SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

                        เคมี (ว30224)
                        ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
                        โดย..คุณครูจริยา ใจยศ
                        โรงเรียนสา จังหวัดน่าน
อุตสาหกรรมแร่                        อุตสาหกรรมเซรามิกส์
                        ธาตุและ
                 สารประกอบในอุตสาหกรรม
                                    อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง
อุตสาหกรรมปุ๋ย
                                       กับโซเดียมคลอไรด์
แร่ทองแดง
   แร่รัตนชาติ                      แร่สังกะสีแคดเมียม

แร่พลวง           อุตสาหกรรมแร่                  แร่ดีบุก

  แร่เซอร์คอน                             แร่ทังสเตน
                 แร่โคลัมไบต์-แทนทาไลต์
วิธีการถลุงแร่ มีขั้นตอน ดังนี้
1. เลือกแร่ที่เหมาะสม คือ แร่ที่มีปริมาณโลหะที่ต้องการมากพอและต้องถลุงง่าย
ด้วย ได้แก่
    - เหล็ก Fe ใช้ แร่ฮีโมไทต์ (FeO3)
    - ทองแดง Cu ใช้ แร่คาลโคไพไรท์ (CuFeS2)
    - ดีบุก Sn ใช้แร่แคสซิเทอไรต์ (SnO2)
    - พลวง Sb ใช้แร่ 2 ชนิด คือ
                  1. แร่สติปไนต์ Sb2S3 เรียกว่าพลวงเงิน
                  2. แร่สติบิโคไนต์ Sb2O.nH2O เรียกว่าพลวงทอง
     - Zn – Cd ใช้แร่ สฟาเลอไรต์ มีสาร ZnS
     - Ta – Nb ใช้แร่โคลัมไบต์-แทนทาไลต์ ประเทศไทยส่วนใหญ่ใช้ตะกรันดีบุก
     - Zr ใช้แร่เซอร์คอน ZrSiO4
วิธีการถลุงแร่
2. การล้างและการย่างแร่
       ล้างแร่เพื่อขจัดสิ่งเจือปนเช่นดิน หิน โดยใช้น้าฉีด ล้างใน
ภาชนะ อาจเติมน้้ายาล้างให้สะอาดโดยวิธีการปั่นเพื่อให้สาร
ปนเปื้อนที่ติดอยู่หลุดออกไป แร่ส่วนมากจะ
มีลักษณะเบาลอยตัวขึ้นมาได้
       การย่างแร่ เพื่อเปลี่ยนสารประกอบโลหะในแร่ให้เป็น
สารประกอบออกไซด์ เช่น Sb2O3 ซึ่งจะใช้ C (cokeถ่านหิน หรือ
CO ไปรีดิวซ์ Sb2O3 ให้ Sb )
วิธีการถลุงแร่
3. การถลุงแร่ (Smelting) ใช้เตาเฉพาะเช่น ถลุงเหล็ก ใช้เตา
หลอมขนาดใหญ่ที่ใช้ลมเป่า (blast fumace) และเตานอน
ส้าหรับถลุงแร่ดีบุก
4. การทาให้บริสุทธิ์ (refining) มี 2 วิธีได้แก่
       1. แยกด้วยกระแสไฟฟ้า Electrolysis
       2. หลอมเฉพาะส่วน ด้วยไฟฟ้า เพื่อท้าให้โลหะบริสุทธิ์
          zone refining
แร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติเป็น “อโลหะ” ที่มีความส้าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย
เป็นอย่างมาก เพราะเป็นสินค้าส่งออกที่ท้ารายได้ให้มาก โดยเฉพาะ
เพชรพลอยที่แปรรูปเป็นอัญมณีแล้ว


ความหมายของรัตนชาติหรืออัญมณี
    “เป็นแร่และหรือสารประกอบอินทรีย์ที่นามาใช้เป็น
                    เครื่องประดับ”
สมบัติของแร่รัตนชาติ
    1.   ความสวยงาม
    2.   ความคงทน
    3.   ความหายาก
    4.   ความนิยม
    5.   ความสามารถในการพกพา
ส่วนสารประกอบที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและจัดเป็นรัตนชาติ
ได้แก่ ไข่มุก ปะการัง และอาพัน
การแบ่งกลุ่มอัญมณี
อัญมณีออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1.เพชร
                         2.พลอยหรือหินสี

แร่รตนชาติ ที่มีชื่อเสียงของไทย ได้แก่ ทับทิมสยาม ไพลิน
    ั
หรือแซปไฟร์สีน้าเงิน บุษราคัม
ทับทิมสยามและไพลิน
-เป็นพลอยในตระกูลแร่ คอรันดัม
-มีส่วนประกอบหลักเป็น อะลูมิเนียมออกไซด์ โดย มี Al ร้อยละ52.9 และ O ร้อย
ละ 47.1 โดยมวล
-การที่พลอยตระกูลคอรันดัมมีสีแตกต่างกันเนื่องจากมีธาตุอื่นเป็นมลทิน เช่น
   ถ้ามี Cr จะท้าให้เนื้อพลอยมีสีชมพูจนถึงสีแดงเข้ม ซึ่งเรียกว่า “ทับทิม”
   ถ้ามี Fe จะท้าให้พลอยมีสีเขียวอ่อน สีเหลือง หรือสีน้าตาล
   ถ้ามีทั้ง Fe และ Ti ปนด้วยกัน จะท้าให้พลอยมีสีน้าเงินอ่อนถึงสีน้าเงินเข้ม
เรียก “ไพลิน”
   ถ้ามีแร่รูไทล์ ปนอยู่ จะท้าให้พลอยมีลายเส้นเหลือบๆ หรือ รูปดาว เรียกว่า
“พลอยสาแหรกหรือพลอยสตาร์”
การตรวจสอบเพชรพลอยแท้หรือเทียม
      จะใช้เครื่องมือและวิธีการเฉพาะ เพื่อตรวจสอบสมบัติที่
 ปรากฏ เช่น ความแข็ง ความถ่วงจาเพาะ รูปลักษณะของผลึก
 ที่เกิดตามธรรมชาติ เป็นต้น ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะของรัตนชาติแต่
 ละชนิด
     นักธรณีวิทยาชาวเยอรมัน ชื่อ เฟดริก โมส์ ได้จัดระดับ
ความแข็งของแร่ตั้งแต่อ่อนที่สุดจนถึงแข็งที่สุดไว้ 10 ระดับ โดย
เพชร เป็นแร่ที่มีความแข็งที่สุดและ โดยทั่วไปแร่รัตนชาติจะมี
ความแข็งสูงกว่า 6
การเพิ่มคุณภาพของแร่รัตนชาติ
1.การเจียระไน เป็นเทคนิคที่ท้าให้อัญมณีมีความแวววาวเป็น
  ประกายและมีสีสันเด่นชัดขึ้น
2.การเผาพลอยหรือการหุงพลอย เป็นเทคนิคที่ช่วยให้พลอยมี
  สีสันสวยงาม เนื้อพลอยจัดเรียงตัวใหม่ ท้าให้พลอยใสขึ้นและมี
  สีเปลี่ยนไปอย่างถาวร
3.การย้อมเคลือบสี คือการเผาพลอยรวมกับสารเคมีบางชนิด
  ท้าให้พลอยมีสีสันสวยงามขึ้น สีเปลี่ยนชั่วคราว
4.การอาบรังสี คือการน้าพลอยไปอาบรังสีแกมมาจากโคบอลต์-
  60 ท้าให้สีเปลี่ยนแปลง
เพชรเทียม
    เพชรเทียมที่ได้รับความนิยาสูงสุดคือ เพชรรัสเซีย หรือ
คิวบิกเซอร์โคเนีย
    ลักษณะ
    เพชรเทียมมีการกระจายแสงสูงกว่าเพชรธรรมชาติจึงท้าให้
เป็นประกายแวววาว และมีความถ่วงจ้าเพาะสูงกว่าเพชร
ธรรมชาติมาก

More Related Content

What's hot (6)

Minerals
MineralsMinerals
Minerals
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
 
Na cl
Na clNa cl
Na cl
 
การผลิตเกลือ
การผลิตเกลือการผลิตเกลือ
การผลิตเกลือ
 
Chapter 1.1 glaze basics
Chapter 1.1 glaze basicsChapter 1.1 glaze basics
Chapter 1.1 glaze basics
 
Chapter 1.1 glaze basics
Chapter 1.1 glaze basicsChapter 1.1 glaze basics
Chapter 1.1 glaze basics
 

Viewers also liked

อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
Surasek Tikomrom
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
Ps Peter Kanokwan
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
Phasitta Chem
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
supap6259
 

Viewers also liked (20)

อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือ
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
 
ความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้น
ความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้นความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้น
ความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้น
 
Biochem 5ed
Biochem 5edBiochem 5ed
Biochem 5ed
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Teaching Ceramic
Teaching CeramicTeaching Ceramic
Teaching Ceramic
 
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
เคมี อุตสาหกรรมเซรามิก
เคมี อุตสาหกรรมเซรามิกเคมี อุตสาหกรรมเซรามิก
เคมี อุตสาหกรรมเซรามิก
 

Similar to บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

Similar to บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม (8)

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
 
1
11
1
 
4 3
4 34 3
4 3
 
2 5
2 52 5
2 5
 
4 1 2
4 1 24 1 2
4 1 2
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 

More from Jariya Jaiyot

แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
Jariya Jaiyot
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
Jariya Jaiyot
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Jariya Jaiyot
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
Jariya Jaiyot
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
Jariya Jaiyot
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
Jariya Jaiyot
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
Jariya Jaiyot
 

More from Jariya Jaiyot (20)

โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊ส
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Lab4
Lab4Lab4
Lab4
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
 
ไวนิล 3
ไวนิล 3ไวนิล 3
ไวนิล 3
 
ไวนิล 2
ไวนิล 2ไวนิล 2
ไวนิล 2
 
ไวนิล 1
ไวนิล 1ไวนิล 1
ไวนิล 1
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
 

บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

  • 1. บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม เคมี (ว30224) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดย..คุณครูจริยา ใจยศ โรงเรียนสา จังหวัดน่าน
  • 2. อุตสาหกรรมแร่ อุตสาหกรรมเซรามิกส์ ธาตุและ สารประกอบในอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมปุ๋ย กับโซเดียมคลอไรด์
  • 3. แร่ทองแดง แร่รัตนชาติ แร่สังกะสีแคดเมียม แร่พลวง อุตสาหกรรมแร่ แร่ดีบุก แร่เซอร์คอน แร่ทังสเตน แร่โคลัมไบต์-แทนทาไลต์
  • 4. วิธีการถลุงแร่ มีขั้นตอน ดังนี้ 1. เลือกแร่ที่เหมาะสม คือ แร่ที่มีปริมาณโลหะที่ต้องการมากพอและต้องถลุงง่าย ด้วย ได้แก่ - เหล็ก Fe ใช้ แร่ฮีโมไทต์ (FeO3) - ทองแดง Cu ใช้ แร่คาลโคไพไรท์ (CuFeS2) - ดีบุก Sn ใช้แร่แคสซิเทอไรต์ (SnO2) - พลวง Sb ใช้แร่ 2 ชนิด คือ 1. แร่สติปไนต์ Sb2S3 เรียกว่าพลวงเงิน 2. แร่สติบิโคไนต์ Sb2O.nH2O เรียกว่าพลวงทอง - Zn – Cd ใช้แร่ สฟาเลอไรต์ มีสาร ZnS - Ta – Nb ใช้แร่โคลัมไบต์-แทนทาไลต์ ประเทศไทยส่วนใหญ่ใช้ตะกรันดีบุก - Zr ใช้แร่เซอร์คอน ZrSiO4
  • 5. วิธีการถลุงแร่ 2. การล้างและการย่างแร่ ล้างแร่เพื่อขจัดสิ่งเจือปนเช่นดิน หิน โดยใช้น้าฉีด ล้างใน ภาชนะ อาจเติมน้้ายาล้างให้สะอาดโดยวิธีการปั่นเพื่อให้สาร ปนเปื้อนที่ติดอยู่หลุดออกไป แร่ส่วนมากจะ มีลักษณะเบาลอยตัวขึ้นมาได้ การย่างแร่ เพื่อเปลี่ยนสารประกอบโลหะในแร่ให้เป็น สารประกอบออกไซด์ เช่น Sb2O3 ซึ่งจะใช้ C (cokeถ่านหิน หรือ CO ไปรีดิวซ์ Sb2O3 ให้ Sb )
  • 6. วิธีการถลุงแร่ 3. การถลุงแร่ (Smelting) ใช้เตาเฉพาะเช่น ถลุงเหล็ก ใช้เตา หลอมขนาดใหญ่ที่ใช้ลมเป่า (blast fumace) และเตานอน ส้าหรับถลุงแร่ดีบุก 4. การทาให้บริสุทธิ์ (refining) มี 2 วิธีได้แก่ 1. แยกด้วยกระแสไฟฟ้า Electrolysis 2. หลอมเฉพาะส่วน ด้วยไฟฟ้า เพื่อท้าให้โลหะบริสุทธิ์ zone refining
  • 7. แร่รัตนชาติ แร่รัตนชาติเป็น “อโลหะ” ที่มีความส้าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย เป็นอย่างมาก เพราะเป็นสินค้าส่งออกที่ท้ารายได้ให้มาก โดยเฉพาะ เพชรพลอยที่แปรรูปเป็นอัญมณีแล้ว ความหมายของรัตนชาติหรืออัญมณี “เป็นแร่และหรือสารประกอบอินทรีย์ที่นามาใช้เป็น เครื่องประดับ”
  • 8. สมบัติของแร่รัตนชาติ 1. ความสวยงาม 2. ความคงทน 3. ความหายาก 4. ความนิยม 5. ความสามารถในการพกพา ส่วนสารประกอบที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและจัดเป็นรัตนชาติ ได้แก่ ไข่มุก ปะการัง และอาพัน
  • 9. การแบ่งกลุ่มอัญมณี อัญมณีออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1.เพชร 2.พลอยหรือหินสี แร่รตนชาติ ที่มีชื่อเสียงของไทย ได้แก่ ทับทิมสยาม ไพลิน ั หรือแซปไฟร์สีน้าเงิน บุษราคัม
  • 10. ทับทิมสยามและไพลิน -เป็นพลอยในตระกูลแร่ คอรันดัม -มีส่วนประกอบหลักเป็น อะลูมิเนียมออกไซด์ โดย มี Al ร้อยละ52.9 และ O ร้อย ละ 47.1 โดยมวล -การที่พลอยตระกูลคอรันดัมมีสีแตกต่างกันเนื่องจากมีธาตุอื่นเป็นมลทิน เช่น ถ้ามี Cr จะท้าให้เนื้อพลอยมีสีชมพูจนถึงสีแดงเข้ม ซึ่งเรียกว่า “ทับทิม” ถ้ามี Fe จะท้าให้พลอยมีสีเขียวอ่อน สีเหลือง หรือสีน้าตาล ถ้ามีทั้ง Fe และ Ti ปนด้วยกัน จะท้าให้พลอยมีสีน้าเงินอ่อนถึงสีน้าเงินเข้ม เรียก “ไพลิน” ถ้ามีแร่รูไทล์ ปนอยู่ จะท้าให้พลอยมีลายเส้นเหลือบๆ หรือ รูปดาว เรียกว่า “พลอยสาแหรกหรือพลอยสตาร์”
  • 11. การตรวจสอบเพชรพลอยแท้หรือเทียม จะใช้เครื่องมือและวิธีการเฉพาะ เพื่อตรวจสอบสมบัติที่ ปรากฏ เช่น ความแข็ง ความถ่วงจาเพาะ รูปลักษณะของผลึก ที่เกิดตามธรรมชาติ เป็นต้น ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะของรัตนชาติแต่ ละชนิด นักธรณีวิทยาชาวเยอรมัน ชื่อ เฟดริก โมส์ ได้จัดระดับ ความแข็งของแร่ตั้งแต่อ่อนที่สุดจนถึงแข็งที่สุดไว้ 10 ระดับ โดย เพชร เป็นแร่ที่มีความแข็งที่สุดและ โดยทั่วไปแร่รัตนชาติจะมี ความแข็งสูงกว่า 6
  • 12. การเพิ่มคุณภาพของแร่รัตนชาติ 1.การเจียระไน เป็นเทคนิคที่ท้าให้อัญมณีมีความแวววาวเป็น ประกายและมีสีสันเด่นชัดขึ้น 2.การเผาพลอยหรือการหุงพลอย เป็นเทคนิคที่ช่วยให้พลอยมี สีสันสวยงาม เนื้อพลอยจัดเรียงตัวใหม่ ท้าให้พลอยใสขึ้นและมี สีเปลี่ยนไปอย่างถาวร 3.การย้อมเคลือบสี คือการเผาพลอยรวมกับสารเคมีบางชนิด ท้าให้พลอยมีสีสันสวยงามขึ้น สีเปลี่ยนชั่วคราว 4.การอาบรังสี คือการน้าพลอยไปอาบรังสีแกมมาจากโคบอลต์- 60 ท้าให้สีเปลี่ยนแปลง
  • 13. เพชรเทียม เพชรเทียมที่ได้รับความนิยาสูงสุดคือ เพชรรัสเซีย หรือ คิวบิกเซอร์โคเนีย ลักษณะ เพชรเทียมมีการกระจายแสงสูงกว่าเพชรธรรมชาติจึงท้าให้ เป็นประกายแวววาว และมีความถ่วงจ้าเพาะสูงกว่าเพชร ธรรมชาติมาก