SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
4/25/16	
  	
  
1	
  
รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล
ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
•  ผู้ป่วยแต่ละคนมีเป้าหมายของการดูแล (Goals of
Care) แตกต่างกัน
- เลือกความสุขสบาย ไม่เจ็บปวด
- สู้เต็มที่เพื่อรักษาชีวิตหรือยืดเวลาให้นานที่สุด
- เลือกระหว่างกลาง
•  ภาระจากการรักษา การรักษาย่อมต้องแลกกับความ
ไม่สุขสบาย ผู้ป่วยยอมแลกความไม่สุขสบายกับการ
รักษาหรือไม่
•  ควรกระทำอยู่บนพื้นฐานของผลประโยชน์สูงสุด
ของผู้ป่วยเป็นที่ตั้ง
•  ควรกระทำโดยผู้ป่วยและครอบครัวร่วมกับทีม
สุขภาพ
•  ควรกระทำอย่างรอบคอบโดยใช้ข้อมูลที่ดีที่สุด
•  ควรได้รับการทบทวนเพื่อให้มั่นใจว่าได้กระทำโดย
ยึดหลักของ principles of non-maleficence,
autonomy, beneficence, justice/equity
•  ควรมุ่งเน้นไปที่ผลลัพธ์การดูแลและเป้าหมายการ
ดูแลมากกว่าพูดคุยเรื่องวิธีการรักษา

“เมื่อโรคดำเนินมาถึงจุดนั้นแล้วคุณคิดอย่างไร?”

“ผลลัพธ์ที่คุณต้องการคืออะไร?”

“ถ้าสามารถเลือกเป้าหมายการดูแลได้คุณจะ
เลือกอะไร?”
•  เมื่อเลือกเป้าหมายการดูแลได้แล้ว จึงมาลงในราย
ละเอียดการรักษา
•  แพทย์ต้องช่วยนำทางให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจ
ทางเลือกการรักษา

“ถ้าเป้าหมายของคุณคือการมีโอกาสสื่อสารกับ
ครอบครัว หมอคิดว่าการใส่เครื่องช่วยหายใจจะไม่
ตอบสนองต่อเป้าหมายการดูแลที่คุณต้องการ”

“ถ้าเป้าหมายของคุณคือการมีโอกาสอยู่ที่บ้าน
กับครอบครัวให้นานที่สุด หมอคิดว่าการเลือกให้ยา
เคมีบำบัดอีก อาจไม่ใช่ทางเลือกที่ดี”

นาย ก. 65 ปี เป็นนักธุรกิจที่ประสบ
ความสำเร็จ เป็น lung cancer ไม่
ตอบสนองต่อเคมีบำบัดและ target
therapy ต่อมามีการหายใจล้มเหลว
เนื่องจากมะเร็งกระจายไปทั่วปอด
•  ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับการ counseling เรื่องการ
รักษาแบบประคับประคอง แต่ยืนยันขอรักษาถึงที่สุด
•  ผู้ป่วยระบุต้องการให้ใส่เครื่องช่วยหายใจและทดลอง
รักษาด้วยยาเคมีบำบัดอีก
•  นาย ก.ระบุว่าต้องการการรักษาอย่างเต็มที่ รวมถึงการ
CPR จะสู้จนกว่าจะชนะหรือตายกันไปข้างหนึ่ง การตาย
อย่างสมศักดิ์ศรีคือการสู้จนถึงที่สุด
4/25/16	
  	
  
2	
  
•  นาย ข. 85 ปี End-stage COPD with
type 2 RF อยู่แต่กับบ้าน ช่วยเหลือตัวเอง
ได้พอควร
•  ระบุกับทีมสุขภาพว่าต้องการการรักษา
อย่างเต็มที่ รวมถึงการใส่ ET tube, CPR
ถ้าอาการเลวลง
•  ต่อมานาย ข. มี infective exacerbation ได้รับการใส่
ท่อและเครื่องช่วยหายใจอยู่ใน ICU 3 สัปดาห์ ต้องอยู่
ในโรงพยาบาลนาน 3 เดือน ขณะนี้ไม่สามารถช่วย
ตนเองได้ ต้องได้รับ O2 ตลอดเวลา
•  ต้องการรักษาแบบประคับประคอง เสียชีวิตอย่างสงบใน
อีก 2 เดือนต่อมา โดยปฏิเสธการทำ CPR
•  หยุดยาที่ไม่จำเป็น
•  มีการใส่ท่อให้น้อยที่สุด
•  หยุด intrusive monitoring ซึ่งทำให้เกิดความ
กังวลหรือก่อให้เกิด interventions ต่างๆตามมา
•  ละสายตาจากมุมมองทางการแพทย์ มอง
เหตุการณ์ต่างๆในมุมมองของคนธรรมดา
•  เป็นขบวนการวางแผนการรักษาล่วงหน้าสำหรับ
อนาคตที่ผู้ป่วยไม่สามารถบอกความต้องการ
ของตนเองได้
•  ควรเป็นมาตรฐานในการรักษาพยาบาล
•  Advance directive คือคำสั่งการปฏิบัติใน
สถานการณ์ต่างๆ เพื่อวางเป้าหมายการรักษา
•  ประกอบด้วยความคิดเห็นและการมองเห็น
คุณค่าในชีวิตของผู้ป่วย
•  มักร่วมกับการแต่งตั้งหรือระบุผู้มีอำนาจในการ
ตัดสินใจแทน
•  ผู้มีอำนาจในการตัดสินใจแทนเรียกว่า health
care proxy หรือ durable power of attorney
for health care.
•  ACP เป็นขบวนการ ส่วน
AD เป็นเอกสารซึ่งแจ้ง
ความจำนงค์เกี่ยวกับความ
ปราถนาของผู้ป่วย และ
กำหนดผู้มีอำนาจตัดสินใจ
แทน
•  การแจ้งความจำนงค์ด้วย
วาจาสามารถใช้ปฏิบัติได้
แต่ทางการแพทย์ต้องการ
เป็นลายลักษณ์อักษรที่เป็น
ทางการ
•  ใช้ในภาวะฉุกเฉิน
•  จำกัดเฉพาะเครื่องพยุง
ชีพ
•  ไม่ได้กำหนดเป้าหมาย
การดูแล
•  ไม่ได้กำหนดผู้มีสิทธิ์
ตัดสินใจแทน
•  ส่วนใหญ่ญาติเป็นผู้
ตัดสินใจและเซ็นแทน
4/25/16	
  	
  
3	
  
Most	
  
Limited	
  
Most	
  
Comprehensive	
  
Do Not Resuscitate/
Do Not Intubate
Advance Care
Plan
Health Care Proxy
Most	
  
Common	
  
Least	
  
Common	
  
เกี่ยวข้องกับ
•  การสื่อสาร
•  การสนทนาระหว่างผู้ป่วย ครอบครัวและทีม
สุขภาพ
•  ความเข้าใจในสถานการณ์ สภาวะโรค
•  คิดสะท้อนถึงความต้องการในชีวิตของตนเอง
•  พัฒนาแผนการเฉพาะตัวในการดูแลเมื่อระยะ
สุดท้ายของชีวิตมาถึง
•  ค้นหาและกำหนดผู้มีบทบาทในการตัดสินใจแทน
•  การพูดคุยเปิดเผย เกิดความไว้วางใจระหว่างแพทย์และผู้
ป่วยและครอบครัว
•  เกิดการทำงานเป็นทีมระหว่างผู้ป่วย ตัวแทนและทีมรักษา
•  ผู้ป่วยมีโอกาสพิจารณาสิ่งที่ผู้ป่วยเห็นว่ามีคุณค่าในชีวิต
และวางเป้าประสงค์การรักษา
•  แพทย์และผู้ตัดสินใจแทนทราบความต้องการของผู้ป่วย
•  ลดความวิตกกังวล/ความกลัวของผู้ป่วยและทีมที่รักษา
•  หลีกเลี่ยงความสับสน/ความขัดแย้งที่อาจเกิดในอนาคต
•  ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและการใช้
ทรัพยากรที่เกินความจำเป็น
ประโยคที่แพทย์ชอบใช้ สาเหตุของความล้มเหลว
“คุณต้องการให้หมอทำทุก
อย่างหรือ?”
• ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่าง
ผู้ป่วยและทีมสุขภาพ
“ถึงเวลาที่เราต้องคุยเรื่อง
การถอดถอนการรักษา”
• บ่งบอกการถูกทอดทิ้ง
“คุณต้องการให้หมอปั๊มหัว
ใจใหม?”
“ถ้าหายใจไม่ได้ต้องการ
ให้หมอใส่ท่อใหม?”
“ถ้าไตวายคุณต้องการล้าง
ไตหรือไม่”
• มุ่งเน้นแต่เรื่องการรักษา แต่ไม่
ได้สะท้อนในภาพรวมทั้งหมด
• ผู้ป่วยและครอบครัวไม่
สามารถเข้าใจทางเลือกรวมถึง
ผลลัพท์ของการรักษา
•  REview
•  Clarify
•  Interventions
•  Plan
•  Empathize
•  REview
ทบทวนว่าผู้ป่วยเข้าใจสถานการณ์โดยรวม
ของการเจ็บป่วยอย่างไร รวมถึงเหตุการที่เกิด
ขึ้นล่าสุด
•  Clarify
•  Interventions
•  Plan
•  Empathize
4/25/16	
  	
  
4	
  
•  REview
•  Clarify
ทำความกระจ่างเกี่ยวกับเป้าหมายการดูแล
(goal of care) ของผู้ป่วย – การประเมินความ
คาดหวังของผู้ป่วยทำให้ทีมสุขภาพเข้าใจกรอบ
แนวคิดในการตัดสินใจเลือกเป้าหมายการรักษา
•  Interventions
•  Plan
•  Empathize
•  อะไรทำให้คุณมีความสุข?
•  คุณมีอะไรที่ต้องทำให้สำเร็จหรือไม่?
•  อะไรคือความหวังของคุณ?
•  อะไรที่คุณหวังไม่อยากให้เกิดกับคุณ?
•  คุณคิดว่าจะเป็นอย่างไรต่อไป?
•  คุณกลัวว่าอะไรจะเกิดขึ้น?
•  REview
•  Clarify
•  Interventions – ทบทวนการดูแลรักษาที่มี
โอกาสเป็นไปได้ตามบริบทของเป้าหมายการ
ดูแลที่ผู้ป่วยเลือก และพิจารณาว่าการรักษา
เหล่านั้นช่วยให้เป้าหมายการดูแลของผู้ป่วยเป็น
ไปได้หรือไม่
•  Plan
•  Empathize
•  พูดคุยถึงการการดูแลรักษาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
ว่าเข้ากับบริบทของเป้าหมายการดูแลของผู้ป่วย
หรือไม่
– การต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลบ่อยๆ?
– การใส่สายยางให้อาหารใน advanced
dementia?
– การให้ยาปฏิชีวนะ?
– การใส่เครื่องช่วยหายใจ?
•  “ตามที่คุณต้องการอยู่อย่างอิสระไม่พึ่งพิงมาก
ที่สุด การต้องเข้าๆออกๆโรงพยาบาลบ่อยๆคงไม่
เข้ากับเป้าหมายการดูแลของคุณ”
•  “คุณต้องการให้คุณแม่คุณมีอาการดีขึ้น แต่การ
ใส่สายยางให้อาหารจะไม่ช่วยให้อาการสมอง
เสื่อมของคุณแม่คุณดีขึ้น”
•  “ถ้าเป้าหมายของคุณคือการมีโอกาสได้เสียชีวิตที่
บ้าน การใส่เครื่องช่วยหายใจจะทำให้คุณต้อง
เสียชีวิตในโรงพยาบาล”
•  REview
•  Clarify
•  Interventions
•  Plan
หลังกำหนดเป้าหมายการดูแลที่เหมาะสมตาม
ความต้องการของผู้ป่วยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ
การวางแผนการดูแล
•  Empathize
4/25/16	
  	
  
5	
  
•  หลังกำหนดเป้าหมายการดูแลที่เหมาะสมตาม
ความต้องการของผู้ป่วยแล้ว ขั้นตอนต่อไป
ทำการวางแผนการดูแลล่วงหน้า
– “อาจทดลองการรักษาตัวโรคดูก่อนสักช่วง
เวลาหนึ่ง”
– “ควรพูดคุยกับลูกของคุณเกี่ยวกับแผนการ
ดูแลที่คุณต้องการ”
•  ช่วยสร้างกรอบแนวทางการการดูแลในระหว่าง
การสนทนา
•  REview
•  Clarify
•  Interventions
•  Plan
•  Empathize
รับรู้ว่าการพูดคุยเรื่องการเปลี่ยนเป้าหมายการ
ดูแลมาดูแลแบบประคับประคอง อาจทำให้ผู้
ป่วยเสียใจ มีอารมณ์ไม่สุขสบาย
•  การพูดคุยแสดงความเห็นใจแม้เพียง 40 วินาที
สามารถช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกพอใจในการสนทนานั้น
J Clin Oncol. 1999;17(1):371-379.
•  ประโยคที่อาจใช้
“ผม/ดิฉันหวังอยากให้ทุกอย่างไม่เป็นอย่างนี้”
“การพูดคุยวันนี้อาจทำให้คุณผิดหวัง”
“ดิฉันรับรู้ว่ามันเป็นเรื่องยากสำหรับคุณ”
“คุณเผชิญกับสถานการณ์ความเจ็บป่วยได้ดีมาก”
•  การกำหนดเป้าหมายการดูแลและการวางแผน
การดูแลล่วงหน้าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญใน PC
•  การสื่อสารที่ดีเป็นหัวใจสำคัญในการทำให้
บรรลุผลสำเร็จ

More Related Content

What's hot

การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
Orthopedic bone and joint infection cd
Orthopedic   bone and joint infection cdOrthopedic   bone and joint infection cd
Orthopedic bone and joint infection cdChanin Wasuthalainun
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชZiwapohn Peecharoensap
 
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2Fujimarutachibana
 
Case discussion lateral condyle fracture
Case discussion lateral condyle fractureCase discussion lateral condyle fracture
Case discussion lateral condyle fracturenudsaba boonroj
 
Case brain tumor ณัฐวุธ 21 ก.ย. 54
Case brain tumor ณัฐวุธ  21 ก.ย. 54Case brain tumor ณัฐวุธ  21 ก.ย. 54
Case brain tumor ณัฐวุธ 21 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
Hospice และ euthanasia
Hospice และ euthanasiaHospice และ euthanasia
Hospice และ euthanasiaAj Muu
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1vora kun
 

What's hot (18)

การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
 
Review PMC 2010
Review PMC 2010Review PMC 2010
Review PMC 2010
 
Orthopedic bone and joint infection cd
Orthopedic   bone and joint infection cdOrthopedic   bone and joint infection cd
Orthopedic bone and joint infection cd
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
 
Case discussion lateral condyle fracture
Case discussion lateral condyle fractureCase discussion lateral condyle fracture
Case discussion lateral condyle fracture
 
Case brain tumor ณัฐวุธ 21 ก.ย. 54
Case brain tumor ณัฐวุธ  21 ก.ย. 54Case brain tumor ณัฐวุธ  21 ก.ย. 54
Case brain tumor ณัฐวุธ 21 ก.ย. 54
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
Renal failure report
Renal failure reportRenal failure report
Renal failure report
 
Hospice และ euthanasia
Hospice และ euthanasiaHospice และ euthanasia
Hospice และ euthanasia
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1
 

Similar to PC12: Goal setting and ACP

PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationCAPD AngThong
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain clinic pnk
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Experience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofExperience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofSunee Suvanpasu
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
Why network why 4 lifeyes 2
Why network why 4 lifeyes 2Why network why 4 lifeyes 2
Why network why 4 lifeyes 24LIFEYES
 
Why network why 4 lifeyes 2
Why network why 4 lifeyes 2Why network why 4 lifeyes 2
Why network why 4 lifeyes 24LIFEYES
 
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Pain clinic pnk
 

Similar to PC12: Goal setting and ACP (20)

PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public HealthThailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 
Experience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofExperience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles of
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
50
5050
50
 
50
5050
50
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Why network why 4 lifeyes 2
Why network why 4 lifeyes 2Why network why 4 lifeyes 2
Why network why 4 lifeyes 2
 
Why network why 4 lifeyes 2
Why network why 4 lifeyes 2Why network why 4 lifeyes 2
Why network why 4 lifeyes 2
 
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
 

More from CAPD AngThong

PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative careCAPD AngThong
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative careCAPD AngThong
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative careCAPD AngThong
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcCAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีCAPD AngThong
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔CAPD AngThong
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิชCAPD AngThong
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...CAPD AngThong
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีCAPD AngThong
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานCAPD AngThong
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd finalCAPD AngThong
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 

More from CAPD AngThong (20)

PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 

PC12: Goal setting and ACP

  • 1. 4/25/16     1   รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น •  ผู้ป่วยแต่ละคนมีเป้าหมายของการดูแล (Goals of Care) แตกต่างกัน - เลือกความสุขสบาย ไม่เจ็บปวด - สู้เต็มที่เพื่อรักษาชีวิตหรือยืดเวลาให้นานที่สุด - เลือกระหว่างกลาง •  ภาระจากการรักษา การรักษาย่อมต้องแลกกับความ ไม่สุขสบาย ผู้ป่วยยอมแลกความไม่สุขสบายกับการ รักษาหรือไม่ •  ควรกระทำอยู่บนพื้นฐานของผลประโยชน์สูงสุด ของผู้ป่วยเป็นที่ตั้ง •  ควรกระทำโดยผู้ป่วยและครอบครัวร่วมกับทีม สุขภาพ •  ควรกระทำอย่างรอบคอบโดยใช้ข้อมูลที่ดีที่สุด •  ควรได้รับการทบทวนเพื่อให้มั่นใจว่าได้กระทำโดย ยึดหลักของ principles of non-maleficence, autonomy, beneficence, justice/equity •  ควรมุ่งเน้นไปที่ผลลัพธ์การดูแลและเป้าหมายการ ดูแลมากกว่าพูดคุยเรื่องวิธีการรักษา
 “เมื่อโรคดำเนินมาถึงจุดนั้นแล้วคุณคิดอย่างไร?”
 “ผลลัพธ์ที่คุณต้องการคืออะไร?”
 “ถ้าสามารถเลือกเป้าหมายการดูแลได้คุณจะ เลือกอะไร?” •  เมื่อเลือกเป้าหมายการดูแลได้แล้ว จึงมาลงในราย ละเอียดการรักษา •  แพทย์ต้องช่วยนำทางให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจ ทางเลือกการรักษา
 “ถ้าเป้าหมายของคุณคือการมีโอกาสสื่อสารกับ ครอบครัว หมอคิดว่าการใส่เครื่องช่วยหายใจจะไม่ ตอบสนองต่อเป้าหมายการดูแลที่คุณต้องการ”
 “ถ้าเป้าหมายของคุณคือการมีโอกาสอยู่ที่บ้าน กับครอบครัวให้นานที่สุด หมอคิดว่าการเลือกให้ยา เคมีบำบัดอีก อาจไม่ใช่ทางเลือกที่ดี”
 นาย ก. 65 ปี เป็นนักธุรกิจที่ประสบ ความสำเร็จ เป็น lung cancer ไม่ ตอบสนองต่อเคมีบำบัดและ target therapy ต่อมามีการหายใจล้มเหลว เนื่องจากมะเร็งกระจายไปทั่วปอด •  ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับการ counseling เรื่องการ รักษาแบบประคับประคอง แต่ยืนยันขอรักษาถึงที่สุด •  ผู้ป่วยระบุต้องการให้ใส่เครื่องช่วยหายใจและทดลอง รักษาด้วยยาเคมีบำบัดอีก •  นาย ก.ระบุว่าต้องการการรักษาอย่างเต็มที่ รวมถึงการ CPR จะสู้จนกว่าจะชนะหรือตายกันไปข้างหนึ่ง การตาย อย่างสมศักดิ์ศรีคือการสู้จนถึงที่สุด
  • 2. 4/25/16     2   •  นาย ข. 85 ปี End-stage COPD with type 2 RF อยู่แต่กับบ้าน ช่วยเหลือตัวเอง ได้พอควร •  ระบุกับทีมสุขภาพว่าต้องการการรักษา อย่างเต็มที่ รวมถึงการใส่ ET tube, CPR ถ้าอาการเลวลง •  ต่อมานาย ข. มี infective exacerbation ได้รับการใส่ ท่อและเครื่องช่วยหายใจอยู่ใน ICU 3 สัปดาห์ ต้องอยู่ ในโรงพยาบาลนาน 3 เดือน ขณะนี้ไม่สามารถช่วย ตนเองได้ ต้องได้รับ O2 ตลอดเวลา •  ต้องการรักษาแบบประคับประคอง เสียชีวิตอย่างสงบใน อีก 2 เดือนต่อมา โดยปฏิเสธการทำ CPR •  หยุดยาที่ไม่จำเป็น •  มีการใส่ท่อให้น้อยที่สุด •  หยุด intrusive monitoring ซึ่งทำให้เกิดความ กังวลหรือก่อให้เกิด interventions ต่างๆตามมา •  ละสายตาจากมุมมองทางการแพทย์ มอง เหตุการณ์ต่างๆในมุมมองของคนธรรมดา •  เป็นขบวนการวางแผนการรักษาล่วงหน้าสำหรับ อนาคตที่ผู้ป่วยไม่สามารถบอกความต้องการ ของตนเองได้ •  ควรเป็นมาตรฐานในการรักษาพยาบาล •  Advance directive คือคำสั่งการปฏิบัติใน สถานการณ์ต่างๆ เพื่อวางเป้าหมายการรักษา •  ประกอบด้วยความคิดเห็นและการมองเห็น คุณค่าในชีวิตของผู้ป่วย •  มักร่วมกับการแต่งตั้งหรือระบุผู้มีอำนาจในการ ตัดสินใจแทน •  ผู้มีอำนาจในการตัดสินใจแทนเรียกว่า health care proxy หรือ durable power of attorney for health care. •  ACP เป็นขบวนการ ส่วน AD เป็นเอกสารซึ่งแจ้ง ความจำนงค์เกี่ยวกับความ ปราถนาของผู้ป่วย และ กำหนดผู้มีอำนาจตัดสินใจ แทน •  การแจ้งความจำนงค์ด้วย วาจาสามารถใช้ปฏิบัติได้ แต่ทางการแพทย์ต้องการ เป็นลายลักษณ์อักษรที่เป็น ทางการ •  ใช้ในภาวะฉุกเฉิน •  จำกัดเฉพาะเครื่องพยุง ชีพ •  ไม่ได้กำหนดเป้าหมาย การดูแล •  ไม่ได้กำหนดผู้มีสิทธิ์ ตัดสินใจแทน •  ส่วนใหญ่ญาติเป็นผู้ ตัดสินใจและเซ็นแทน
  • 3. 4/25/16     3   Most   Limited   Most   Comprehensive   Do Not Resuscitate/ Do Not Intubate Advance Care Plan Health Care Proxy Most   Common   Least   Common   เกี่ยวข้องกับ •  การสื่อสาร •  การสนทนาระหว่างผู้ป่วย ครอบครัวและทีม สุขภาพ •  ความเข้าใจในสถานการณ์ สภาวะโรค •  คิดสะท้อนถึงความต้องการในชีวิตของตนเอง •  พัฒนาแผนการเฉพาะตัวในการดูแลเมื่อระยะ สุดท้ายของชีวิตมาถึง •  ค้นหาและกำหนดผู้มีบทบาทในการตัดสินใจแทน •  การพูดคุยเปิดเผย เกิดความไว้วางใจระหว่างแพทย์และผู้ ป่วยและครอบครัว •  เกิดการทำงานเป็นทีมระหว่างผู้ป่วย ตัวแทนและทีมรักษา •  ผู้ป่วยมีโอกาสพิจารณาสิ่งที่ผู้ป่วยเห็นว่ามีคุณค่าในชีวิต และวางเป้าประสงค์การรักษา •  แพทย์และผู้ตัดสินใจแทนทราบความต้องการของผู้ป่วย •  ลดความวิตกกังวล/ความกลัวของผู้ป่วยและทีมที่รักษา •  หลีกเลี่ยงความสับสน/ความขัดแย้งที่อาจเกิดในอนาคต •  ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและการใช้ ทรัพยากรที่เกินความจำเป็น ประโยคที่แพทย์ชอบใช้ สาเหตุของความล้มเหลว “คุณต้องการให้หมอทำทุก อย่างหรือ?” • ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่าง ผู้ป่วยและทีมสุขภาพ “ถึงเวลาที่เราต้องคุยเรื่อง การถอดถอนการรักษา” • บ่งบอกการถูกทอดทิ้ง “คุณต้องการให้หมอปั๊มหัว ใจใหม?” “ถ้าหายใจไม่ได้ต้องการ ให้หมอใส่ท่อใหม?” “ถ้าไตวายคุณต้องการล้าง ไตหรือไม่” • มุ่งเน้นแต่เรื่องการรักษา แต่ไม่ ได้สะท้อนในภาพรวมทั้งหมด • ผู้ป่วยและครอบครัวไม่ สามารถเข้าใจทางเลือกรวมถึง ผลลัพท์ของการรักษา •  REview •  Clarify •  Interventions •  Plan •  Empathize •  REview ทบทวนว่าผู้ป่วยเข้าใจสถานการณ์โดยรวม ของการเจ็บป่วยอย่างไร รวมถึงเหตุการที่เกิด ขึ้นล่าสุด •  Clarify •  Interventions •  Plan •  Empathize
  • 4. 4/25/16     4   •  REview •  Clarify ทำความกระจ่างเกี่ยวกับเป้าหมายการดูแล (goal of care) ของผู้ป่วย – การประเมินความ คาดหวังของผู้ป่วยทำให้ทีมสุขภาพเข้าใจกรอบ แนวคิดในการตัดสินใจเลือกเป้าหมายการรักษา •  Interventions •  Plan •  Empathize •  อะไรทำให้คุณมีความสุข? •  คุณมีอะไรที่ต้องทำให้สำเร็จหรือไม่? •  อะไรคือความหวังของคุณ? •  อะไรที่คุณหวังไม่อยากให้เกิดกับคุณ? •  คุณคิดว่าจะเป็นอย่างไรต่อไป? •  คุณกลัวว่าอะไรจะเกิดขึ้น? •  REview •  Clarify •  Interventions – ทบทวนการดูแลรักษาที่มี โอกาสเป็นไปได้ตามบริบทของเป้าหมายการ ดูแลที่ผู้ป่วยเลือก และพิจารณาว่าการรักษา เหล่านั้นช่วยให้เป้าหมายการดูแลของผู้ป่วยเป็น ไปได้หรือไม่ •  Plan •  Empathize •  พูดคุยถึงการการดูแลรักษาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ว่าเข้ากับบริบทของเป้าหมายการดูแลของผู้ป่วย หรือไม่ – การต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลบ่อยๆ? – การใส่สายยางให้อาหารใน advanced dementia? – การให้ยาปฏิชีวนะ? – การใส่เครื่องช่วยหายใจ? •  “ตามที่คุณต้องการอยู่อย่างอิสระไม่พึ่งพิงมาก ที่สุด การต้องเข้าๆออกๆโรงพยาบาลบ่อยๆคงไม่ เข้ากับเป้าหมายการดูแลของคุณ” •  “คุณต้องการให้คุณแม่คุณมีอาการดีขึ้น แต่การ ใส่สายยางให้อาหารจะไม่ช่วยให้อาการสมอง เสื่อมของคุณแม่คุณดีขึ้น” •  “ถ้าเป้าหมายของคุณคือการมีโอกาสได้เสียชีวิตที่ บ้าน การใส่เครื่องช่วยหายใจจะทำให้คุณต้อง เสียชีวิตในโรงพยาบาล” •  REview •  Clarify •  Interventions •  Plan หลังกำหนดเป้าหมายการดูแลที่เหมาะสมตาม ความต้องการของผู้ป่วยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การวางแผนการดูแล •  Empathize
  • 5. 4/25/16     5   •  หลังกำหนดเป้าหมายการดูแลที่เหมาะสมตาม ความต้องการของผู้ป่วยแล้ว ขั้นตอนต่อไป ทำการวางแผนการดูแลล่วงหน้า – “อาจทดลองการรักษาตัวโรคดูก่อนสักช่วง เวลาหนึ่ง” – “ควรพูดคุยกับลูกของคุณเกี่ยวกับแผนการ ดูแลที่คุณต้องการ” •  ช่วยสร้างกรอบแนวทางการการดูแลในระหว่าง การสนทนา •  REview •  Clarify •  Interventions •  Plan •  Empathize รับรู้ว่าการพูดคุยเรื่องการเปลี่ยนเป้าหมายการ ดูแลมาดูแลแบบประคับประคอง อาจทำให้ผู้ ป่วยเสียใจ มีอารมณ์ไม่สุขสบาย •  การพูดคุยแสดงความเห็นใจแม้เพียง 40 วินาที สามารถช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกพอใจในการสนทนานั้น J Clin Oncol. 1999;17(1):371-379. •  ประโยคที่อาจใช้ “ผม/ดิฉันหวังอยากให้ทุกอย่างไม่เป็นอย่างนี้” “การพูดคุยวันนี้อาจทำให้คุณผิดหวัง” “ดิฉันรับรู้ว่ามันเป็นเรื่องยากสำหรับคุณ” “คุณเผชิญกับสถานการณ์ความเจ็บป่วยได้ดีมาก” •  การกำหนดเป้าหมายการดูแลและการวางแผน การดูแลล่วงหน้าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญใน PC •  การสื่อสารที่ดีเป็นหัวใจสำคัญในการทำให้ บรรลุผลสำเร็จ