SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
12/21/15	
  	
  
1	
  
รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล
ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
•  ผู้ป่วยและครอบครัวเป็น unit of care
•  มีทีมสหสาขาประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล นักสังคมฯ
•  ให้การดูแลทุกมิติตามความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
•  จากการประเมินผู้ป่วย ทำ care plan เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้
รับการดูแล และจัด supportive services
•  มีการเยี่ยมบ้าน และควรมี community-health service
•  การจัดการอาการปวดและอาการอื่นๆ
•  มีโอกาสรักษาแบบคนไข้ในกรณีมีภาวะแทรกซ้อน/ฉุกเฉิน
•  มีการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์
•  มีจิตอาสามาช่วย support ผู้ป่วยและญาติ
•  มี Bereavement services
การทำงานเป็นทีม
และมีเครือข่าย
•  มี community-health service รองรับ
•  สามารถให้การดูแลและตายที่บ้านตามต้องการ
•  มีโอกาสรักษาแบบคนไข้ใน กรณีมีภาวะ
แทรกซ้อน/ฉุกเฉิน
•  มีการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ตลอด 24 ชม.
•  มีแม่ข่ายให้คำปรึกษาแก่ศูนย์ PC, FCT ในชุมชน
•  มีจิตอาสามาช่วย support ผู้ป่วยและญาติ
•  มี bereavement services
* การทำงานแบบเครือข่าย *
การสื่อสารและช่องทางสื่อสาร
ระหว่างเครือข่าย
12/21/15	
  	
  
2	
  
• สร้างศูนย์ PC ที่แข็งแรง

เป็นแม่ข่ายให้คำปรึกษา
• มีระบบยา opioids
• สร้างเครือข่าย ระบบสื่อสาร
• มีหอผู้ป่วยPC? มี OPD PC
• Family care team PC
• มียาที่จำเป็นสำหรับ PC
• เป็นศูนย์เครื่องมือ
• เป็น home care center
• อบรมรพสต. จิตอาสา
• Family care team PC
• พัฒนาระบบจิตอาสาใน

ชุมชน
• กองทุนช่วยเหลือค่า

เดินทาง ค่าวัสดุ ฯลฯ
ß แพทย์อบรมระยะกลาง พยาบาลประจำ

ศูนย์อบรมระยะกลาง/ยาว
ß เภสัชผ่านการอบรม รับผิดชอบยา ทำ 

เครือข่ายและ node ยา 

ß อบรมเครือข่าย รพช/รพสต.
ß สร้างระบบส่งต่อ ทำฐานข้อมูล
ß สร้างระบบให้คำปรึกษา
ß ฝึกอบรมระยะสั้นแพทย์
ß พยาบาลประจำศูนย์อบรมระยะกลาง
ß  เภสัชผ่านการอบรม รับผิดชอบยา
ß  Course อบรม TOT จิตอาสา
ß ศูนย์เครื่องมือแพทย์งบกองทุนสุขภาพ
ß ระบบส่งต่อ/สื่อสาร เป็นพี่เลี้ยงรพสต.
ß รพสต.ได้รับการฝึกอบรมระยะสั้น
ß  สสอ/รพสต.พัฒนาระบบจิตอาสา
ß  ทีมเยี่ยมบ้าน
ß ชุมชนมีส่วนร่วม จิตอาสา เครือข่าย

ชุมชน พระ ฯลฯ
ß ระบบเชื่อมต่อกับรพช./รพจ
โรงพยาบาลแม่ข่าย
ระดับเขต
ศูนย์ Palliative
โรงพยาบาลจังหวัดส่งต่อ
อบต.
อสม. จิตอาสา
ส่งต่อ
เครือข่ายชุมชน
ส่งต่อ
สนับสนุน
วิชาการ
ผู้ป่วย
&
ครอบครัว
สนับสนุน
วิชาการส่งต่อ
องค์กร
ศาสนา
สนับสนุน
วิชาการ
FCT PC
โรงพยาบาลชุมชน
สนับสนุน
วิชาการ
•  มีทีม PC แบบสหสาขา
•  แพทย์ทำหน้าที่ให้การปรึกษาผ่านการอบรม PC
•  พยาบาลศูนย์ PC ผ่านการอบรม PC ทำหน้าที่

- ขึ้นทะเบียนผู้ป่วย

- ประสานกับทีมในหอผู้ป่วย

- ดูแลผู้ป่วยที่ซับซ้อนที่ปรึกษาเข้ามา

- เยี่ยมบ้าน/ประสานการเยี่ยมบ้าน

- ประสานส่งต่อชุมชน/ส่งต่อศูนย์ดูแลต่อเนื่อง

- จัดหาอุปกรณ์ ยา/ประสานให้ผู้ป่วยมีใช้ที่บ้าน
•  เภสัชกรจัดหายาโดยเฉพาะยาระงับปวดให้มีใช้
อย่างต่อเนื่อง และประสานรพช.ในการรับยาต่อ
•  นักสังคมสงเคราะห์ จัดการเรื่องสิทธิ์การรักษา
ประสานความช่วยเหลือจากแหล่งทรัพยากรต่างๆ
•  สร้างเครือข่ายส่งต่อ
•  พัฒนาบุคลากร ฝึกอบรมบุคลากรในรพ.และรพช.
•  เป็นพี่เลี้ยงให้รพ.ระดับชุมชน
•  แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว/แพทย์ทั่วไปให้การ
ปรึกษา symptom management
•  พยาบาลศูนย์ PC ผ่านการอบรมทำหน้าที่

- ขึ้นทะเบียนผู้ป่วย

- สื่อสารกับผู้ป่วย/ครอบครัวเป้าหมายการรักษา

- ประสานงานทีมในหอผู้ป่วย

- เยี่ยมบ้าน/ส่งต่อ PCU, รพสต.

- จัดหาอุปกรณ์และยาให้ผู้ป่วยมีใช้ที่บ้าน
•  เภสัชกร จัดหายาและจัดระบบยา/ node ยาโดย
เฉพาะยาระงับปวดให้มีใช้อย่างต่อเนื่อง และ
ประสานกับ PCU, รพสต. ในการส่งต่อเรื่องยาที่
ผู้ป่วยใช้
•  สร้างเครือข่ายเพื่อการดูแลอย่างต่อเนื่อง
•  พัฒนาบุคลากร ฝึกอบรมบุคลากรในรพ. จัด
อบรมอาสาสมัคร
•  เป็นพี่เลี้ยงให้ รพสต.
12/21/15	
  	
  
3	
  
•  การจัดระบบขึ้นกับทรัพยากรที่มีอยู่: primary care
team โรงพยาบาลชุมชน คลีนิกในชุมชน
•  กรณีแพทย์หรือพยาบาลไม่ได้ทำการเยี่ยมบ้าน
อย่างสม่ำเสมอ หรือไม่มีความรู้เรื่อง PC หรือไม่มี
opioids การดูแลที่บ้านจะไม่ประสบผลสำเร็จ
•  กรณีที่ผู้ดูแลผู้ป่วยไม่มีความมั่นใจ หรือไม่ได้รับ
การฝึกให้สามารถให้การดูแลที่ดีแก่ผู้ป่วย หรือไม่มี
พยาบาลเยี่ยมบ้านที่มีความรู้เรื่อง PC ช่วยให้คำ
แนะนำ การดูแลที่บ้านจะไม่สำเร็จ
•  การดูแลเรื่องความปวดยังไม่ได้รับความสนใจ
•  บุคลากรทางการแพทย์ขาดความเชี่ยวชาญเรื่อง
การดูแลความปวด
•  การจำกัดและควบคุมการใช้ยา เนื่องจากเป็น
สารเสพติด ทำให้มีการใช้น้อย
•  ความเข้าใจผิดเรื่องการเกิดการเสพติด กลัวผล
ข้างเคียง โดยเฉพาะในผู้ป่วยเด็ก
•  ยาที่มีในรพ.ไม่หลากหลาย มีน้อยชนิด/ขนาด
•  ในระดับรพศ/รพท ควรให้มีการดูแล PC แบบ hospital
wide โดยการจัดโครงสร้างในรพ. โดยให้ทุกหอผู้ป่วยมี
พยาบาลดูแลรับผิดชอบผู้ป่วย PC ที่ไม่ซับซ้อน
•  กรณีมีอาการที่ต้องจัดการหรือมี conflict ในครอบครัว
หรือมีปัญหาซับซ้อน ให้พยาบาลศูนย์ PC เป็นผู้ดูแล
•  มีระบบการขึ้นทะเบียนและติดตามผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
โดยการติดตามแบบ OPD case หรือโดยการเยี่ยมบ้าน
โดยศูนย์ PC เอง หรือโดยเครือข่าย
•  สร้างเครือข่ายและทำระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ
พยาบาลรพศ/รพท ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับรพช/

รพสต
•  กำหนด criteria ของการ consult
•  จัดหาเครื่องมือที่ใช้ในการทำงาน และอบรม
พยาบาล ward ที่ดูแล PC ให้รู้วิธีใช้: pain scale,
ESUS, PPS การประเมินด้านจิตวิญญาณ/
ครอบครัว
•  สร้างระบบประเมินคุณภาพ ประเมินทุก 6 เดือน
•  สร้าง champion ในรพ.ทำให้เกิดการพัฒนางาน
•  จัดอบรมบุคลากรในรพ.อย่างทั่วถึง
•  อบรมพยาบาลศูนย์ PC รพช. สร้างเครือข่ายส่งต่อ
•  ควรมีการนิเทศติดตามงานรพช.เป็นระยะ

More Related Content

Similar to การจัดระบบบริการ Pc

4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัดwptraining
 
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวการสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวDr.Suradet Chawadet
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationCAPD AngThong
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานtepiemsak
 

Similar to การจัดระบบบริการ Pc (8)

4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด
 
We can do palliative care
We can do palliative careWe can do palliative care
We can do palliative care
 
Km pal pnk jan 2010
Km pal pnk jan 2010Km pal pnk jan 2010
Km pal pnk jan 2010
 
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวการสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
Ltc ln2
Ltc ln2Ltc ln2
Ltc ln2
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
 

More from CAPD AngThong

PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative careCAPD AngThong
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative careCAPD AngThong
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative careCAPD AngThong
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcCAPD AngThong
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีCAPD AngThong
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔CAPD AngThong
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิชCAPD AngThong
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...CAPD AngThong
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีCAPD AngThong
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานCAPD AngThong
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd finalCAPD AngThong
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 

More from CAPD AngThong (20)

PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 

การจัดระบบบริการ Pc

  • 1. 12/21/15     1   รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น •  ผู้ป่วยและครอบครัวเป็น unit of care •  มีทีมสหสาขาประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล นักสังคมฯ •  ให้การดูแลทุกมิติตามความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว •  จากการประเมินผู้ป่วย ทำ care plan เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้ รับการดูแล และจัด supportive services •  มีการเยี่ยมบ้าน และควรมี community-health service •  การจัดการอาการปวดและอาการอื่นๆ •  มีโอกาสรักษาแบบคนไข้ในกรณีมีภาวะแทรกซ้อน/ฉุกเฉิน •  มีการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ •  มีจิตอาสามาช่วย support ผู้ป่วยและญาติ •  มี Bereavement services การทำงานเป็นทีม และมีเครือข่าย •  มี community-health service รองรับ •  สามารถให้การดูแลและตายที่บ้านตามต้องการ •  มีโอกาสรักษาแบบคนไข้ใน กรณีมีภาวะ แทรกซ้อน/ฉุกเฉิน •  มีการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ตลอด 24 ชม. •  มีแม่ข่ายให้คำปรึกษาแก่ศูนย์ PC, FCT ในชุมชน •  มีจิตอาสามาช่วย support ผู้ป่วยและญาติ •  มี bereavement services * การทำงานแบบเครือข่าย * การสื่อสารและช่องทางสื่อสาร ระหว่างเครือข่าย
  • 2. 12/21/15     2   • สร้างศูนย์ PC ที่แข็งแรง
 เป็นแม่ข่ายให้คำปรึกษา • มีระบบยา opioids • สร้างเครือข่าย ระบบสื่อสาร • มีหอผู้ป่วยPC? มี OPD PC • Family care team PC • มียาที่จำเป็นสำหรับ PC • เป็นศูนย์เครื่องมือ • เป็น home care center • อบรมรพสต. จิตอาสา • Family care team PC • พัฒนาระบบจิตอาสาใน
 ชุมชน • กองทุนช่วยเหลือค่า
 เดินทาง ค่าวัสดุ ฯลฯ ß แพทย์อบรมระยะกลาง พยาบาลประจำ
 ศูนย์อบรมระยะกลาง/ยาว ß เภสัชผ่านการอบรม รับผิดชอบยา ทำ 
 เครือข่ายและ node ยา 
 ß อบรมเครือข่าย รพช/รพสต. ß สร้างระบบส่งต่อ ทำฐานข้อมูล ß สร้างระบบให้คำปรึกษา ß ฝึกอบรมระยะสั้นแพทย์ ß พยาบาลประจำศูนย์อบรมระยะกลาง ß  เภสัชผ่านการอบรม รับผิดชอบยา ß  Course อบรม TOT จิตอาสา ß ศูนย์เครื่องมือแพทย์งบกองทุนสุขภาพ ß ระบบส่งต่อ/สื่อสาร เป็นพี่เลี้ยงรพสต. ß รพสต.ได้รับการฝึกอบรมระยะสั้น ß  สสอ/รพสต.พัฒนาระบบจิตอาสา ß  ทีมเยี่ยมบ้าน ß ชุมชนมีส่วนร่วม จิตอาสา เครือข่าย
 ชุมชน พระ ฯลฯ ß ระบบเชื่อมต่อกับรพช./รพจ โรงพยาบาลแม่ข่าย ระดับเขต ศูนย์ Palliative โรงพยาบาลจังหวัดส่งต่อ อบต. อสม. จิตอาสา ส่งต่อ เครือข่ายชุมชน ส่งต่อ สนับสนุน วิชาการ ผู้ป่วย & ครอบครัว สนับสนุน วิชาการส่งต่อ องค์กร ศาสนา สนับสนุน วิชาการ FCT PC โรงพยาบาลชุมชน สนับสนุน วิชาการ •  มีทีม PC แบบสหสาขา •  แพทย์ทำหน้าที่ให้การปรึกษาผ่านการอบรม PC •  พยาบาลศูนย์ PC ผ่านการอบรม PC ทำหน้าที่
 - ขึ้นทะเบียนผู้ป่วย
 - ประสานกับทีมในหอผู้ป่วย
 - ดูแลผู้ป่วยที่ซับซ้อนที่ปรึกษาเข้ามา
 - เยี่ยมบ้าน/ประสานการเยี่ยมบ้าน
 - ประสานส่งต่อชุมชน/ส่งต่อศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
 - จัดหาอุปกรณ์ ยา/ประสานให้ผู้ป่วยมีใช้ที่บ้าน •  เภสัชกรจัดหายาโดยเฉพาะยาระงับปวดให้มีใช้ อย่างต่อเนื่อง และประสานรพช.ในการรับยาต่อ •  นักสังคมสงเคราะห์ จัดการเรื่องสิทธิ์การรักษา ประสานความช่วยเหลือจากแหล่งทรัพยากรต่างๆ •  สร้างเครือข่ายส่งต่อ •  พัฒนาบุคลากร ฝึกอบรมบุคลากรในรพ.และรพช. •  เป็นพี่เลี้ยงให้รพ.ระดับชุมชน •  แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว/แพทย์ทั่วไปให้การ ปรึกษา symptom management •  พยาบาลศูนย์ PC ผ่านการอบรมทำหน้าที่
 - ขึ้นทะเบียนผู้ป่วย
 - สื่อสารกับผู้ป่วย/ครอบครัวเป้าหมายการรักษา
 - ประสานงานทีมในหอผู้ป่วย
 - เยี่ยมบ้าน/ส่งต่อ PCU, รพสต.
 - จัดหาอุปกรณ์และยาให้ผู้ป่วยมีใช้ที่บ้าน •  เภสัชกร จัดหายาและจัดระบบยา/ node ยาโดย เฉพาะยาระงับปวดให้มีใช้อย่างต่อเนื่อง และ ประสานกับ PCU, รพสต. ในการส่งต่อเรื่องยาที่ ผู้ป่วยใช้ •  สร้างเครือข่ายเพื่อการดูแลอย่างต่อเนื่อง •  พัฒนาบุคลากร ฝึกอบรมบุคลากรในรพ. จัด อบรมอาสาสมัคร •  เป็นพี่เลี้ยงให้ รพสต.
  • 3. 12/21/15     3   •  การจัดระบบขึ้นกับทรัพยากรที่มีอยู่: primary care team โรงพยาบาลชุมชน คลีนิกในชุมชน •  กรณีแพทย์หรือพยาบาลไม่ได้ทำการเยี่ยมบ้าน อย่างสม่ำเสมอ หรือไม่มีความรู้เรื่อง PC หรือไม่มี opioids การดูแลที่บ้านจะไม่ประสบผลสำเร็จ •  กรณีที่ผู้ดูแลผู้ป่วยไม่มีความมั่นใจ หรือไม่ได้รับ การฝึกให้สามารถให้การดูแลที่ดีแก่ผู้ป่วย หรือไม่มี พยาบาลเยี่ยมบ้านที่มีความรู้เรื่อง PC ช่วยให้คำ แนะนำ การดูแลที่บ้านจะไม่สำเร็จ •  การดูแลเรื่องความปวดยังไม่ได้รับความสนใจ •  บุคลากรทางการแพทย์ขาดความเชี่ยวชาญเรื่อง การดูแลความปวด •  การจำกัดและควบคุมการใช้ยา เนื่องจากเป็น สารเสพติด ทำให้มีการใช้น้อย •  ความเข้าใจผิดเรื่องการเกิดการเสพติด กลัวผล ข้างเคียง โดยเฉพาะในผู้ป่วยเด็ก •  ยาที่มีในรพ.ไม่หลากหลาย มีน้อยชนิด/ขนาด •  ในระดับรพศ/รพท ควรให้มีการดูแล PC แบบ hospital wide โดยการจัดโครงสร้างในรพ. โดยให้ทุกหอผู้ป่วยมี พยาบาลดูแลรับผิดชอบผู้ป่วย PC ที่ไม่ซับซ้อน •  กรณีมีอาการที่ต้องจัดการหรือมี conflict ในครอบครัว หรือมีปัญหาซับซ้อน ให้พยาบาลศูนย์ PC เป็นผู้ดูแล •  มีระบบการขึ้นทะเบียนและติดตามผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง โดยการติดตามแบบ OPD case หรือโดยการเยี่ยมบ้าน โดยศูนย์ PC เอง หรือโดยเครือข่าย •  สร้างเครือข่ายและทำระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ พยาบาลรพศ/รพท ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับรพช/
 รพสต •  กำหนด criteria ของการ consult •  จัดหาเครื่องมือที่ใช้ในการทำงาน และอบรม พยาบาล ward ที่ดูแล PC ให้รู้วิธีใช้: pain scale, ESUS, PPS การประเมินด้านจิตวิญญาณ/ ครอบครัว •  สร้างระบบประเมินคุณภาพ ประเมินทุก 6 เดือน •  สร้าง champion ในรพ.ทำให้เกิดการพัฒนางาน •  จัดอบรมบุคลากรในรพ.อย่างทั่วถึง •  อบรมพยาบาลศูนย์ PC รพช. สร้างเครือข่ายส่งต่อ •  ควรมีการนิเทศติดตามงานรพช.เป็นระยะ