SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
12/21/15	
  	
  
1	
  
ศรีเวียง ไพโรจน์กุล
ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
•  แผนจำหน่ายที่ดีจะช่วยให้การดูแลที่บ้านราบรื่น
•  Benzar และพวกพบว่าปัญหาที่ผู้ป่วย/ครอบครัว
วิตกกังวลเมื่อถูกจำหน่ายกลับบ้าน ได้แก่ 

- การขาดข้อมูลเรื่องพยากรณ์โรคและการ

ดำเนินโรค

- การขาดความรู้เรื่องการจัดการอาการ 

- ขาดวิธีการใช้ยาที่เป็นลายลักษณ์อักษร 

- การขอความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
•  การวางแผนจำหน่ายที่ดีจะช่วยให้ครอบครัวเกิด
ความมั่นใจในการไปดูแลที่บ้าน
Benzar E. J Pall Med 2011;14:65
•  บ้านเป็นสถานที่ที่ผู้ป่วยและครอบครัวคุ้นเคย
เต็มไปด้วยความทรงจำ ความสุข ความรัก ความ
รู้สึกปลอดภัย สามารถกำหนดกิจกรรมต่างๆตาม
ความต้องการ
•  ครอบครัวสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความเป็น
ส่วนตัว ไม่ต้องถูกจำกัดเวลาเยี่ยม
•  ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล
ให้การดูแลด้านจิตสังคม จิตวิญญาณได้ดีกว่าทีม
สุขภาพ
•  สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการดูแลในรพ.
•  ต้องมีการเตรียมการด้านสถานที่ ซึ่งในบางอาจ
ไม่สะดวก เช่นสถานที่คับแคบ ขาดอุปกรณ์การ
แพทย์ที่จำเป็นต้องใช้
•  จำเป็นต้องมีผู้ดูแลตลอดเวลา ผู้ดูแลต้องมีความ
ตั้งใจเพราะการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายเป็นงานที่
หนักทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
•  ครอบครัวมักวิตกกังวลในเรื่องการจัดการอาการ
หรือกรณีมีภาวะฉุกเฉิน ขาดความมั่นใจ
เนื่องจากไม่มีทีมสุขภาพดูแลตลอดเวลา
•  การจัดการอาการที่มีประสิทธิภาพ
•  การวางแผนจำหน่ายที่ดี ให้ความมั่นใจว่าจะได้
รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
•  การทำ advance care plan –เข้าใจเป้าหมาย
การรักษาเพื่อ หลีกเลี่ยง readmission
•  การสื่อสารระหว่างทีมสุขภาพทุกระดับ ส่งต่อ
ข้อมูลเรื่องโรคและแผนการดูแลล่วงหน้า
•  ทีม PC รพช.สามารถเข้าถึงการปรึกษาทีม PC
specialist แม่ข่ายได้
12/21/15	
  	
  
2	
  
•  มีอุปกรณ์อุปกรณ์การแพทย์ที่จำเป็นใช้ที่บ้าน
•  เข้าถึงการปรึกษาได้ตลอด 24 ชั่วโมง
•  มีเครือข่ายปฐมภูมิรองรับการส่งต่อและเยี่ยมบ้าน
•  เชื่อมโยงเครือข่าย นำบริการต่างๆไปให้ผู้ป่วย
•  มียาระงับปวดกลุ่ม opioids ที่เข้าถึงได้ง่าย
สามารถเอายาฉีด MO ออกไปให้ที่บ้าน เนื่องจาก
ในระยะก่อนเสียชีวิต ผู้ป่วยมักไม่สามารถกลืนยา
ได้ รวมถึงผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานยาจากมี
ภาวะการอุดตันของทางเดินอาหาร
•  การวางแผนจำหน่ายที่ดี

- สามารถจำหน่ายกลับบ้านได้อย่างไร้รอยต่อ 

- ป้องกันการ re-admission 

- ให้สามารถเสียชีวิตอย่างสงบที่บ้านตามความ

ต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
•  การสื่อสารที่สำคัญ

- สภาวะโรค พยากรณ์โรค 

- แผนการจัดการอาการใน

ระยะสุดท้าย 

- สถานที่อยู่ในระยะสุดท้าย/

เสียชีวิต
•  Advance care plan

- สื่อสารให้ทราบทั่วกันใน

ระหว่างครอบครัว 

- สื่อสารให้ทีมสุขภาพทราบ
•  สภาพโดยรวมและสมรรถนะ
•  อาการไม่สุขสบาย
•  ตรวจสอบสายสวนต่างๆ: สายให้
อาหาร สายสวนปัสสาวะ PCN
•  ประเมินการได้รับยา ปรับเปลี่ยน
รูปแบบการให้ยาตามความเหมาะ
สม เช่น ผู้ป่วยที่ใกล้เสียชีวิต หรือ
มีปัญหาลำไส้อุดตัน ควรพิจารณา
ให้ยาทางใต้ผิวหนัง
•  ความสามารถในการดูแลผู้ป่วย
•  ความต้องของผู้ดูแล: ด้าน
สุขภาพ จิตใจ ความต้องการ
การช่วยเหลือทางสังคม การมี
โอกาสได้พัก
•  สอนวิธีการประเมินและให้ยา
•  ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการที่อาจ
พบได้ในระยะใกล้เสียชีวิต
•  ทบทวนแผนการดูแลล่วงหน้า : การรับรู้โรค/
พยากรณ์โรค แผนการรักษา การปฏิเสธการพยุง
ชีพ และสถานที่ดูแลที่ผู้ป่วยต้องการ
12/21/15	
  	
  
3	
  
Medical
•  การจัดการอาการอย่างมีประสิทธิภาพ
•  คาดการณ์อาการที่อาจเกิดในช่วงก่อนเสียชีวิต
(anticipatory symptoms)
•  สั่งยาให้เพียงพอตามระยะเวลาเสียชีวิตของผู้ป่วย
Nursing
•  ประสานส่งต่อกับพยาบาลเครือข่าย
•  กรณีมีการให้ยาทางใต้ผิวหนังและเครื่อง syringe
driver ส่งต่อวีธีการใช้เครื่องและการผสมยา
•  ช่องทางสื่อสารและการปรึกษาระหว่างเครือข่าย
Pharmacy
•  เป็นส่วนหนึ่งของทีม PC ให้คำ
ปรึกษาในเรื่องยาที่จำเป็นต้องใช้
ถ้าใช้ continuous subcut.
infusion ตรวจสอบความเข้ากัน
ของยา วิธีผสมยา
•  ตรวจสอบยา ความถูกต้อง ขนาด
ยาที่ใช้
•  ให้มั่นใจว่าผู้ป่วยมียาใช้ได้พอ
เพียง
Symptom Drug Route
• Pain & 

dyspnea
• Morphine
• Fentanyl
• oral/rectal suppo./SC/IV
• SC/SL
• Agitation
/Confusion
• Derilium
• Midazolam
• Ativan
• Valium inj.
• Halloperidol
• SC/IV/SL
• oral/SL
• vein/rectal suppo.
• oral/SC
• Death rattle • 1% Atropine ED
• Atropine INJ
• SL q 4 hrs
• SC
• N/V • Metoclopramide/

Haloperidol
• SC/IV
• Ascites • Octreotide • SC/IV
• Urinary retent. • คาสายปัสสาวะไว้จนกว่าจะเสียชีวิต
Medical
•  ใบ refer ที่มีราย
ละเอียดเพียงพอ
•  สมุดประจำตัวผู้ป่วย
•  แผนการดูแล
•  Advance care plan/
directives
Nursing
•  ตรวจสอบ discharge
checklist
ใบส่งต่อ
ข้อมูลผู้ป่วย
ระยะท้ายให้
เครือข่ายเพื่อ
ดูแลต่อเนื่อง
ในเขตพื้นที่
สปสช.เขต 7
Checklist Yes No Comment
1. พูดคุยกับผู้ป่วย/ครอบครัวถึงสภาวะโรค แผนการดูแล
2. เบอร์โทรศัพท์ติดต่อผู้ป่วยและครอบครัว
3. การจัดเตรียมอุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้ที่บ้าน
4. ประสานรถส่งต่อ
5. จัดเตรียมยาและเบิกยาที่ต้องใช้ที่บ้าน
6. ตรวจสอบความพร้อมของครอบครัว การใช้ยา
7.เบอร์โทรศัพท์และช่องทางติดต่อของเครือข่ายที่ส่งต่อ
8. สมุดประจำตัวผู้ป่วยและ advance directives
9. ติดต่อเครือข่ายรับดูแลต่อ
10.อธิบายช่องทางติดต่อทีมสุขภาพแก่ผู้ป่วย/ครอบครัว
11. ประสานการเยี่ยมบ้าน
12/21/15	
  	
  
4	
  
•  ติดตามสอบถามผู้ป่วยและครอบครัว/เครือข่าย
ส่งต่อ
•  ให้ข้อแนะนำแก่เครือข่าย เรื่องการจัดการ
อาการ การจัดหายาให้ถ้าเครือข่ายไม่มี
•  สื่อสารให้ข้อมูลผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการ
ดำเนินโรค เตรียมแผนการดูแลล่วงหน้า
•  ฝึกผู้ดูแลหลักให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้
•  ให้ความมั่นใจว่าจะได้รับการช่วยเหลือเพื่อ
ควบคุมอาการไม่สุขสบายต่างๆที่เกิดขึ้นที่บ้าน
เพราะมีทีมที่พร้อมให้การช่วยเหลือทางโทรศัพท์
ตลอด 24 ชั่วโมง
•  มีอุปกรณ์การแพทย์สำหรับให้ผู้ป่วยยืมกลับไปใช้
ที่บ้าน เช่น เตียง ที่นอนลม เครื่องผลิตออกซิเจน
ถังออกซิเจน และ syringe driver เป็นต้น
•  ระยะทางไม่เกิน 20 กม. ศูนย์ฯเยี่ยมบ้านเอง ที่
เหลือประสานเครือข่ายเยี่ยมให้
•  ค้นหาเครือข่ายที่ร่วมดูแล เช่น รพสต. รพช.
•  ผู้ป่วย ครอบครัวและทีมเครือข่ายสุขภาพ สามารถ
เข้าถึงทีมการุณรักษ์ได้ตลอด 24 ชม.
•  ประสานนักสังคมสงเคราะห์ของศูนย์ฯ ร่วมดูแล
ค้นหาแหล่งช่วยเหลือในชุมชน เช่น อสม. อบต.
•  การเข้าถึงยาที่จำเป็น เช่น MO เป็นต้น
•  กลับเข้ามารับการรักษาในรพ.ได้ถ้าจำเป็น
เขตในอำเภอเมือง
โทรติดตามอาการ
เยี่ยมบ้าน
ประสาน PCU 

ลงเยี่ยมบ้านด้วยกัน
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายใกล้เสียชีวิต
- เยี่ยมบ้าน ให้ยาทาง syringe driver
- ติดตามจนกว่าจะเสียชีวิต
ติดตามอาการที่ OPD
ให้ญาติมารับยา
นอกเขตอำเภอเมือง
- โทรประสาน รพ.สต.
เยี่ยมบ้าน
- ส่งใบ refer, care plan

- ให้ช่องทางการติดต่อ

เพื่อติดตามผู้ป่วย
- ให้คำปรึกษาเรื่องการ

จัดการอาการ
- ส่งต่อข้อมูลให้รพช
- สอบถามเรื่องยาที่มี

ถ้าไม่มียา à จัดส่งยาให้

ผู้ป่วยทาง EMS
- ส่งใบ refer, care plan
- ให้ช่องทางการติดต่อเพื่อ

ติดตามผู้ป่วย
- ให้คำปรึกษาเรื่องการ

จัดการอาการ
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายใกล้เสียชีวิต
- ส่ง syringe driver และยาฉีดให้
- เครือข่ายลงเติมยา

More Related Content

What's hot

Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านAimmary
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 

Viewers also liked

คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...CAPD AngThong
 
น้ำด่างมีคุณประโยชน์ทางการแพทย์หรือไม่???
น้ำด่างมีคุณประโยชน์ทางการแพทย์หรือไม่???น้ำด่างมีคุณประโยชน์ทางการแพทย์หรือไม่???
น้ำด่างมีคุณประโยชน์ทางการแพทย์หรือไม่???Utai Sukviwatsirikul
 
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะแผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะnative
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
Ckd สหสาขา 1 4-59
Ckd สหสาขา 1 4-59Ckd สหสาขา 1 4-59
Ckd สหสาขา 1 4-59CAPD AngThong
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative careCAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีCAPD AngThong
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative careCAPD AngThong
 
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559Kamol Khositrangsikun
 
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัดTuang Thidarat Apinya
 
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckdประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckdKamol Khositrangsikun
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงdadaauto
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
 
Eep time issue_1
Eep time issue_1Eep time issue_1
Eep time issue_1
 
น้ำด่างมีคุณประโยชน์ทางการแพทย์หรือไม่???
น้ำด่างมีคุณประโยชน์ทางการแพทย์หรือไม่???น้ำด่างมีคุณประโยชน์ทางการแพทย์หรือไม่???
น้ำด่างมีคุณประโยชน์ทางการแพทย์หรือไม่???
 
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะแผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
Ckd สหสาขา 1 4-59
Ckd สหสาขา 1 4-59Ckd สหสาขา 1 4-59
Ckd สหสาขา 1 4-59
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
 
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
 
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckdประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 

Similar to การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ

การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ PcCAPD AngThong
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1Sarachai Sookprasong
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcCAPD AngThong
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifeCAPD AngThong
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPCAPD AngThong
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54Watcharapong Rintara
 
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Dr. Obrom Aranyapruk
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric CarePolyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Carekridauakridathikarn
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553Nithimar Or
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่duangkaew
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลมtacrm
 

Similar to การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ (20)

การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
 
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
Physical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for PhamacistPhysical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for Phamacist
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric CarePolyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
Dementia HHC2.pptx
Dementia HHC2.pptxDementia HHC2.pptx
Dementia HHC2.pptx
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลม
 
2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 

More from CAPD AngThong

PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationCAPD AngThong
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative careCAPD AngThong
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcCAPD AngThong
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care CAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔CAPD AngThong
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิชCAPD AngThong
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...CAPD AngThong
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีCAPD AngThong
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานCAPD AngThong
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd finalCAPD AngThong
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 

More from CAPD AngThong (20)

PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ

  • 1. 12/21/15     1   ศรีเวียง ไพโรจน์กุล ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น •  แผนจำหน่ายที่ดีจะช่วยให้การดูแลที่บ้านราบรื่น •  Benzar และพวกพบว่าปัญหาที่ผู้ป่วย/ครอบครัว วิตกกังวลเมื่อถูกจำหน่ายกลับบ้าน ได้แก่ 
 - การขาดข้อมูลเรื่องพยากรณ์โรคและการ
 ดำเนินโรค
 - การขาดความรู้เรื่องการจัดการอาการ 
 - ขาดวิธีการใช้ยาที่เป็นลายลักษณ์อักษร 
 - การขอความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา •  การวางแผนจำหน่ายที่ดีจะช่วยให้ครอบครัวเกิด ความมั่นใจในการไปดูแลที่บ้าน Benzar E. J Pall Med 2011;14:65 •  บ้านเป็นสถานที่ที่ผู้ป่วยและครอบครัวคุ้นเคย เต็มไปด้วยความทรงจำ ความสุข ความรัก ความ รู้สึกปลอดภัย สามารถกำหนดกิจกรรมต่างๆตาม ความต้องการ •  ครอบครัวสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความเป็น ส่วนตัว ไม่ต้องถูกจำกัดเวลาเยี่ยม •  ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล ให้การดูแลด้านจิตสังคม จิตวิญญาณได้ดีกว่าทีม สุขภาพ •  สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการดูแลในรพ. •  ต้องมีการเตรียมการด้านสถานที่ ซึ่งในบางอาจ ไม่สะดวก เช่นสถานที่คับแคบ ขาดอุปกรณ์การ แพทย์ที่จำเป็นต้องใช้ •  จำเป็นต้องมีผู้ดูแลตลอดเวลา ผู้ดูแลต้องมีความ ตั้งใจเพราะการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายเป็นงานที่ หนักทั้งด้านร่างกายและจิตใจ •  ครอบครัวมักวิตกกังวลในเรื่องการจัดการอาการ หรือกรณีมีภาวะฉุกเฉิน ขาดความมั่นใจ เนื่องจากไม่มีทีมสุขภาพดูแลตลอดเวลา •  การจัดการอาการที่มีประสิทธิภาพ •  การวางแผนจำหน่ายที่ดี ให้ความมั่นใจว่าจะได้ รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง •  การทำ advance care plan –เข้าใจเป้าหมาย การรักษาเพื่อ หลีกเลี่ยง readmission •  การสื่อสารระหว่างทีมสุขภาพทุกระดับ ส่งต่อ ข้อมูลเรื่องโรคและแผนการดูแลล่วงหน้า •  ทีม PC รพช.สามารถเข้าถึงการปรึกษาทีม PC specialist แม่ข่ายได้
  • 2. 12/21/15     2   •  มีอุปกรณ์อุปกรณ์การแพทย์ที่จำเป็นใช้ที่บ้าน •  เข้าถึงการปรึกษาได้ตลอด 24 ชั่วโมง •  มีเครือข่ายปฐมภูมิรองรับการส่งต่อและเยี่ยมบ้าน •  เชื่อมโยงเครือข่าย นำบริการต่างๆไปให้ผู้ป่วย •  มียาระงับปวดกลุ่ม opioids ที่เข้าถึงได้ง่าย สามารถเอายาฉีด MO ออกไปให้ที่บ้าน เนื่องจาก ในระยะก่อนเสียชีวิต ผู้ป่วยมักไม่สามารถกลืนยา ได้ รวมถึงผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานยาจากมี ภาวะการอุดตันของทางเดินอาหาร •  การวางแผนจำหน่ายที่ดี
 - สามารถจำหน่ายกลับบ้านได้อย่างไร้รอยต่อ 
 - ป้องกันการ re-admission 
 - ให้สามารถเสียชีวิตอย่างสงบที่บ้านตามความ
 ต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว •  การสื่อสารที่สำคัญ
 - สภาวะโรค พยากรณ์โรค 
 - แผนการจัดการอาการใน
 ระยะสุดท้าย 
 - สถานที่อยู่ในระยะสุดท้าย/
 เสียชีวิต •  Advance care plan
 - สื่อสารให้ทราบทั่วกันใน
 ระหว่างครอบครัว 
 - สื่อสารให้ทีมสุขภาพทราบ •  สภาพโดยรวมและสมรรถนะ •  อาการไม่สุขสบาย •  ตรวจสอบสายสวนต่างๆ: สายให้ อาหาร สายสวนปัสสาวะ PCN •  ประเมินการได้รับยา ปรับเปลี่ยน รูปแบบการให้ยาตามความเหมาะ สม เช่น ผู้ป่วยที่ใกล้เสียชีวิต หรือ มีปัญหาลำไส้อุดตัน ควรพิจารณา ให้ยาทางใต้ผิวหนัง •  ความสามารถในการดูแลผู้ป่วย •  ความต้องของผู้ดูแล: ด้าน สุขภาพ จิตใจ ความต้องการ การช่วยเหลือทางสังคม การมี โอกาสได้พัก •  สอนวิธีการประเมินและให้ยา •  ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการที่อาจ พบได้ในระยะใกล้เสียชีวิต •  ทบทวนแผนการดูแลล่วงหน้า : การรับรู้โรค/ พยากรณ์โรค แผนการรักษา การปฏิเสธการพยุง ชีพ และสถานที่ดูแลที่ผู้ป่วยต้องการ
  • 3. 12/21/15     3   Medical •  การจัดการอาการอย่างมีประสิทธิภาพ •  คาดการณ์อาการที่อาจเกิดในช่วงก่อนเสียชีวิต (anticipatory symptoms) •  สั่งยาให้เพียงพอตามระยะเวลาเสียชีวิตของผู้ป่วย Nursing •  ประสานส่งต่อกับพยาบาลเครือข่าย •  กรณีมีการให้ยาทางใต้ผิวหนังและเครื่อง syringe driver ส่งต่อวีธีการใช้เครื่องและการผสมยา •  ช่องทางสื่อสารและการปรึกษาระหว่างเครือข่าย Pharmacy •  เป็นส่วนหนึ่งของทีม PC ให้คำ ปรึกษาในเรื่องยาที่จำเป็นต้องใช้ ถ้าใช้ continuous subcut. infusion ตรวจสอบความเข้ากัน ของยา วิธีผสมยา •  ตรวจสอบยา ความถูกต้อง ขนาด ยาที่ใช้ •  ให้มั่นใจว่าผู้ป่วยมียาใช้ได้พอ เพียง Symptom Drug Route • Pain & 
 dyspnea • Morphine • Fentanyl • oral/rectal suppo./SC/IV • SC/SL • Agitation /Confusion • Derilium • Midazolam • Ativan • Valium inj. • Halloperidol • SC/IV/SL • oral/SL • vein/rectal suppo. • oral/SC • Death rattle • 1% Atropine ED • Atropine INJ • SL q 4 hrs • SC • N/V • Metoclopramide/
 Haloperidol • SC/IV • Ascites • Octreotide • SC/IV • Urinary retent. • คาสายปัสสาวะไว้จนกว่าจะเสียชีวิต Medical •  ใบ refer ที่มีราย ละเอียดเพียงพอ •  สมุดประจำตัวผู้ป่วย •  แผนการดูแล •  Advance care plan/ directives Nursing •  ตรวจสอบ discharge checklist ใบส่งต่อ ข้อมูลผู้ป่วย ระยะท้ายให้ เครือข่ายเพื่อ ดูแลต่อเนื่อง ในเขตพื้นที่ สปสช.เขต 7 Checklist Yes No Comment 1. พูดคุยกับผู้ป่วย/ครอบครัวถึงสภาวะโรค แผนการดูแล 2. เบอร์โทรศัพท์ติดต่อผู้ป่วยและครอบครัว 3. การจัดเตรียมอุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้ที่บ้าน 4. ประสานรถส่งต่อ 5. จัดเตรียมยาและเบิกยาที่ต้องใช้ที่บ้าน 6. ตรวจสอบความพร้อมของครอบครัว การใช้ยา 7.เบอร์โทรศัพท์และช่องทางติดต่อของเครือข่ายที่ส่งต่อ 8. สมุดประจำตัวผู้ป่วยและ advance directives 9. ติดต่อเครือข่ายรับดูแลต่อ 10.อธิบายช่องทางติดต่อทีมสุขภาพแก่ผู้ป่วย/ครอบครัว 11. ประสานการเยี่ยมบ้าน
  • 4. 12/21/15     4   •  ติดตามสอบถามผู้ป่วยและครอบครัว/เครือข่าย ส่งต่อ •  ให้ข้อแนะนำแก่เครือข่าย เรื่องการจัดการ อาการ การจัดหายาให้ถ้าเครือข่ายไม่มี •  สื่อสารให้ข้อมูลผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการ ดำเนินโรค เตรียมแผนการดูแลล่วงหน้า •  ฝึกผู้ดูแลหลักให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ •  ให้ความมั่นใจว่าจะได้รับการช่วยเหลือเพื่อ ควบคุมอาการไม่สุขสบายต่างๆที่เกิดขึ้นที่บ้าน เพราะมีทีมที่พร้อมให้การช่วยเหลือทางโทรศัพท์ ตลอด 24 ชั่วโมง •  มีอุปกรณ์การแพทย์สำหรับให้ผู้ป่วยยืมกลับไปใช้ ที่บ้าน เช่น เตียง ที่นอนลม เครื่องผลิตออกซิเจน ถังออกซิเจน และ syringe driver เป็นต้น •  ระยะทางไม่เกิน 20 กม. ศูนย์ฯเยี่ยมบ้านเอง ที่ เหลือประสานเครือข่ายเยี่ยมให้ •  ค้นหาเครือข่ายที่ร่วมดูแล เช่น รพสต. รพช. •  ผู้ป่วย ครอบครัวและทีมเครือข่ายสุขภาพ สามารถ เข้าถึงทีมการุณรักษ์ได้ตลอด 24 ชม. •  ประสานนักสังคมสงเคราะห์ของศูนย์ฯ ร่วมดูแล ค้นหาแหล่งช่วยเหลือในชุมชน เช่น อสม. อบต. •  การเข้าถึงยาที่จำเป็น เช่น MO เป็นต้น •  กลับเข้ามารับการรักษาในรพ.ได้ถ้าจำเป็น เขตในอำเภอเมือง โทรติดตามอาการ เยี่ยมบ้าน ประสาน PCU 
 ลงเยี่ยมบ้านด้วยกัน ผู้ป่วยระยะสุดท้ายใกล้เสียชีวิต - เยี่ยมบ้าน ให้ยาทาง syringe driver - ติดตามจนกว่าจะเสียชีวิต ติดตามอาการที่ OPD ให้ญาติมารับยา นอกเขตอำเภอเมือง - โทรประสาน รพ.สต. เยี่ยมบ้าน - ส่งใบ refer, care plan
 - ให้ช่องทางการติดต่อ
 เพื่อติดตามผู้ป่วย - ให้คำปรึกษาเรื่องการ
 จัดการอาการ - ส่งต่อข้อมูลให้รพช - สอบถามเรื่องยาที่มี
 ถ้าไม่มียา à จัดส่งยาให้
 ผู้ป่วยทาง EMS - ส่งใบ refer, care plan - ให้ช่องทางการติดต่อเพื่อ
 ติดตามผู้ป่วย - ให้คำปรึกษาเรื่องการ
 จัดการอาการ ผู้ป่วยระยะสุดท้ายใกล้เสียชีวิต - ส่ง syringe driver และยาฉีดให้ - เครือข่ายลงเติมยา