SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
การแปลงเลขระหว่างฐานแปดและฐานสิบหก มีวิธีทาได้หลายวิธี แต่วิธีที่ง่ายที่สุดคือ แปลงเลขที่
ต้องการเปลี่ยนฐานให้เป็นเลขฐานสองก่อนแล้วจึงแปลงต่อให้เป็นฐานที่ต้องการ
       เลขฐานแปด (Octal number system)
        ประกอบด้วยเลข 8 ตัวคือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ตัวเลขทั้ง 8 ตัวนี้จะมีค่าเกินเลข 7 ไม่ได้
แต่สามารถนามาเรียงประกอบกันหลายๆหลักเพื่อแทนจานวนตัวเลขที่มีค่ามากกว่า 7 ได้ เช่น
(4536)8 ระบบนี้เป็นอีกระบบหนึ่งที่ใช้งานในคอมพิวเตอร์สมัยก่อน เช่นในระบบคอมพิวเตอร์ของ
บริษัท IBM
       เลขฐานสิบหก (Hexadecimal number system)

        ประกอบไปด้วยเลข 16 ตัวคือ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,A,B,C,D,E,F ตัวเลขทั้ง 16 ตัวนี้เป็น
เลขของฐานสิบหก และต้องมีค่าไม่เกินเลข F ด้วย เหตุที่ตัวเลขมากกว่า 9 ต้องเขียนเป็นอักษร
A,B,C,D,E,F เนื่องจาก หากใช้เลข10จะทาให้เกิดเป็นเลข 2 หลัก ซึ่งจะทาให้เกิดความสับสน
เนื่องจากในเลขแต่ละหลักของฐานสิบหก สามารุมีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 15 หากเขียนแทนค่าจานวน
10ด้วยเลขสองหลักแล้วจะไม่สามารุบอกได้ว่าเป็นเลข หลักเดียวที่มีค่า 10 หรือเป็นเลข 2 ดังนั้น
จึงแทนค่าตั้งแต่ 10 ถึง 15 ด้วยตัวอักษรดังนี้

               A   แทนตัวเลขที่มีค่า   10
               B   แทนตัวเลขที่มีค่า   11
               C   แทนตัวเลขที่มีค่า   12
               D   แทนตัวเลขที่มีค่า   13
               E   แทนตัวเลขที่มีค่า   14
               F   แทนตัวเลขที่มีค่า   15

ในปัจจุบันการแทนค่าข้อมูลต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์มักจะใช้เลขฐานสิบหก
ตารางเปรียบเทียบระหว่างเลขฐาน 10 กับ เลขฐาน 2, 8, 16

เลขฐานสิบ           เลขฐานสอง          เลขฐานแปด       เลขฐานสิบหก
        0                   0                  0               0
        1                   1                  1               1
        2                   10                 2               2
        3                   11                 3               3
        4                  100                 4               4
        5                  101                 5               5
        6                  110                 6               6
        7                  111                 7               7
        8                 1000                10               8
        9                 1001                11               9
       10                 1010                12               A
       11                 1011                13               B
       12                 1100                14               C
       13                 1101                15               D
       14                 1110                16               E
       15                 1111                17               F
       16                10000                20              10
       17                10001                21              11




 ระบบเลขฐานสิ บหก                 ระบบเลขฐานสอง                 ระบบเลขฐานแปด



   ก) ขั้นตอนการแปลงจากระบบเลขฐานสิบหกเป็นระบบเลขฐานแปด
ระบบเลขฐานแปด                     ระบบเลขฐานสอง                       ระบบเลขฐานสิ บหก



   ข) ขั้นตอนการแปลงจากระบบเลขฐานแปดเป็นระบบเลขฐานสิบหก


                 ขั้นตอนการแปลงระหว่างระบบเลขฐานแปด และฐานสิบหก

ตัวอย่าง จงแปลง (3A6E)16 ให้เป็นเลขฐานแปด
วิธีทา (3A6E)16                        = 0011 1010 0110 1110 (แปลงให้เป็น
เลขฐานสองก่อน)
                                       = ( 0011101001101110)
                                       = 011 101 001 101 110 (แบ่งเป็นกลุ่มละ 3 บิต)
                                       = 3 5 1 5 6 (แปลงเป็นเลขฐานแปด)
   ตอบ (3A6E)16                        = (35156)8


ตัวอย่าง จงแปลง (4721.327)8 ให้เป็นเลขฐานสิบหก
วิธีทา (4721.327)8                 = 100 111 010 001 .011 010 111
                                       = (100111010001.011010111)2
                                       = 1001 1101 0001 . 0110 10011 1000
                                       = 9D1.6 B8
                (4721.327)8         = (9D1.6B8)16
ตัวอย่าง จงแปลงเลขฐานสอง 1011011 ให้เป็นเลขฐานแปดและฐานสิบหก

              แปลงเป็นเลขฐานแปด       แปลงเป็นเลขฐานสิบหก

          001 011 011                  0101 1011

          1       3   3                  5      B

               10110112          =   1138 =        5B16

More Related Content

What's hot

ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
aoynattaya
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
Jiraporn Chaimongkol
 
คณิตศาสตร์ ป.5 มุม
คณิตศาสตร์ ป.5 มุมคณิตศาสตร์ ป.5 มุม
คณิตศาสตร์ ป.5 มุม
Ta Lala
 
ใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิตใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิต
Little Eye
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
ssusera0c3361
 
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
คุณครูพี่อั๋น
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
kruminsana
 

What's hot (20)

ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
 
คณิตศาสตร์ ป.5 มุม
คณิตศาสตร์ ป.5 มุมคณิตศาสตร์ ป.5 มุม
คณิตศาสตร์ ป.5 มุม
 
กาพเห่เรือ1
กาพเห่เรือ1กาพเห่เรือ1
กาพเห่เรือ1
 
ใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิตใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิต
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
 
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐานแบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
 
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
 

More from jibjoy_butsaya

การบวกลบ เลขฐาน16
การบวกลบ เลขฐาน16การบวกลบ เลขฐาน16
การบวกลบ เลขฐาน16
jibjoy_butsaya
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
jibjoy_butsaya
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
jibjoy_butsaya
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
jibjoy_butsaya
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
jibjoy_butsaya
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
jibjoy_butsaya
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
jibjoy_butsaya
 

More from jibjoy_butsaya (11)

การบวกลบ เลขฐาน16
การบวกลบ เลขฐาน16การบวกลบ เลขฐาน16
การบวกลบ เลขฐาน16
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
 

การแปลงเลขฐาน8กับ 16

  • 1. การแปลงเลขระหว่างฐานแปดและฐานสิบหก มีวิธีทาได้หลายวิธี แต่วิธีที่ง่ายที่สุดคือ แปลงเลขที่ ต้องการเปลี่ยนฐานให้เป็นเลขฐานสองก่อนแล้วจึงแปลงต่อให้เป็นฐานที่ต้องการ เลขฐานแปด (Octal number system) ประกอบด้วยเลข 8 ตัวคือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ตัวเลขทั้ง 8 ตัวนี้จะมีค่าเกินเลข 7 ไม่ได้ แต่สามารถนามาเรียงประกอบกันหลายๆหลักเพื่อแทนจานวนตัวเลขที่มีค่ามากกว่า 7 ได้ เช่น (4536)8 ระบบนี้เป็นอีกระบบหนึ่งที่ใช้งานในคอมพิวเตอร์สมัยก่อน เช่นในระบบคอมพิวเตอร์ของ บริษัท IBM เลขฐานสิบหก (Hexadecimal number system) ประกอบไปด้วยเลข 16 ตัวคือ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,A,B,C,D,E,F ตัวเลขทั้ง 16 ตัวนี้เป็น เลขของฐานสิบหก และต้องมีค่าไม่เกินเลข F ด้วย เหตุที่ตัวเลขมากกว่า 9 ต้องเขียนเป็นอักษร A,B,C,D,E,F เนื่องจาก หากใช้เลข10จะทาให้เกิดเป็นเลข 2 หลัก ซึ่งจะทาให้เกิดความสับสน เนื่องจากในเลขแต่ละหลักของฐานสิบหก สามารุมีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 15 หากเขียนแทนค่าจานวน 10ด้วยเลขสองหลักแล้วจะไม่สามารุบอกได้ว่าเป็นเลข หลักเดียวที่มีค่า 10 หรือเป็นเลข 2 ดังนั้น จึงแทนค่าตั้งแต่ 10 ถึง 15 ด้วยตัวอักษรดังนี้ A แทนตัวเลขที่มีค่า 10 B แทนตัวเลขที่มีค่า 11 C แทนตัวเลขที่มีค่า 12 D แทนตัวเลขที่มีค่า 13 E แทนตัวเลขที่มีค่า 14 F แทนตัวเลขที่มีค่า 15 ในปัจจุบันการแทนค่าข้อมูลต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์มักจะใช้เลขฐานสิบหก
  • 2. ตารางเปรียบเทียบระหว่างเลขฐาน 10 กับ เลขฐาน 2, 8, 16 เลขฐานสิบ เลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก 0 0 0 0 1 1 1 1 2 10 2 2 3 11 3 3 4 100 4 4 5 101 5 5 6 110 6 6 7 111 7 7 8 1000 10 8 9 1001 11 9 10 1010 12 A 11 1011 13 B 12 1100 14 C 13 1101 15 D 14 1110 16 E 15 1111 17 F 16 10000 20 10 17 10001 21 11 ระบบเลขฐานสิ บหก ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานแปด ก) ขั้นตอนการแปลงจากระบบเลขฐานสิบหกเป็นระบบเลขฐานแปด
  • 3. ระบบเลขฐานแปด ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานสิ บหก ข) ขั้นตอนการแปลงจากระบบเลขฐานแปดเป็นระบบเลขฐานสิบหก ขั้นตอนการแปลงระหว่างระบบเลขฐานแปด และฐานสิบหก ตัวอย่าง จงแปลง (3A6E)16 ให้เป็นเลขฐานแปด วิธีทา (3A6E)16 = 0011 1010 0110 1110 (แปลงให้เป็น เลขฐานสองก่อน) = ( 0011101001101110) = 011 101 001 101 110 (แบ่งเป็นกลุ่มละ 3 บิต) = 3 5 1 5 6 (แปลงเป็นเลขฐานแปด) ตอบ (3A6E)16 = (35156)8 ตัวอย่าง จงแปลง (4721.327)8 ให้เป็นเลขฐานสิบหก วิธีทา (4721.327)8 = 100 111 010 001 .011 010 111 = (100111010001.011010111)2 = 1001 1101 0001 . 0110 10011 1000 = 9D1.6 B8 (4721.327)8 = (9D1.6B8)16
  • 4. ตัวอย่าง จงแปลงเลขฐานสอง 1011011 ให้เป็นเลขฐานแปดและฐานสิบหก แปลงเป็นเลขฐานแปด แปลงเป็นเลขฐานสิบหก 001 011 011 0101 1011 1 3 3 5 B  10110112 = 1138 = 5B16