SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
ครูจริยา ใจยศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
1. ต้องระลึกอยู่เสมอว่าห้องปฏิบัติการเป็นสถานที่
ทางาน ต้องทาการวิเคราะห์ด้วยความตั้งใจอย่างจริงจัง
2. อุปกรณ์ต่างๆ ที่นามาใช้ในการวิเคราะห์ต้องสะอาด
ความสกปรกเป็นสาเหตุ สาคัญประการหนึ่งที่ทาให้ผล
การวิเคราะห์ผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนไป
3. ห้ามรับประทานอาหาร เครื่องดื่ม สูบบุหรี่ และ
แต่งหน้าในห้องปฏิบัติการ
4. ไม่นาเครื่องแก้วหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเป็น
ภาชนะใส่อาหารหรือเครื่องดื่ม
5. ติดฉลากขวดใส่สารเคมีทุกขวดให้ชัดเจน เช่น ชื่อสารเคมี
วันที่เตรียม ความเข้มข้น ผู้เตรียม เป็นต้น ถ้าสิ่งใดไวไฟหรือมี
พิษต้องระบุให้ชัดเจน ถ้าฉลากเก่าต้องรีบติดใหม่ก่อนที่จะ
อ่านไม่ออก
6. ก่อนนาเอาสารละลายในขวดไปใช้ จะต้องดูชื่อสารบนฉลาก
ติดขวดสารละลาย อย่างน้อยสองครั้ง เพื่อให้แน่ใจว่าใช้สารที่
ต้องการไม่ผิด
7. เมื่อต้องการใช้สารละลายที่เตรียมไว้ ต้องรินออกจากขวดใส่
ลงในบีกเกอร์ก่อน ไม่ควรจุ่มไปเปตลงในขวดสารละลาย
โดยตรง ถ้าสารละลายที่รินออกมาแล้วนี้เหลือ ให้เทส่วนที่
เหลือนี้ ลงในอ่าง อย่าเทกลับลงในขวดเดิมอีก เพื่อป้องกันการ
ปนเปื้อน
8. ถ้ากรดหรือด่างหรือสารเคมีที่เป็นอันตรายถูกผิวหนังหรือเสื้อผ้า
ต้องรีบล้างออกด้วยน้าสะอาดทันที เพราะมีสารเคมีหลายชนิดซึม
ผ่านเข้าไปในผิวหนังได้อย่างรวดเร็ว และเกิดเป็นพิษขึ้นมาได้ ซึ่ง
แต่ละคนจะมีความรู?สึกหรือเกิดพิษแตกต่างกัน
9. ห้ามชิมสารเคมีหรือสารละลาย เพราะสารเคมีส่วนมากเป็นพิษ
อาจเกิดอันตรายได้
10. อย่าใช้มือหยิบสารเคมีใดๆ เป็นอันขาด และพยายามไม่ให้ส่วน
อื่นๆ ของร่างกายถูกสารเคมีด้วย
11. ห้ามเทน้าลงบนกรดเข้มข้นทุกชนิด ในการเตรียมสารละลายกรด
จะต้องค่อยๆ เทกรดเข้มข้นลงในน้าอย่างช้าๆ พร้อมกับกวน
ตลอดเวลา
12. ห้ามดมสารเคมีโดยตรง ควรถือขวดที่ใส่สารเคมีไว้ห่าง
ตัวประมาณ 1 ฟุต แล้วใช้มือโบกพัดกลิ่นสารเคมีเข้าหา
ตัว อย่าสูดดมกลิ่นสารเคมีแรงๆ
13. อย่าทิ้งของแข็งต่างๆ ที่ไม่ต้องการ เช่น ไม้ขีดไฟ หรือ
แผ่นกรองที่ใช้แล้ว ฯลฯ ลงในอ่างน้าเป็นอันขาด ควรทิ้งใน
ถังขยะที่จัดไว้ให้
14. หลังการวิเคราะห์ตัวอย่างแต่ละครั้งต้องล้างมือให้สะอาด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งก่อนกินอาหาร เพราะอาจมีสารเคมีที่
เป็นอันตรายเปรอะเปื้อนอยู่
15. เมื่อเสื้อผ้าที่สวมอยู่ติดไฟ อย่าวิ่ง ต้องพยายามดับไฟก่อนโดย
นอนกลิ้งบนพื้น แล้วบอกให้เพื่อนๆ ช่วย โดยใช้ผ้าหนาๆ คลุม
รอบตัว หรือใช้ผ้าเช็ดตัวที่เปียกคลุมบนเปลวไฟให้ดับก็ได้
16. เมื่อเกิดไฟไหม้ในห้องปฏิบัติการ จะต้องรีบนาสารที่ติดไฟง่าย
ออกไปให้ห่างจากไฟมากที่สุด ผู้ใช้ห้องปฏิบัติการทุกคนควร
จะรู้แหล่งที่เก็บเครื่องดับเพลิงและรู้จักวิธีใช้ ทั้งนี้เพื่อสะดวก
ในการนามาใช้ได้ทันท่วงที
17. หากผู้วิเคราะห์เกิดอุบัติเหตุในขณะทาการวิเคราะห์ ต้อง
รายงานอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทุกครั้งต่อผู้บังคับบัญชา ไม่ว่าจะเกิด
มากหรือน้อยเพียงใดก็ตาม
18. เมื่อต้องการจะเตรียมหรือใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายหรือสารที่
ว่องไวต่อปฏิกิริยา หรือสารที่มีกลิ่นเหม็นจะต้องทาในตู้ควันเสมอ
19. น้าที่ใช้ในการเตรียมสารละลายจะต้องใช้น้ากลั่นทุกครั้ง แต่อย่า
ใช้ฟุ่มเฟือยเกินความจาเป็น เช่น ใช้ล้างอุปกรณ์ เป็นต้น เพราะน้า
กลั่นแต่ละหยดที่ได้สิ้นเปลืองพลังงาน เวลา และค่าใช้จ่ายมาก
20. ห้ามใช้จุกยางปิดปากขวดบรรจุสารละลาย หรืออุปกรณ์อื่นใดที่มี
ตัวทาละลาย อินทรีย์บรรจุอยู่ เพราะตัวทาละลายอินทรีย์จะ
ทาลายยาง ทาให้สารละลายสกปรกและจะเอาจุกยางออก จาก
ขวดได้ยาก เพราะจุกส่วนข้างล่างบวม
21. เมื่อการวิเคราะห์ใดใช้สารที่เป็นอันตราย หรือเป็นการวิเคราะห์ที่
อาจจะระเบิดได้ ผู้วิเคราะห์ควรสวมแว่นตานิรภัยเพื่อป้องกัน
อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น
22. ไม่สวมเสื้อกราวน์ หน้ากาก ถุงมือที่ใช้ในห้องปฏิบัติการออกนอก
ห้องปฏิบัติการ
23. เมื่อเสร็จสิ้นการวิเคราะห์ ต้องทาความสะอาดพื้นโต๊ะปฏิบัติการ
แล้วล้างมือให้ สะอาดก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ
24. พึงระลึกอยู่เสมอว่า ต้องทาการวิเคราะห์ด้วยความระมัดระวัง
ที่สุด ความประมาทเลินเล่ออาจทาให้เกิดอันตรายต่อตัวเองและ
ผู้อื่นได้
ครูจริยา ใจยศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
ขวดวัดปริมาตร
เป็นเครื่องมือที่ใช้เตรียมสารละลายมาตรฐานหรือสารละลายที่
มีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลายเดิมได้
ขวดปริมาตรฟลอเรนส์ (Florence Flask) หรือ
เรียกว่า Flat Bottomed Flask
มักจะใช้สาหรับต้มน้า เตรียมแก๊ส
ขวดปริมาตรก้นกลม (Round Bottom Flask)
ขวดปริมาตรชนิดนี้มีลักษณะเหมือนกับ Florence
Flask แต่ตรงก้นขวดจะมีลักษณะกลมทาให้ไม่
สามารถตั้งได้
ขวดปริมาตรทรงกรวย (Erlenmeyer Flask หรือ
Conical Flask)
ขวดปริมาตรชนิดนี้มีลักษณะเป็นทรงกรวย และ
มีความจุขนาดต่าง ๆ กัน แต่ที่นิยมใช้กันมากมี
ความจุเป็น 250-500 มล. สามารถใช้ได้ใน
หลายกรณี เช่น ในการไตเตรท
ขวดปริมาตรกลั่น (Distilling Flask)
ขวดปริมาตรชนิดนี้นิยมใช้ในการกลั่นของเหลว
ขวดวัดปริมาตร(Volumetric Flask)
เป็นขวดคอยาวที่มีขีดบอกปริมาตรบนคอขวด
เพียงขีดเดียว นิยมใช้ในการเตรียมสารละลาย
บิวเรตต์(Burette)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ มี
ขนาดตั้งแต่ 10 มล. จนถึง 100 มล.
บิวเรตต์สามารถวัดปริมาตรได้
อย่างใกล้เคียงความจริงมากที่สุด
ปิเปตต์ (pipette)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดปริมาตรได้อย่างใกล้เคียง
รายละเอียดที่เขียนบนปิเปตต์
1. สัญลักษณ์ Blow-out pipet
2. ขีดบอกปริมาตร
3. ความจุ
4.ปริมาตรแต่ละขีด
5. ระดับชั้นคุณภาพ
6. วัตถุประสงค์การใช้งาน
7. ความคลาดเคลื่อนของปริมาตร
เกร็ดความรู้
B คืออะไร สัญลักษณ์ที่บอกระดับชั้นคุณภาพ
แบ่งตามชั้นคุณภาพ(class) ได้ 2 ระดับชั้นคุณภาพ คือ
1. ชั้นคุณภาพเอ(class A)
- ใช้สัญลักษณ์ A
- เป็นเครื่องแก้วที่มีความแม่นยาสูง
- มีค่าความคลาดเคลื่อนของปริมาตรที่ยอมรับได้ต่า
- ใช้ในงานที่ต้องการความแม่นสูง
เกร็ดความรู้
2. ชั้นคุณภาพบี(class B)
- ใช้สัญลักษณ์ B
- เป็นเครื่องแก้วที่มีความคลาดเคลื่อนของปริมาตรที่
ยอมรับได้เป็น 2 เท่าของเครื่องแก้วชั้นคุณภาพเอ
- ใช้ในงานที่ยอมรับค่าความไม่แน่นอนในระดับที่สูงขึ้น
เกร็ดความรู้
EX คือ สัญลักษณ์ที่บอกถึงวัตถุประสงค์การใช้งานของเครื่องแก้ว ซึ่ง
เครื่องแก้ววัดปริมาตร แบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งานได้ 2 ชนิด คือ
1. เครื่องแก้วสาหรับบรรจุ(to contain)
- ใช้สัญลักษณ์ TC หรือ IN หรือ C
- เป็นเครื่องแก้วที่ใช้สาหรับการบรรจุของเหลวและสอบเทียบ
โดยวิธีบรรจุของเหลว
- ความจุของเครื่องแก้วที่กาหนด หมายถึง ปริมาตรน้าที่
อุณหภูมิอ้างอิง ซึ่งบรรจุอยู่ในภาชนะนั้นถึงขีดกาหนดปริมาตร เช่น
ขวดวัดปริมาตร ขนาด 100 ml
เกร็ดความรู้
2. เครื่องแก้วสาหรับถ่ายของเหลว(to deliver)
- ใช้สัญลักษณ์ TD หรือ EX หรือ D
- เป็นเครื่องแก้วที่ใช้สาหรับถ่ายของเหลวจากภาชนะหนึ่ง
ไปยังอีกภาชนะหนึ่ง และสอบเทียบโดยวิธีถ่ายของเหลว
- ปริมาตรของเครื่องแก้วที่กาหนด หมายถึง ปริมาตรน้าที่
อุณหภูมิอ้างอิง ถูกถ่ายออกจากภาชนะนั้นจากขีดกาหนด
ปริมาตร จนได้ปริมาตรที่ต้องการ หรือจนกระทั่งหมดตามวิธีการ
ถ่ายของเหลวที่กาหนดในมาตรฐาน เช่น ปิเปตต์ บิวเรตต์
เกร็ดความรู้
2. เครื่องแก้วสาหรับถ่ายของเหลว(to deliver)
- ใช้สัญลักษณ์ TD หรือ EX หรือ D
- เป็นเครื่องแก้วที่ใช้สาหรับถ่ายของเหลวจากภาชนะหนึ่ง
ไปยังอีกภาชนะหนึ่ง และสอบเทียบโดยวิธีถ่ายของเหลว
- ปริมาตรของเครื่องแก้วที่กาหนด หมายถึง ปริมาตรน้าที่
อุณหภูมิอ้างอิง ถูกถ่ายออกจากภาชนะนั้นจากขีดกาหนด
ปริมาตร จนได้ปริมาตรที่ต้องการ หรือจนกระทั่งหมดตามวิธีการ
ถ่ายของเหลวที่กาหนดในมาตรฐาน เช่น ปิเปตต์ บิวเรตต์
เบ้าเคลือบและฝา(porcelain crucible and lid)
ใช้ในการเผาสารต่างๆ ที่อุณหภูมิสูงและมักจะใช้ในการเผา
ตะกอน เนื่องจากเบ้าเคลือบสามารถถูกเผาในอุณหภูมิสูงได้
(ประมาณ 1,200 องศาเซลเซียส) ถึงแม้เบ้าเคลือบจะถูกเผาใน
อุณหภูมิที่สูง แต่น้าหนักของเบ้าเคลือบก็ไม่เปลี่ยนแปลง
ตะเกียงบุนเซน(bunsen burner)
ใช้เป็นแหล่งให้ความร้อนโดยใช้เปลวไฟ ภายใน
ห้องปฏิบัติการ
(1) ปิดวาล์วอากาศเข้า
(2) เปิดวาล์วอากาศเข้า
บางส่วน
(3) เปิดวาล์วอากาศเข้า
ครึ่งหนึ่ง
(4) เปิดวาล์วอากาศเข้า
ทั้งหมด
ชามระเหย(evaporating dish)
ใช้สาหรับระเหยของเหลวจนแห้ง และเผา ณ อุณหภูมิที่สูงกว่า
100 องศาเซลเซียส
ครูจริยา ใจยศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
หลักในการอ่านปริมาตรของสารละลาย
จะต้องให้สายตาอยู่ในระดับเดียวกันกับจุดต่าสุดของส่วนโค้งเว้า
(meniscus)
หลักในการอ่านปริมาตรของสารละลาย
หมายเหตุ ถ้าสารละลายมีสีเข้ม เช่น ด่างทับทิม (KMnO4) ให้
อ่านปริมาตรโดยให้ระดับสายตาอยู่ในแนวเดียวกันกับส่วนโค้ง
ด้านบนสุดของสารละลาย

More Related Content

What's hot

ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1oraneehussem
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 

Similar to แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์

โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
คอม ใบงานที่ 9 11
คอม ใบงานที่ 9 11คอม ใบงานที่ 9 11
คอม ใบงานที่ 9 11Lupin F'n
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...รัชศวรรณ มูลหา
 
Hw 2 state_of_matter
Hw 2 state_of_matterHw 2 state_of_matter
Hw 2 state_of_matteradriamycin
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 

Similar to แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์ (20)

M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
At10
At10At10
At10
 
At10
At10At10
At10
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
184 bb10
184 bb10184 bb10
184 bb10
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
K10
K10K10
K10
 
K10
K10K10
K10
 
คอม ใบงานที่ 9 11
คอม ใบงานที่ 9 11คอม ใบงานที่ 9 11
คอม ใบงานที่ 9 11
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
Hw 2 state_of_matter
Hw 2 state_of_matterHw 2 state_of_matter
Hw 2 state_of_matter
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 

More from Jariya Jaiyot

โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองJariya Jaiyot
 
สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57Jariya Jaiyot
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาJariya Jaiyot
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือJariya Jaiyot
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันJariya Jaiyot
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงJariya Jaiyot
 
ไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริงไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริงJariya Jaiyot
 
ไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริงไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริงJariya Jaiyot
 

More from Jariya Jaiyot (20)

โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
 
สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊ส
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Lab4
Lab4Lab4
Lab4
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
 
ไวนิล 3
ไวนิล 3ไวนิล 3
ไวนิล 3
 
ไวนิล 2
ไวนิล 2ไวนิล 2
ไวนิล 2
 
ไวนิล 1
ไวนิล 1ไวนิล 1
ไวนิล 1
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
 
ไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริงไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริง
 
ไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริงไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริง
 

แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์