SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ระบบเลขจำนวน
      คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องจักรที่มีกลไกการทางานพื้นฐานเป็นสองสถานะ (Binary) คือเปิด
วงจรกับปิดวงจร ซึ่งสามารถแทนสถานะดังกล่าวได้ด้วยตัวเลขโดดสองตัวคือ 0 กับ 1 ข้อมูลแบบ
อื่นของคอมพิวเตอร์จะเกิดจากการประกอบรวมกันของเลข 0 กับ 1 เท่านั้น เราเรียกระบบเลข
จานวนที่ประกอบด้วยตัวเลข 0 กับ 1 เท่านั้นว่า “เลขฐาน 2”
      ส่วนการนับของมนุษย์โดยปกตินั้น เราจะมีตัวเลขโดดอยู่สิบตัวคือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8,
และ 9 ซึ่งจะประกอบรวมกันเป็นระบบเลขจานวนที่เรียกกันว่า “เลขฐาน 10” จะเห็นว่าระบบ
เลขจานวนที่ใช้ในคอมพิวเตอร์มีความแตกต่างจากระบบเลขจานวนที่มนุษย์ใช้กันโดยปกติ ดังนั้น
เราจะต้องเรียนรู้ถึงทักษะในการคานวณของระบบเลขจานวนทั้งสองแบบรวมถึงวิธีการเปลี่ยน
ระบบเลขจานวนไปมา
                                คอมพิวเตอร์อำศัยระบบเลขฐำนสอง




                                    ระบบเลขฐำน
 เลขฐาน หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่มีจานวนหลัก (Digit) ตามชื่อของฐานนั้นๆเช่น เลขฐานสอง ฐาน
แปด และฐานสิบ ประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขจานวนสองหลัก (0-1) แปดหลัก (0-7) และสิบหลัก
(0-9) ตามลาดับ ดังรูป
ระบบคอมพิวเตอร์มีกำรใช้ระบบเลขฐำน 4 แบบ ประกอบด้วย
     1).เลขฐานสอง (Binary Number)
     2).เลขฐานแปด (Octal Number)
     3).เลขฐานสิบ (Decimal Number)
     4).เลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number)

     ควำมหมำยของตัวเลขในหลักต่ำง ๆ
           ในระบบเลขฐานสิบนั้น ค่าของเลขโดด ณ ตาแหน่งใด ก็คือค่าของเลขโดดนั้นคูณด้วยสิบ
ยกกาลังของตาแหน่งนั้น เช่น 12345 หมายความว่า ค่า 5 อยู่ในตาแหน่งหลักหน่วยซึ่งค่าของสิบ
ยกกาลังของหลักหน่วยคือ 100 ค่า 4 อยู่ในตาแหน่งของหลักสิบ (101) ค่า 3 อยู่ในตาแหน่งของ
หลักร้อย (102) ค่า 2 อยู่ในตาแหน่งของหลักพัน (103) และค่า 1 อยู่ในตาแหน่งของหลักหมื่น
(104) ซึ่ง 12345 สามารถเขียนอยู่ในรูปผลบวกทางคณิตศาสตร์ได้ดังนี้

     12345 =        (1 x 104) + (2 x 103) + (3 x 102) + (4 x 101) + (5 x 100)
           =        10000 + 2000 + 300 + 40 + 5
จะเห็นว่าเลขกาลังของสิบจะเริ่มต้นจากศูนย์ที่หลักหน่วย แล้วเพิ่มขึ้นหนึ่งทุกครั้งในหลักถัด
มาทางด้านซ้ายมือ ในกรณีที่เลขเป็นจานวนทศนิยม ให้เริ่มกาลังศูนย์ที่หลักหน่วย แล้วลดกาลังลง
หนึ่งทุกครั้งในหลักถัดไปทางด้านขวามือ ส่วนทางด้านซ้ายมือก็จะเป็นไปในรูปแบบเดิม เช่น
12.34 จะสามารถเขียนได้เป็น

      12.34 =         (1 x 101) + (2 x 100) + (3 x 10-1) + (4 x 10-2)
            =         10 + 2 + 0.3 + 0.04

       เราสามารถใช้หลักการเดียวกันนี้กับเลขฐานสองเพื่อหาค่าของจานวนดังกล่าวในรูปของ
เลขฐานสิบ (ในความเป็นจริงแล้วสามารถที่จะนาไปใช้ได้กับเลขทุกฐาน) เช่น 1011.012 จะเขียน
ได้เป็น

      1011.012        =      (1 x 23) + (0 x 22) + (1 x 21) + (1 x 20) + (0 x 2-1) + (1 x 2-2)
             =        8 + 0 + 2 + 1 + 0 + 0.25
             =        11.25

More Related Content

What's hot

การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
Akkradet Keawyoo
 
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
jibjoy_butsaya
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
paween
 
Base
BaseBase
Base
sa
 
09 multi arrays
09 multi arrays09 multi arrays
09 multi arrays
a-num Sara
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
Patchara Wioon
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
waradakhantee
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
Little Tukta Lita
 

What's hot (19)

การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
Base
BaseBase
Base
 
09 multi arrays
09 multi arrays09 multi arrays
09 multi arrays
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
 
Java-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
Java-Chapter 10 Two Dimensional ArraysJava-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
Java-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
 
Emaj001
Emaj001Emaj001
Emaj001
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
Array 2
Array 2Array 2
Array 2
 
Array1
Array1Array1
Array1
 

Viewers also liked (6)

ข้อสอบคอมพิวเตอร์
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ข้อสอบคอมพิวเตอร์
ข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
 

Similar to ความหมายเลขระบบฐาน

ใบความรู้ หน่วยที่ 1
ใบความรู้ หน่วยที่ 1ใบความรู้ หน่วยที่ 1
ใบความรู้ หน่วยที่ 1
champsilde
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
lekho
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
joetreerawut
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
joetreerawut
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
jinda2512
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
joetreerawut
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
Piyanouch Suwong
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
guest89040d
 

Similar to ความหมายเลขระบบฐาน (10)

บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1
ใบความรู้ หน่วยที่ 1ใบความรู้ หน่วยที่ 1
ใบความรู้ หน่วยที่ 1
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 

More from jibjoy_butsaya

การบวกลบ เลขฐาน16
การบวกลบ เลขฐาน16การบวกลบ เลขฐาน16
การบวกลบ เลขฐาน16
jibjoy_butsaya
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
jibjoy_butsaya
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
jibjoy_butsaya
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
jibjoy_butsaya
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
jibjoy_butsaya
 

More from jibjoy_butsaya (8)

การบวกลบ เลขฐาน16
การบวกลบ เลขฐาน16การบวกลบ เลขฐาน16
การบวกลบ เลขฐาน16
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
 
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลขระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
ระบบเลขฐานนี้ใช้ตัวเลข
 

ความหมายเลขระบบฐาน

  • 1. ระบบเลขจำนวน คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องจักรที่มีกลไกการทางานพื้นฐานเป็นสองสถานะ (Binary) คือเปิด วงจรกับปิดวงจร ซึ่งสามารถแทนสถานะดังกล่าวได้ด้วยตัวเลขโดดสองตัวคือ 0 กับ 1 ข้อมูลแบบ อื่นของคอมพิวเตอร์จะเกิดจากการประกอบรวมกันของเลข 0 กับ 1 เท่านั้น เราเรียกระบบเลข จานวนที่ประกอบด้วยตัวเลข 0 กับ 1 เท่านั้นว่า “เลขฐาน 2” ส่วนการนับของมนุษย์โดยปกตินั้น เราจะมีตัวเลขโดดอยู่สิบตัวคือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, และ 9 ซึ่งจะประกอบรวมกันเป็นระบบเลขจานวนที่เรียกกันว่า “เลขฐาน 10” จะเห็นว่าระบบ เลขจานวนที่ใช้ในคอมพิวเตอร์มีความแตกต่างจากระบบเลขจานวนที่มนุษย์ใช้กันโดยปกติ ดังนั้น เราจะต้องเรียนรู้ถึงทักษะในการคานวณของระบบเลขจานวนทั้งสองแบบรวมถึงวิธีการเปลี่ยน ระบบเลขจานวนไปมา คอมพิวเตอร์อำศัยระบบเลขฐำนสอง ระบบเลขฐำน เลขฐาน หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่มีจานวนหลัก (Digit) ตามชื่อของฐานนั้นๆเช่น เลขฐานสอง ฐาน แปด และฐานสิบ ประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขจานวนสองหลัก (0-1) แปดหลัก (0-7) และสิบหลัก (0-9) ตามลาดับ ดังรูป
  • 2. ระบบคอมพิวเตอร์มีกำรใช้ระบบเลขฐำน 4 แบบ ประกอบด้วย 1).เลขฐานสอง (Binary Number) 2).เลขฐานแปด (Octal Number) 3).เลขฐานสิบ (Decimal Number) 4).เลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number) ควำมหมำยของตัวเลขในหลักต่ำง ๆ ในระบบเลขฐานสิบนั้น ค่าของเลขโดด ณ ตาแหน่งใด ก็คือค่าของเลขโดดนั้นคูณด้วยสิบ ยกกาลังของตาแหน่งนั้น เช่น 12345 หมายความว่า ค่า 5 อยู่ในตาแหน่งหลักหน่วยซึ่งค่าของสิบ ยกกาลังของหลักหน่วยคือ 100 ค่า 4 อยู่ในตาแหน่งของหลักสิบ (101) ค่า 3 อยู่ในตาแหน่งของ หลักร้อย (102) ค่า 2 อยู่ในตาแหน่งของหลักพัน (103) และค่า 1 อยู่ในตาแหน่งของหลักหมื่น (104) ซึ่ง 12345 สามารถเขียนอยู่ในรูปผลบวกทางคณิตศาสตร์ได้ดังนี้ 12345 = (1 x 104) + (2 x 103) + (3 x 102) + (4 x 101) + (5 x 100) = 10000 + 2000 + 300 + 40 + 5
  • 3. จะเห็นว่าเลขกาลังของสิบจะเริ่มต้นจากศูนย์ที่หลักหน่วย แล้วเพิ่มขึ้นหนึ่งทุกครั้งในหลักถัด มาทางด้านซ้ายมือ ในกรณีที่เลขเป็นจานวนทศนิยม ให้เริ่มกาลังศูนย์ที่หลักหน่วย แล้วลดกาลังลง หนึ่งทุกครั้งในหลักถัดไปทางด้านขวามือ ส่วนทางด้านซ้ายมือก็จะเป็นไปในรูปแบบเดิม เช่น 12.34 จะสามารถเขียนได้เป็น 12.34 = (1 x 101) + (2 x 100) + (3 x 10-1) + (4 x 10-2) = 10 + 2 + 0.3 + 0.04 เราสามารถใช้หลักการเดียวกันนี้กับเลขฐานสองเพื่อหาค่าของจานวนดังกล่าวในรูปของ เลขฐานสิบ (ในความเป็นจริงแล้วสามารถที่จะนาไปใช้ได้กับเลขทุกฐาน) เช่น 1011.012 จะเขียน ได้เป็น 1011.012 = (1 x 23) + (0 x 22) + (1 x 21) + (1 x 20) + (0 x 2-1) + (1 x 2-2) = 8 + 0 + 2 + 1 + 0 + 0.25 = 11.25