SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
ศ.เกียรติคุณ พญ.ธัญญารัตน์ ธีรพรเลิศรัฐ
29 กุมภาพันธ์ 2559
จะมีชีวิตอยู่อย่างไม่เป็ นสุข
ทั้งกายและใจ
คนเป็ นโรคไต
ด้านร่างกาย
1. บวมใบหน้า แขน ขา
2. ปัสสาวะผิดปกติ ทั้งสีและความถี่
3. ความดันโลหิตสูง
4. ซีด เหนื่อยง่าย
5. คันตามตัว
ด้านจิตใจ
1. ซึมเศร้า
2. เบื่ออาหาร
3. นอนไม่หลับ
4. เครียด
5. เงินทอง ค่าใช้จ่ายจิปาถะมากขึ้น
6. ท้อแท้ หดหู่ ไม่มีกาลังใจ
7. ทาให้ชีวิตครอบครัวอับเฉา
คนไทยเป็ นโรคไต
มากน้อยแค่ไหน?...
มีผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย 58,385 คน
มีผู้ป่ วยรายใหม่เพิ่มขึ้น 14,249 คน
ค่าใช้จ่ายในการฟอกไต 200,000 บาทต่อคนต่อปี
รวมเป็ นเงิน 6,000 – 8,000 ล้านบาทต่อปี
รายงานของสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
(2007-2012 )
สถิติผู้ป่ วยที่ต้องได้รับการบาบัดทดแทนไต
ค.ศ. 1997 - 2012
สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
ก่อนอื่น มารู้จักหน้าที่ของไตสักเล็กน้อย
ไตมีลักษณะคล้ายถั่วอยู่บริเวณบั้นเอว 2 ข้างใต้ต่อกระดูกซี่โครง
และอยู่ 2 ข้างของกระดูกสันหลัง มีสีแดงเหมือนไตหมูขนาดความยาว
เส้นผ่าศูนย์กลางตามความยาวได้ 11-12 ซม. หนักข้างละ 150 กรัม ไต
แต่ละข้างได้รับเลือดผ่านทางหลอดเลือดแดงใหญ่ ซึ่งออกจากหัวใจ
เมื่อเลือดไหลผ่านไตจะมีการกรองผ่านหน่วยไตเล็กๆ เรียกว่า
เนฟรอน (nephron) ซึ่งมีอยู่ข้างละ 1 ล้านหน่วย หน่วยไตเล็กๆ เหล่านี้
มีหน้าที่กรองของเสียจากเลือดผ่านท่อไตและเกิดเป็นน้าปัสสาวะขับ
ออกจากร่างกายทางท่อปัสสาวะ ร่างกายสามารถดารงชีวิตอยู่ ได้ด้วย
ไตที่ปกติเพียง 1 ข้าง เพราะมีการปรับสมดุลได้ดีมาก ดังนั้น ผู้ที่
บริจาคไต 1 ข้าง จึงสามารถมีชีวิตที่ปกติด้วยไตเพียงข้างเดียวได้
1. ปรับสมดุลน้าในร่างกาย
2. ปรับสมดุลเกลือแร่และกรดด่าง
3. กาจัดของเสียออกจากร่างกาย
4. สร้างฮอร์โมนหลายชนิด
กล่าวโดยสรุป
เมื่อเลือดแดงจากหัวใจไหลเข้าสู่หลอดเลือดแดงของไตเพื่อ
ไปสู่เนฟรอน การกรองของเสียต่าง ๆ เกิดขึ้นแล้วเลือดก็ไหลกลับทาง
หลอดเลือดดาของไตเข้าสู่หัวใจต่อไปไตกรองเลือดประมาณ 240
ลิตรต่อวัน และดูดกลับ 237.6 ลิตรต่อวัน อีก 2.4 ลิตร กลายเป็ นน้า
ปัสสาวะออกจากร่างกาย
ไตมีหน้าที่อะไรบ้าง?
โรคไตวาย
1.โรคไตวายเฉียบพลัน
2.โรคไตเรื้อรัง
โรคไตวายแบ่งได้ 2 ชนิด คือ
โรคไตวายเฉียบพลัน
• การทางานของไตลดน้อยลงแบบปัจจุบันทันด่วน
• ปัสสาวะอาจออกลดลงหรือไม่ลดลงก็ได้
• สาเหตุของโรคไตเฉียบพลันเกิดได้จาก
การไหลเวียนของไตผิดปกติ เช่น อุบัติเหตุเสียเลือดมาก,
ท้องเสียรุนแรง, ยาแก้ปวด, แมลงมีพิษต่อย,
จากโรคของเนื้อไตเอง
มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ เป็ นต้น
• รักษาตามสาเหตุและรักษาประคับประคองตามอาการซึ่งส่วน
ใหญ่หายขาด
โรคไตเรื้อรัง
• การทางานของไตเสื่อมลงอย่างต่อเนื่องติดต่อกัน
มากกว่า 3 เดือน
• ในช่วงแรกผู้ป่ วยอาจจะไม่มีอาการใดๆ ก็ได้
• หน้าที่ของไตจะค่อยๆ เสื่อมลงจนในที่สุดไตไม่
สามารถทาหน้าที่ได้ตามปกติ
คือ
โรคไตเรื้อรัง
ไตของคนปกติ ไตของผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
การวินิจฉัยผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง
หมายถึง ผู้ป่ วยที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้
1. ผู้ป่ วยที่มี GFR น้อยกว่า 60 มล./1.73 ตารางเมตร
ติดต่อกันเกิน 3 เดือน
หรือ 2. ตรวจปัสสาวะพบโปรตีนเท่ากับหรือมากกว่า 1+ อย่างน้อย 2 ครั้ง
ในเวลา 3 เดือน
หรือ 3. ตรวจพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะอย่างน้อย 2 ครั้ง ในเวลา 3 เดือน
หรือ 4. ตรวจพบความผิดปกติ ทางรังสีวิทยา เช่น อัลตราซาวน์พบถุงน้าในไต,
นิ่ว, ไตขนาดเล็กหรือไตข้างเดียว
หรือ 5. ตรวจพบความผิดปกติ ทางโครงสร้าง หรือ พยาธิสภาพจาก
ผลการเจาะเนื้อเยื่อไต
ตัวอย่างภาพเอกซเรย์ไตขนาดเล็ก
ตัวอย่างการตรวจปัสสาวะ หาโปรตีน
ปกติ โปรตีนมากขึ้นตามลาดับ
การตรวจชิ้นเนื้อไต ดูพยาธิสภาพ
เพื่อระบุชนิดของโรคไต
ระยะ
ที่
คาจากัดความ
ระดับการทางานของไตหรือ
อัตราการกรองของเสีย 1
มิลลิลิตรต่อนาที/1.73 ตารางเมตร
1 ไตผิดปกติ แต่อัตราการกรองของไตยัง
ปกติ หรือเพิ่มขึ้น
>90
2 ไตเรื้อรังระยะต้น ซึ่งไตผิดปกติ และ
อัตราการกรองของไตลดลงเล็กน้อย
60-90
3a โรคไตเรื้อรังระดับปานกลาง 45-59
3b โรคไตเรื้อรังระดับปานกลาง 30-44
4 โรคไตเรื้อรังที่เป็ นมาก 15-29
5 โรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย <15
การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง
Albumin
excretion rate
(AER)
(mg/24h)
Albumin creatinine ratio (ACR)
คานิยาม(mg/
mmol)
(mg/g)
< 30 < 3 < 30
ปกติ หรือ เพิ่มขึ้น
เล็กน้อย
30-300 3-30 30-300 เพิ่มขึ้นปานกลาง
> 300 > 30 > 300 เพิ่มขึ้นมาก
เกณฑ์การวินิจฉัยอัลบูมินในปัสสาวะ
จะรู้ได้อย่างไร… ว่าเป็ นโรคไต?
• เป็ นผู้ป่ วยที่มีความเสี่ยงสูง
ต่อการเป็ นโรคไตเรื้อรัง
• ปัสสาวะเป็ นฟองมากผิดปกติ
• มีอาการบวมตามใบหน้า ขา
• ความดันโลหิตสูง
• ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ
และอัลตราซาวน์พบความผิดปกติ
อาการเตือนของโรคไต
•ปัสสาวะบ่อย และมากตอนกลางคืน
•ปัสสาวะเป็ นเลือด ปัสสาวะขุ่น
•ปวดหลัง ปวดเอว
•อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
อาการของผู้เป็ นโรคไตเรื้อรัง
• เกิดจากการมีของเสียคั่งในร่างกาย
• มีความรุนแรงตั้งแต่น้อยไปหามาก
• ถ้าเป็ นน้อยให้การรักษาแบบประคับประคอง
เพื่อชะลอการเสื่อมของไต โดยไม่จาเป็ นต้องรับ
การล้างไต
• แต่ถ้าเป็ นมากต้องรักษาโดยการทาไตเทียม
อาการเมื่อเกิดของเสียคั่ง
• บวมตามตัว หอบเหนื่อย
• เบื่ออาหาร
• คลื่นไส้ อาเจียน
• คันตามตัว
• ซีด และเลือดออกง่าย
• ควบคุมความดันโลหิตได้ยาก
• เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
• ซึม ชัก หมดสติ เสียชีวิต
ตัวอย่างปัสสาวะ ที่มีเลือดปน
ตัวอย่างปัสสาวะ ที่ผิดปกติ
ตัวอย่างปัสสาวะ ที่มีลักษณะขุ่น
ผู้ป่ วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคไตเรื้อรัง
และควรได้รับการคัดกรอง
• โรคเบาหวาน
• โรคความดันโลหิตสูง
• โรคภูมิแพ้ตนเอง (เอส แอล อี)
• ตรวจพบนิ่วในไต
• โรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ
• อายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไป
• โรคติดเชื้อในกระแสเลือดที่อาจก่อให้เกิดโรคไต
• โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะซ้าหลายๆครั้ง
• มีประวัติโรคไตเรื้อรังในครอบครัว
• ผู้ที่ใช้ยาแก้ปวดกลุ่ม เอนเสด เป็ นประจา
• โรคเก๊าท์
ผู้ป่ วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคไตเรื้อรัง
และควรได้รับการคัดกรอง
การตรวจคัดกรองทาได้อย่างไร ?
 วัดความดันโลหิต
 เจาะเลือดดูค่า “ครีอะตินีน (creatinine)”
เพื่อประเมินอัตรากรองของไต
 ตรวจปัสสาวะเพื่อประเมิน
• ปริมาณโปรตีนไข่ขาวในปัสสาวะ
• เซลล์หรือสิ่งผิดปกติอื่นๆ
แถบตรวจปัสสาวะ
กลุ่มเซลล์เม็ดเลือดแดง
และเม็ดเลือดขาว
การประเมินค่าอัตราการกรองของไต
(estimated glomerular fitration rate: eGFR)
1. ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็ นโรคไตเรื้อรัง ควรได้รับ
การประเมินค่า e GFR อย่างน้อย ปี ละ 1 ครั้ง ดวยการ
ตรวจค่าซีรั่มครีอะตินีน (serum creatinine, SCr.)
2. ควรใช้ระดับซีรั่มครีอะตินีนที่วัดด้วยวิธี enzymatic
method เพื่อเพิ่มความแม่นยาในการประเมินค่า eGFR ใน
กรณีที่โรงพยาบาลของท่านไม่สามารถตรวจด้วยวิธี
ดังกล่าว สามารถใช้ค่าระดับซีรั่มครีอะตินีนที่วัดด้วยวิธี
modified kinetic Jaffe reaction ได้
3. การรายงานผลค่าระดับซีรั่มครีอะตินีน ควรรายงาน
ผลเป็ นค่าทศนิยม 2 ตาแหน่ง เช่น ค่าซีรั่มครีอะตินีน
เท่ากับ 1.01 mg./dl.
4. คานวณค่า eGFR ด้วยสูตร CKD-EPI (chronic Kidney
Disease Epidemiology Collabor)
การประเมินค่าอัตราการกรองของไต
(estimated glomerular fitration rate: eGFR) (ต่อ)
ตาราง การคานวณค่า eGFR
ด้วยสูตร CKD-EPI
เพศ
ระดับ serum creatinine
(mg/dl)
สมการ
หญิง  eGFR = 144 (SCr/0.7)-0.329 (0.993) Age
0.7 eGFR = 144 (SCr/0.7)-1.209 (0.993) Age
ชาย  eGFR = 141 (SCr/0.7)-0.411 (0.993) Age
 eGFR = 141 (SCr/0.7)-1.209 (0.993) Age
5. ในกรณีที่ไม่สามารถคานวณด้วยสูตร CKD-EPI ได้
สามารถประเมิน creatinine clearance (CCr) ได้จาก
Crockcoft-Gault equation โดยปรับมาตรฐานด้วยค่า
พื้นที่ผิวกาย 1.73 ตารางเมตรดังนี้
CCr. (ml/min) = (140-อายุ)  น้าหนัก (กิโลกรัม)
Scr  72
การประเมินค่าอัตราการกรองของไต
(estimated glomerular fitration rate: eGFR) (ต่อ)
0.85 ถ้าเป็ นผู้หญิง
การคัดกรองผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังในผู้ใหญ่
ผู้ป่ วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็ นโรคไตเรื้อรัง
ตรวจ Scr เพื่อคานวณค่า eGFR และตรวจปัสสาวะด้วย protein dipstick
ผลลบ
ตรวจ eGFR ซ้าเมื่อครบ 3 เดือน
พิจารณาผลโปรตีนในปัสสาวะด้วย protein dipstick
eGFR  60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตรeGFR 60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร
ผลบวก ได้ผล 1+ ขึ้นไป หรือ
ตรวจ ACR จากการเก็บปัสสาวะตอนเช้ามีค่า 30-300 มก./กรัม
eGFR  60 มล./
นาที/1.73
ตารางเมตร
eGFR  60
มล./นาที/1.73
ตารางเมตร
วินิจฉัยโรคไตเรื้อรัง
(CKD)
ให้ตรวจซ้าอีก 1-2 ครั้งใน 3 เดือน
ผลเป็ นบวก 2 ใน 3 ครั้ง
วินิจฉัยโรคไตเรื้อรัง (CKD) คัดกรองซ้าทุกปี
ใช่ ไม่ใช่
ตรวจหาเม็ดเลือด
แดงในปัสสาวะถ้า
พบมากกว่า 5
เซลล์/HPF ใน
ปัสสาวะที่ปั่น หือ
ว่าผิดปกติ ควร
ตรวจซ้า ในเวลา
3 เดือน
ใช่
การประเมินผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรัง (CKD)
eGFR (มล./นาที/1.73 ตรม.)
มากกว่า 60
ไม่มีอาการ
ตรวจปัสสาวะปกติ
ไม่เป็ น CKD
ติดตามปี ละ 1 ครั้ง
น้อยกว่า 60
ซักประวัติปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไต
ตรวจปัสสาวะดูโปรตีน และเม็ดเลือดแดง
ตรวจหาสาเหตุที่ทาให้หน้าที่ไตเสื่อม
ตรวจหา creatinine และ GFR ซ้าใน1 สัปดาห์ เพื่อดูว่า
เป็ นไตวายเฉียบพลันหรือไม่
ติดตามต่อที่คลินิก CKD ถ้าไม่มีข้อบ่งชี้ของการส่งต่อ
ผู้ป่ วย
ข้อมูลจาก คาแนะนาสาหรับการดูแลผู้ป่ วยโรคไตเรื้อรังของสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย พศ. 2558
1.eGFR 30-59 มล./นาที/1.73 ตรม.และ
กรณีปรึกษา
หรือส่งต่อผู้ป่ วย
eGFR น้อยกว่า 5 มล./นาที/1.73 ตรม./ปี
2.eGFR > 5 มล./นาที/1.73 ตรม.ต่อปี
กรณีปรึกษา
หรือส่งต่อผู้ป่ วย
eGFR >25 % จากค่าตั้งต้น
กรณีปรึกษา
หรือส่งต่อผู้ป่ วย
3.eGFR<30 มล./นาที/1.73 ตรม.
4. Acute Renal Failure
ไตวายเฉียบพลัน
5. ACR > 300 มก./กรัมหรือ
PCR >500 มก./กรัม
6. BP สูงคุมไม่ได้
ด้วยยาเกิน4 ชนิด
7.เม็ดเลือดแดงในปัสสาวะเกิน
20/ HPF และหาสาเหตุไม่ได้
8. มีภาวะอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
อ้างอิง: สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย 2558
9. โรคไตเรื้อรังที่เกิดจาก
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
1. รักษาแบบประคับประคอง
เพื่อชะลอการเสื่อมของไต
2. รักษาด้วยการบาบัดทดแทนไต
เมื่อเป็ นโรคไตระยะสุดท้าย
เมื่อเป็ นโรคไตเรื้อรัง
ต้องทาอย่างไร?
ถ้าเป็ นโรคไตเรื้อรังแล้วต้องทาอย่างไร ?
1. ถ้าเป็ นโรคเบาหวานควบคุมระดับน้าตาลให้น้อยกว่า 130 มก./ดล.
2. ควบคุมความดันโลหิตให้ไม่เกิน 130/80 มม.ปรอท
3. ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในระดับปกติเสมอ
4. ถ้ามีโปรตีนไข่ขาวรั่วในปัสสาวะควบคุมให้น้อยที่สุด (<500มก./วัน)
5. ใช้ยาตามที่แพทย์สั่ง
พยายามรักษาตัวเพื่อชะลอการเสื่อมของไต โดย
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้กำรทำงำนของไตทรุดลง
(CKD progression)
1. ควบคุมระดับน้ำตำลในเลือดไม่ได้ตำม เป้ ำหมำย (HbA1C > 7%)
2. ควำมดันโลหิตที่คุมได้ไม่ดี (BP > 130/80 mmHg)
3. ระดับโปรตีนในปัสสำวะมำก
4. ใช้ยำเอนเสดเป็นประจำ
5. ได้รับสำรทึบรังสีในกำรตรวจพิเศษทำงเอกซเรย์ ซึ่งเป็นพิษต่อไต
6. เกิดไตวำยเฉียบพลันซ้ำซ้อน
7. ภำวะเลือดเป็นกรด
8. ควบคุมอำหำรไม่ดี เช่น กินเค็มมำก กินเนื้ อสัตว์มำก
9. เกิดนิ่วไตอุดตัน
10. กำรติดเชื้ อ
เมื่อเข้าสู่โรคไตระยะสุดท้ายต้องทาอย่างไร ?
แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด คือ
1. การฟอกเลือดทาไตเทียม
2. การล้างไตทางช่องท้อง
3. การปลูกถ่ายไตหรือการเปลี่ยนไต
การบาบัดทดแทนไต
การฟอกเลือดทาไตเทียม
• ใช้เครื่องฟอกเลือดกาจัด ของเสียและน้าออกจากร่างกายผ่าน
ทางเส้นเลือดที่เตรียมไว้
• ต้องฟอก 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ ที่โรงพยาบาล
• ค่าฟอกเลือดประมาณ 2,000 บาทต่อครั้ง
• ฟอกเลือดนานครั้งละประมาณ 4-5 ชั่วโมง
• ต้องทาไปตลอดชีวิตหรือจนกว่าจะได้รับการเปลี่ยนไต
การล้างไตทางช่องท้อง
• เป็ นกาจัดของเสียและน้าส่วนเกินออกจาก
ร่างกายผ่านทางสายที่ฝังไว้ทางหน้าท้อง
• โดยใช้ผนังหน้าท้องเป็ นตาแหน่งที่แลกเปลี่ยน
ของเสียและน้า
• ผู้ป่ วยสามารถทาที่บ้านด้วยตนเอง
• เปลี่ยนน้ายาล้างไตทางช่องท้องเข้า-ออกวันละ 4 ครั้ง
แต่ละครั้งห่างกัน 6 ชั่วโมง
• ต้องทาไปตลอดชีวิตหรือจนกว่าจะได้รับการเปลี่ยนไต
การปลูกถ่ายไต
 ปลูกถ่ายไตใหม่ให้กับผู้ป่ วย
 ไตใหม่ได้มาจาก
 ญาติพี่น้องร่วมสายโลหิต
บริจาคด้วยความสมัครใจ
 ผู้ป่ วยที่สมองตายแต่ไต
ยังทางานปกติอยู่
และญาติยินยอม
โรคไตที่พบบ่อย
ในประเทศไทย
โรคไตเรื้อรังที่พบบ่อยในประเทศไทย
1. โรคไตจากเบาหวาน
2. โรคไตจากความดันโลหิตสูง
3. โรคไตจากหลอดเลือดฝอยไตอักเสบ
4. โรคนิ่วในไต
5. กินยาแก้ปวดข้ออย่างแรง (เอ็นเสด) เป็ นประจา
6. โรคถุงน้าในไตแต่กาเนิด
ตัวอย่างยาแก้ปวดข้ออย่างแรง
(เอ็นเสด)
ยาแก้ปวดข้อ
ยาล้างไต
เภสัชกร
... จะไม่เป็ นโรคไต
ทาอย่างไร?
วิธีการป้ องกันไม่ให้เป็ นโรคไต
จะต้องทาอย่างไร ?
• รักษาโรคประจาตัว โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ไขมันโลหิตสูง เกาต์ เป็ นต้น
• ควบคุมน้าหนัก ออกกาลังกายสม่าเสมอ 30 นาทีต่อวัน
อย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์
• ควบคุมอาหาร โดยเฉพาะ หวาน มัน เค็ม
• ดื่มน้าวันละ 8-10 แก้วต่อวัน
• งดสูบบุหรี่
• งดยาแก้ปวดอย่างแรง (เอ็นเสด)
• พบแพทย์ตามนัด รับประทานตามแพทย์สั่ง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง

More Related Content

What's hot

คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESAphisit Aunbusdumberdor
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 

What's hot (20)

คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Cpg anemia
Cpg anemiaCpg anemia
Cpg anemia
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 

Viewers also liked

คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CkdTuang Thidarat Apinya
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตCAPD AngThong
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...CAPD AngThong
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรKamol Khositrangsikun
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney DiseaseCAPD AngThong
 
แนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไตแนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไตCAPD AngThong
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)wanvisa kaewngam
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการKhannikar Elle
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd finalCAPD AngThong
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 

Viewers also liked (20)

คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
Renal failure
Renal failureRenal failure
Renal failure
 
แนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไตแนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไต
 
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
Ncd forum 2016 (ckd complication kpp)
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 

Similar to การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง

โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโฮลลี่ เมดิคอล
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting caseSHAMONBEST1
 
NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554vora kun
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Utai Sukviwatsirikul
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood programTHANAKORN
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลมtacrm
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์Kamol Khositrangsikun
 
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม  Bโครงงานการทดลองน้ำอัดลม  B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม BKM117
 

Similar to การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง (20)

โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
 
Ihd
IhdIhd
Ihd
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting case
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 
Detail3
Detail3Detail3
Detail3
 
NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554NTstep3round2 9_jan2554
NTstep3round2 9_jan2554
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood program
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลม
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
 
Cpg menopause
Cpg menopauseCpg menopause
Cpg menopause
 
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม  Bโครงงานการทดลองน้ำอัดลม  B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 

More from CAPD AngThong

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อCAPD AngThong
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ PcCAPD AngThong
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPCAPD AngThong
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifeCAPD AngThong
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcCAPD AngThong
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationCAPD AngThong
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative careCAPD AngThong
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative careCAPD AngThong
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative careCAPD AngThong
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcCAPD AngThong
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care CAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีCAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิชCAPD AngThong
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...CAPD AngThong
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีCAPD AngThong
 

More from CAPD AngThong (20)

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
 

การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง