท่ากับ 1 แต่ถ้าบวกกันแล้วไม่เกิน 15 ก็คือได้คาตอบ
  • 2. ส่วนการลบก็เช่นกัน ถ้าตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบให้ยืมหลักที่มีค่ามากกว่ามา 1 ซึ่งเท่ากับ 16 แล้ว จึงทาการลบได้ ตัวอย่าง จงบวกเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ (1) ( 3CF )16 + ( 2A9 ) (2) ( AF9 )16 + ( E5F )16 (3) ( C9D0 ) 16+ ( 257F )16 (4) ( 3B71 )16 + ( 235A) 16 วิธีทา (1) 3CF (2) AE9 + + 2A9 E5F 678 1948 (3) C9D0 (4) 3B71 + + 257A 255F EF4F 5ECB ตัวอย่าง จงลบเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ (1) (678)16 – (2A9)16 (2) (92A)16 – (352)16 (3) (459)16 – (30C) 16 (4) (A35)16 – (47B)16 วิธีทา (1) 678 (2) 92A - - 2A9 352 3CF 5D8
  • 3. (2) 459 (4) A35 - - 30C 47B 14D 5BA การคูณและการหารฐานสิบหกมีหลักการเช่นเดียวกับการคูณและการหารเลขฐานแปด แตกต่างกันเพียงระบบเลขฐานเท่านั้นเอง ตัวอย่าง จงหาผลลัพธ์ของการคูณเลขฐานสิบหก (4B2)16 x (2E)16 วิธีทา 4B2 X 2E 41BC + 964 D7FC : (4B2)16X (2E)16 = (D7FC)16
  • 4. ตัวอย่าง จงหาผลลัพธ์ของการหารเลขฐานสิบหก (D7FC) 16  (2E)16 วิธีทา 4B2 - B8 1FF - 1FA 5C - 5C 00 : (D7FC) 16  (2E)16 = (4B2)16 หมายเหตุ การบวก ลบ คูณ หรือหารเลขฐานแปด และฐานสิบหก หากใช้ไม่ชานาญ อาจใช้วิธีการแปลงเลขตังกล่าวให้อยู่ในรูปเลขฐานสองก่อนแล้วจึงกระทาการบวก การลบ การคูณ หรือการหารในรูปเลขฐานสองแล้วจึงแปลงกลับมาเป็นเลขฐานที่ต้องการได้ซึ่งวิธีการนี้จะง่ายกว่า เนื่องจากการคานวร ในรูปเลขฐานสองนั้นทาได้ง่ายกว่าการคานวณด้วยฐานแปดหรือฐานสิบหก ซึ่งวิธีการแปลงระหว่างเลขบานสองกับฐานแปดและฐานสิบหก จะกล่าวในหัวข้อถัดไป