SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ( ปรับปรุง พ . ศ . 2543)
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
นักศึกษา   หมายถึง  นักศึกษาปริญญาโทสาขาการวัดและประเมินผลการศึกษา  ที่มีสภาพเป็นนักศึกษาอยู่ในปีการศึกษา  2551 อาจารย์  หมายถึง  คณาจารย์ประจำภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา  คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ที่ปฏิบัติงาน  ในปีการศึกษา  2551 ผู้ทรงคุณวุฒิ   หมายถึง  ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำหรือใช้งานทางการวัดและประเมินผลการศึกษา  และ / หรือ  ผู้มีประสบการณ์ในการสอนนักศึกษาปริญญาโทและ / หรือปริญญาเอกทางการวัดและประเมินผลการศึกษา คุณลักษณะของมหาบัณฑิต   หมายถึง  สมรรถภาพในการทำงานของมหาบัณฑิต  ได้แก่  ความรู้ทั่วไป  ความรู้วิชาชีพ  ตลอดจนการนำความรู้ในหลักสูตรไปใช้ตามการประเมินของผู้บังคับบัญชา
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],วัตถุประสงค์ของหลักสูตร Mean SD ระดับ ความคิดเห็น การผ่านเกณฑ์ ความชัดเจนของวัตถุประสงค์ 4.46 0.400 มาก ผ่าน ความสอดคล้องกับความต้องการของสังคมปัจจุบัน 4.40 0.663 มาก ผ่าน ความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน 4.22 0.624 มาก ผ่าน การนำไปปฏิบัติจริงได้ 4.27 0.557 มาก ผ่าน โดยรวม 4.32 0.608 มาก ผ่าน
ตัวบ่งชี้ Mean SD ระดับ ความคิดเห็น การผ่านเกณฑ์ การจัดกระบวนวิชามีความสมบูรณ์ / ครอบคลุม 4.16 0.548 มาก ผ่าน เนื้อหาวิชามีความครอบคลุมในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ 4.11 0.510 มาก ผ่าน เนื้อหาวิชามีความสอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน 3.95 0.566 มาก ผ่าน เนื้อหาวิชามีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน 4.22 0.663 มาก ผ่าน เนื้อหาวิชามีความเป็นสากล 4.22 0.574 มาก ผ่าน เนื้อหาวิชาสามารถนำไปปฏิบัติจริงในการทำงานและชีวิตประจำวัน 4.30 0.608 มาก ผ่าน โดยรวม 4.14 0.566 มาก ผ่าน
กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาบังคับ ศว .( 055)720  ทฤษฎีการทดสอบและวัดผลการศึกษา  100(4) - - ศว .( 055)723  การวัดบุคลิกและพฤติกรรมทางสังคม 100(4) - - ศว .( 055)724  การวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา 100(4) - - ศว .( 055)726  การวัดความถนัดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 100(4) - - ศว .( 055)740  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการวิจัย 100(4) - - ศว .( 055)755  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทางการวิจัยการศึกษาขั้นสูง   75(3) 25(1) - ศว .( 055)770  วิจัยการศึกษา 75(3) 25(1) - ศว .( 055)820  การประเมินผลการศึกษา   100(4) - - ศว .( 055)891  สัมมนาการวัดประเมินผลและวิจัยการศึกษา   100(4) - -
กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาเลือก ศว .( 055)725  การสร้างเครื่องมือวัดผลรายวิชา   25(1) 75(3) - ศว .( 055)727  ทฤษฎีการตอบสนอง 25(1) 75(3) - ศว .( 055)728  การประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน   25(1) 75(3) - ศว .( 055)729  การวัดเชาว์อารมณ์  25(1) 75(3) - ศว .( 055)761  การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงปริมาณทางการศึกษา - 100(4) - ศว .( 055)762  การวิเคราะห์ข้อมูลทางการวิจัยการศึกษาที่ไม่อิงเงื่อนไขประชากร   - 100(4) -
กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาบังคับ ศว .( 055)720  ทฤษฎีการทดสอบและวัดผลการศึกษา  100(5) - - ศว .( 055)723  การวัดบุคลิกและพฤติกรรมทางสังคม 20(1) 80(4) - ศว .( 055)724  การวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา 20(1) 80(4) - ศว .( 055)726  การวัดความถนัดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 60(3) 40(2) - ศว .( 055)740  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการวิจัย 100(5) - - ศว .( 055)755  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทางการวิจัยการศึกษาขั้นสูง   100(5) - - ศว .( 055)770  วิจัยการศึกษา 100(5) - - ศว .( 055)820  การประเมินผลการศึกษา   80(4) 20(1) - ศว .( 055)891  สัมมนาการวัดประเมินผลและวิจัยการศึกษา   100(5) - -
กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาเลือก ศว .( 055)725  การสร้างเครื่องมือวัดผลรายวิชา   20(1) 80(4) - ศว .( 055)727  ทฤษฎีการตอบสนอง 20(1) 80(4) - ศว .( 055)728  การประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน   - 100(5) - ศว .( 055)729  การวัดเชาว์อารมณ์  - 100(5) - ศว .( 055)761  การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงปริมาณทางการศึกษา 60(3) 40(2) - ศว .( 055)762  การวิเคราะห์ข้อมูลทางการวิจัยการศึกษาที่ไม่อิงเงื่อนไขประชากร   - 100(5) -
กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาบังคับ ศว .( 055)720  ทฤษฎีการทดสอบและวัดผลการศึกษา  100.00(27) - - ศว .( 055)723  การวัดบุคลิกและพฤติกรรมทางสังคม 70.37(19) 29.63(8) - ศว .( 055)724  การวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา 92.59(25) 7.41(2) - ศว .( 055)726  การวัดความถนัดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 96.30(26) 3.70(1) - ศว .( 055)740  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการวิจัย 96.30(26) 3.70(1) - ศว .( 055)755  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทางการวิจัยการศึกษาขั้นสูง   74.07(20) 25.93(7) - ศว .( 055)770  วิจัยการศึกษา 88.89(24) 11.11(3) - ศว .( 055)820  การประเมินผลการศึกษา   96.30(26) 3.70(1) - ศว .( 055)891  สัมมนาการวัดประเมินผลและวิจัยการศึกษา   85.19(23) 14.81(4) -
กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาเลือก ศว .( 055)725  การสร้างเครื่องมือวัดผลรายวิชา   92.59(25) 7.41(2) - ศว .( 055)727  ทฤษฎีการตอบสนอง 51.85(14) 48.15(13) - ศว .( 055)728  การประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน   70.37(19) 29.63(8) - ศว .( 055)729  การวัดเชาว์อารมณ์  29.63(8) 70.37(19) - ศว .( 055)761  การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงปริมาณทางการศึกษา 37.04(10) 62.96(16) - ศว .( 055)762  การวิเคราะห์ข้อมูลทางการวิจัยการศึกษาที่ไม่อิงเงื่อนไขประชากร   29.63(8) 70.37(19) -
กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาบังคับ ศว .( 055)720  ทฤษฎีการทดสอบและวัดผลการศึกษา  100.00(30) - - ศว .( 055)723  การวัดบุคลิกและพฤติกรรมทางสังคม 60.00(18) 40.00(12) - ศว .( 055)724  การวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา 93.33(28) 6.67(2) - ศว .( 055)726  การวัดความถนัดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 100.00(30) - - ศว .( 055)740  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการวิจัย 100.00(30) - - ศว .( 055)755  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทางการวิจัยการศึกษาขั้นสูง   100.00(30) - - ศว .( 055)770  วิจัยการศึกษา 100.00(30) - - ศว .( 055)820  การประเมินผลการศึกษา   100.00(30) - - ศว .( 055)891  สัมมนาการวัดประเมินผลและวิจัยการศึกษา   93.33(28) 6.67(2) -
กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาเลือก ศว .( 055)725  การสร้างเครื่องมือวัดผลรายวิชา   26.67(8) 73.33(22) - ศว .( 055)727  ทฤษฎีการตอบสนอง 50.00(15) 50.00(15) - ศว .( 055)728  การประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน   36.67(11) 63.33(19) - ศว .( 055)729  การวัดเชาว์อารมณ์  30.00(9) 70.00(21) - ศว .( 055)761  การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงปริมาณทางการศึกษา 36.67(11) 63.33(19) - ศว .( 055)762  การวิเคราะห์ข้อมูลทางการวิจัยการศึกษาที่ไม่อิงเงื่อนไขประชากร   43.33(13) 56.67(17) -
1.3  ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงหลักสูตร  ด้านบริบทของหลักสูตร  (Context) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร   ในการกำหนดวัตถุประสงค์ ควรเน้นให้มีการฝึกปฏิบัติมากขึ้น  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้จริงมากขึ้น  และควรปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพการศึกษาและสังคมปัจจุบัน โครงสร้างของหลักสูตร  ในรายวิชาเลือกสิ่งที่สำคัญคือความรู้หลายๆด้านไม่ใช่รู้เรื่องการวัดและประเมินเท่านั้น  เช่น  จะประเมินหลักสูตรก็ต้องเข้าใจการพัฒนาหลักสูตรพอสมควร  ฉะนั้นก็จะเกี่ยวกับการเลือกวิชาเลือกว่ากรอบการงานที่จะนำไปปฏิบัติจริงได้ เนื้อหาวิชาของหลักสูตร  เนื้อหาวิชาควรเน้นการประเมินตามสภาพจริง และควรมีการเพิ่มรายวิชาที่สอนเกี่ยวกับงานวัดผลภายในโรงเรียน  การประกันคุณภาพการศึกษา  ( การประกันคุณภาพภายใน - ภายนอก )  การบริหารและประเมินโครงการ  การวิจัยสถาบัน และการวิจัยนโยบายทางการศึกษา  การสร้างเกณฑ์การประเมิน  (Rubric)  และจัดเนื้อหาให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง
[object Object],วุฒิการศึกษา / ตำแหน่งทางวิชาการ ลำดับความสำคัญ ( Ratings) เกณฑ์การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยชียงใหม่ วุฒิการศึกษา -  ปริญญาโท  จำนวน  1  คน -  ปริญญาเอก  จำนวน  4  คน ( น้ำหนัก  :  ปริญญาโท   =3.5, ปริญญาเอก   = 4) ตำแหน่งทางวิชาการ -  อาจารย์  จำนวน  -  คน -  ผู้ช่วยศาสตราจารย์  จำนวน  2  คน -  รองศาสตราจารย์  จำนวน  3  คน  ( น้ำหนัก  :  อาจารย์   =1,   ผศ .  = 2, รศ .  =3) 3.9 0 2.60 ได้ลำดับขั้น  A   ( ค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ  3.50 ) ได้ลำดับขั้น  B  ( ค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ  2.50)
ผลงานทางวิชาการ  (n= 5 ) ค่าเฉลี่ย เกณฑ์การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1.  งานวิจัย  จำนวน  17  เรื่อง 4.4 ได้ลำดับขั้น  A   ( ค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ  2.00 ) 2.  งานตำรา  จำนวน  2  เรื่อง 3.  งานเขียนบทความ   จำนวน  3  เรื่อง
เกณฑ์จากแนวทาง การประกันคุณภาพ ( ชั่วโมง / สัปดาห์ ) ปฏิบัติจริง ( ชั่วโมง / สัปดาห์ ) 1.  งานสอนในระดับปริญญาตรี 2.  งานสอนในระดับปริญญาโท 3.  ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป 4.  ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 5.  งานอื่นๆ ที่ภาควิชา / คณะ / มหาวิทยาลัยกำหนด 6-10 3-6 1 1 2 3-6 3-6 2-5 3 2-5
ทรัพยากร ความพอเพียง คุณภาพ ความสะดวก Mean SD Mean SD Mean SD 1.  ห้องเรียน 3.71 0.700 3.43 0.490 3.93 0.592 2.   เอกสารประกอบการเรียนการสอน 3.29 0.447 4.14 0.520 4.00 0.37 3.  สื่อการเรียนการสอน 3.64 0.608 3.64 0.608 3.64 0.480 4.   เอกสาร วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ใน  การค้นคว้า 3.86 0.989 4.21 0.412 4.29 0.700 5.  หนังสือ ตำรา ที่ใช้สำหรับการค้นคว้า 3.29 0.959 3.71 0.883 3.71 0.883 6.   ห้องสมุดคณะศึกษาศาสตร์ 3.21 1.204 4.29 0.700 4.00 0.927 7.  สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3.50 0.980 3.71 0.700 4.00 0.56 8.  เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำหรับการเรียนการสอน 2.71 0.700 3.00 0.927 2.79 0.860
ทรัพยากร ความพอเพียง คุณภาพ ความสะดวก Mean SD Mean SD Mean SD 1.  ห้องเรียน 3.96 0.793 3.67 0.770 3.74 0.699 2.   เอกสารประกอบการเรียนการสอน 3.89 0.737 4.04 0.637 4.00 0.667 3.  สื่อการเรียนการสอน 3.89 0.629 3.96 0.637 3.96 0.693 4.   เอกสาร วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ใน  การค้นคว้า 3.89 0.831 4.11 0.567 3.93 0.766 5.  หนังสือ ตำรา ที่ใช้สำหรับการค้นคว้า 3.56 0.875 3.81 0.772 3.78 0.685 6.   ห้องสมุดคณะศึกษาศาสตร์ 3.81 0.862 4.11 0.567 4.19 0.611 7.  สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3.93 0.813 4.04 0.637 3.81 0.772 8.  เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำหรับการเรียนการสอน 3.48 0.918 3.56 0.994 3.44 0.875
ทรัพยากร ความพอเพียง คุณภาพ ความสะดวก Mean SD Mean SD Mean SD 1.  ห้องเรียน 4.00 0.490 3.59 0.489 3.71 0.485 2.   เอกสารประกอบการเรียนการสอน 3.71 0.663 3.65 0.678 3.88 0.678 3.  สื่อการเรียนการสอน 3.76 0.48 3.71 0.574 3.65 0.592 4.   เอกสาร วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ใน  การค้นคว้า 3.59 0.911 3.88 0.583 3.71 0.574 5.  หนังสือ ตำรา ที่ใช้สำหรับการค้นคว้า 3.29 0.663 3.82 0.854 3.76 0.648 6.   ห้องสมุดคณะศึกษาศาสตร์ 3.47 0.775 3.76 0.648 3.82 0.707 7.  สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3.41 0.774 3.53 0.775 3.53 0.775 8.  เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำหรับการเรียนการสอน 3.76 0.548 3.53 0.608 3.76 0.648
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร   อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรควรมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก และสำเร็จการศึกษาทางวัดผล การทดสอบ และการประเมิน ภาระงานของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร   อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรบางคนมีภาระงานมากเกินไป ทำให้มีเวลาในการค้นคว้า / วิจัยน้อยลง ทรัพยากรในการดำเนินการ หนังสือ ตำรา ที่ใช้สำหรับการค้นคว้า   ควรให้ทันสมัยและให้หลากหลาย  และปรับปรุงให้มีคุณภาพดี  ควรควบคุมดูแลไม่ให้หายจากห้องสมุด  และควรมีห้องพักของนักศึกษา พร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการตรวจเช็คสภาพให้ดีอยู่สม่ำเสมอ และอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับประชุมหารือ ทำการบ้านหรืองานที่ได้รับมอบหมาย อันเป็นแนวทางส่งเสริมการช่วยเหลือกันทางวิชาการ และความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา ตลอดจนความผูกพันกับคณะและมหาวิทยาลัย
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป สภาพที่เป็นจริง ( ร้อยละ ) ไม่ทำ ทำเป็นบางครั้ง ทำเป็นประจำ 1.  ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ และบริการต่างๆ ของมหาวิทยาลัยและชุมชน 1.75 70.18 28.07 2.  ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับหลักสูตรและการเลือกวิชาเรียน - 31.58 68.42 3.  ให้คำปรึกษา แนะนำในวิธีการเรียน การค้นคว้า และติดตามผลการเรียนของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ - 52.63 47.37 4.  ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับปัญหาส่วนตัวและการปรับตัว 3.51 52.63 43.86 5.  ให้คำปรึกษา แนะนำทางด้านวิชาการต่างๆ ที่มีปัญหา - 43.86 56.14 6.   ให้ความเป็นกันเองแก่นักศึกษา - 40.35 59.65 7.  เข้าร่วมกิจกรรมกับนักศึกษา - 43.86 56.14 8.  อุทิศเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อปรึกษา - 35.09 64.91 9.  ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ ความประพฤติ และจริยธรรมของนักศึกษา 3.51 61.40 35.09
หน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ สภาพที่เป็นจริง  ( ร้อยละ ) ไม่ทำ ทำเป็นบางครั้ง ทำเป็นประจำ 1.  เสนอแนะแหล่งค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง - 38.60 61.40 2.   ให้คำปรึกษา แนะนำในการเลือกปัญหาในการทำวิทยานิพนธ์ 1.75 22.81 75.4 4 3.  ให้คำปรึกษา แนะนำในการเรียน การค้นคว้า และติดตามผลการเรียนของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ 1.75 17.54 80.70 4.  ให้คำปรึกษา แนะนำทางด้านวิชาการต่างๆ ที่มีปัญหา - 28.07 71.93 5.  เสนอแนะวิธีดำเนินการวิจัย - 33.33 66.67 6.  มีความรอบรู้เพียงพอในเรื่องวิทยานิพนธ์ที่นักศึกษากำลังศึกษา - 26.32 73.68 7.  ให้คำแนะนำ ตรวจ และวิจารณ์งานเขียนวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาอย่างมีเหตุผลโดยไม่ชักช้า - 35.09 64.91 8.   ให้ความเป็นกันเองแก่นักศึกษาที่ปรึกษา - 31.58 68.42 9.  สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการต่างๆ - 31.58 68.42 10.  อุทิศเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อปรึกษาวิทยานิพนธ์อย่างสม่ำเสมอ - 26.32 73.68 11.  ดูแล สนับสนุน และผลักดันให้นักศึกษาทำงานให้สำเร็จในเวลาอันสมควร 3.51 26.32 70.18 12.  เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น - 29.82 70.18
กิจกรรมการเรียนการสอน  การวัดและประเมินผล ส่วนน้อย ครึ่งต่อครึ่ง ส่วนมาก ทุกวิชา (%) (%) (%) (%) 1.  มีการแจ้งให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ เนื้อหากระบวนวิชาที่สอน วิธีวัดและประเมินผลได้อย่างเหมาะสม - 1.75 38.60 59.65 2.  เข้าสอนและเลิกสอนตรงเวลา - 7.02 28.07 64.91 3.  สอนตามหัวข้อและเวลาที่กำหนด - 5.26 43.86 50.88 4.  แสดงให้เห็นว่ามีการเตรียมการสอนล่วงหน้า 1.75 3.51 28.07 68.42 5.  มีเอกสารและตำราให้นักศึกษาใช้อ่านประกอบ - 8.77 40.35 50.88 6.  มีการใช้สื่อประกอบการสอนได้อย่างเหมาะสม - 12.28 49.12 38.60 7.  มีการจัดลำดับเนื้อหาเป็นไปอย่างมีระบบและขั้นตอนชัดเจน - 7.02 40.35 52.63 8.  บรรยายด้วยน้ำเสียงที่ชัดเจนและใช้ภาษาเข้าใจง่ายและไม่นอกเรื่องจนเสียเนื้อหาหลัก - 3.51 59.65 36.84
กิจกรรมการเรียนการสอน  การวัดและประเมินผล ส่วนน้อย ครึ่งต่อครึ่ง ส่วนมาก ทุกวิชา (%) (%) (%) (%) 9.  มีการอธิบายหรือยกตัวอย่างประกอบการบรรยายให้เห็นจริงและชัดเจน - 3.51 42.11 54.39 10.   มีการเน้นและสรุปจุดสำคัญของเนื้อหาวิชาได้อย่างชัดเจน - 3.51 59.65 36.84 11.  มีวิธีการสอนที่กระตุ้นการคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหา 1.75 1.75 42.11 56.14 12.  มีวิธีการสอนที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน - 3.51 61.40 35.09 13.  มีการรับฟังและตอบข้อซักถามของนักศึกษาได้อย่างเหมาะสม - 7.02 52.63 40.35 14.   เปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าพบและขอคำปรึกษานอกชั้นเรียน - 8.77 40.35 50.88 15.   มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมที่มีประโยชน์ในระหว่างการบรรยาย 1.75 5.26 52.63 42.11 16.  มีการวัดผลตามวัตถุประสงค์และครอบคลุมเนื้อหาวิชาที่แจ้งไว้ - 5.26 42.11 52.63 17.   มีการแจ้งผลการสอบทุกครั้ง 1.75 8.77 40.35 50.88
[object Object],[object Object]
[object Object]
[object Object],[object Object],ระดับผลการเรียนเฉลี่ย จำนวน ร้อยละ ระดับผลการเรียนเฉลี่ยเท่ากับ  3.50  ขึ้นไป  ระดับผลการเรียนเฉลี่ยเท่ากับ  3.25 - 3.49 ระดับผลการเรียนเฉลี่ยเท่ากับ  3.01  –  3.24  25 2 0 92.59 7.40 0.00 รวม 27 100.00
[object Object],ปีการศึกษาที่เข้าศึกษา จำนวนนักศึกษาที่รับเข้าศึกษา ระยะเวลาที่ใช้ศึกษา จำนวนนักศึกษาที่อยู่ระหว่างการทำวิทยานิพนธ์ รวม 2  ปี 2.5  ปี 3  ปี 3.5  ปี 4  ปี 4.5  ปี 5  ปี 2543 18 - 7 6 3 1 - - - 17 2545 17 - 12 1 1 2 - - - 16 2547 15 - - 2 1 - 3 9 - 15 2549 16 - - - - - - - 16 16 2551 13 - - - - - - - 13 13 รวม 69 - 19 9 5 3 3 9 29 77
[object Object],[object Object],คุณลักษณะของมหาบัณฑิต Mean SD ระดับความคิดเห็น การผ่านเกณฑ์ 1.  รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน 4.45 0.497 มาก ผ่าน 2.  สามารถแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้วยหลักการและเหตุผล 4.30 0.557 มาก ผ่าน 3.  ความถูกต้องของผลงานที่ทำ 4.35 0.477 มาก ผ่าน 4.  ความทันเวลาของผลงานที่ได้ 4.25 0.622 มาก ผ่าน 5.  มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงาน 4.20 0.678 มาก ผ่าน 6.  ความสามารถในการทำงานกลุ่ม 4.25 0.622 มาก ผ่าน 7.  มีความใฝ่รู้ หรือเพิ่มพูนความรู้ 4.65 0.477 มากที่สุด ผ่าน 8.  การอุทิศตนเพื่องาน  ( รักงาน ) 4.70 0.458 มากที่สุด ผ่าน 9.  ความมีมนุษยสัมพันธ์ 4.60 0.490 มากที่สุด ผ่าน 10.  ความมีน้ำใจ 4.65 0.477 มากที่สุด ผ่าน
[object Object],[object Object],คุณลักษณะของมหาบัณฑิต Mean SD ระดับความคิดเห็น การผ่านเกณฑ์ 11.   ความอดทน 4.45 0.497 มาก ผ่าน 12.   ความเชื่อมั่นในตนเอง 4.35 0.572 มาก ผ่าน 13.  การรู้จักกาละเทศะ 4.65 0.477 มากที่สุด ผ่าน 14.  ความมีระเบียบในการทำงาน 4.30 0.714 มาก ผ่าน 15.   การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4.15 1.108 มาก ผ่าน 16.  ความเป็นผู้นำที่ดี 4.10 0.624 มาก ผ่าน 17.  ความเป็นผู้ตามที่ดี 4.35 0.572 มาก ผ่าน 18.   ความยืดหยุ่นในการทำงาน 4.20 0.600 มาก ผ่าน 19.  ทัศนคติที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน 4.55 0.497 มากที่สุด ผ่าน 20.   ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 4.75 0.433 มากที่สุด ผ่าน
คุณลักษณะของมหาบัณฑิต Mean SD ระดับความคิดเห็น การผ่านเกณฑ์ 1.  มีความรู้ความเข้าใจในการวัดและประเมินผลการศึกษา 4.7 0.458 มากที่สุด ผ่าน 2.  สามารถวางแผนและสร้างเครื่องมือดำเนินการวัดและประเมินผลการศึกษา 4.65 0.477 มากที่สุด ผ่าน 3.  สามารถเลือกใช้สถิติทางการศึกษากับงานวิจัยได้เหมาะสม 4.7 0.458 มากที่สุด ผ่าน 4.  สามารถพัฒนา เครื่องมือวัดและประเมินผลการศึกษาได้ 4.45 0.589 มาก ผ่าน 5.  เป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการศึกษาได้ 4.6 0.583 มากที่สุด ผ่าน 6.  เป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำเกี่ยวกับสถิติการศึกษาได้ 4.6 0.583 มากที่สุด ผ่าน
คุณลักษณะของมหาบัณฑิต Mean SD ระดับความคิดเห็น การผ่านเกณฑ์ 7.   เป็นวิทยากรเรื่องการวัดและประเมินผลการศึกษาได้ 4.2 0.678 มาก ผ่าน 8.  เป็นวิทยากรเรื่องสถิติการศึกษาได้ 4.15 0.726 มาก ผ่าน 9.  เป็นวิทยากรเรื่องการวิจัยการศึกษาได้ 4.1 0.700 มาก ผ่าน 10.   ปรับปรุงงานทางการวัดและประเมินผลการศึกษา 4.35 0.572 มาก ผ่าน 11.  ริเริ่มสร้างสรรค์งานทางการวัดและประเมินผลการศึกษา 4.25 0.622 มาก ผ่าน 12.  แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานทางการวัดและประเมินผลการศึกษา 4.35 0.654 มาก ผ่าน
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
1.  ด้านบริบท  (Context) โครงสร้างและเนื้อหาของหลักสูตร การจัดกระบวนวิชาในหลักสูตร  ผู้ทรงคุณวุฒิ  อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร  มหาบัณฑิตและนักศึกษา  มีความคิดเห็นว่ากระบวนวิชาส่วนใหญ่สอดคล้องและเหมาะสมกับการจัดกระบวนวิชาตามสภาพที่เป็นจริง  ยกเว้นการวัดบุคลิกและพฤติกรรมทางสังคม การวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา  ควรจัดให้เป็นวิชาเลือก ซึ่งในรายวิชาการวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา  อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตร มีข้อเสนอแนะให้เปลี่ยนชื่อเป็นการวัดผลภาคปฏิบัติทางการศึกษา เพราะเนื่องจากเน้นการวัดผลภาคปฏิบัติทั่วไป  ส่วนการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงปริมาณทางการศึกษา  การประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน ควรจัดให้เป็นวิชาบังคับ ซึ่งในรายวิชาการประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน นักศึกษามีความเห็นว่าสามารถนำไปใช้ในการทำงานจริงและในด้านการจัดการเรียนการสอนของตน
2.  ผลการประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้น   (Input) คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร   จากการประเมินคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนกระบวนวิชาในหลักสูตรในด้านวุฒิการศึกษา  และตำแหน่งทางวิชาการแล้ว  พบว่าวุฒิการศึกษาของอาจารย์มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90  อยู่ในลำดับขั้น  A   ( ค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ  3.50 )  อยู่ในระดับสูงมาก เมื่อเทียบกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ซึ่งเมื่อพิจารณาวุฒิการศึกษาของอาจารย์  ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปริญญาเอก ซึ่งอยู่ในระดับสูงมาก ทั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าอาจารย์ผู้สอนควรสำเร็จการศึกษาทางวัดผล การทดสอบ และการประเมินโดยตรง  ส่วนตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้สอนกระบวนวิชาในหลักสูตรมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  2.60  อยู่ในลำดับขั้น  B   ( ค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 2.50)  อยู่ในระดับสูงมาก  เมื่อเทียบกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ซึ่งจะพบว่าอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรมีภาระงานมากเกินไป ทำให้มีเวลาในการค้นคว้าและวิจัยน้อยลง ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร  ตั้งแต่ปี พ . ศ . 2549  –  2551  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  4.4  อยู่ในลำดับขั้น  A  ( ค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ  2.00  )  อยู่ในระดับสูงมาก เมื่อเทียบกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่  จากการสอบถามอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรมีภาระงานมาก ทำให้มีเวลาในการทำผลงานวิจัยน้อยลง
การแบ่งภาระงานของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร  จากการประเมินการแบ่งภาระงานที่ปฏิบัติจริงเมื่อเทียบกับเกณฑ์แนวทางการประกันคุณภาพทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สามารถประเมินได้ว่าภาระงานของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรในส่วนของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป  อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และงานอื่นๆ ที่ภาควิชา / คณะ / มหาวิทยาลัยกำหนดสูงกว่าเกณฑ์ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้   ส่วนงานสอนในระดับปริญญาตรี  และงานสอนในระดับปริญญาโท  เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ทรัพยากรในการดำเนินการ   จากการประเมินทรัพยากรในการดำเนินการในหลักสูตร  อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร  มหาบัณฑิตและนักศึกษา  มีความคิดเห็นว่า  ทรัพยากรในการดำเนินการในหลักสูตรมีความพอเพียง  มีคุณภาพ  มีความสะดวกในการรับบริการ อยู่ในระดับปานกลาง  ทั้งนี้มีข้อเสนอแนะให้มีการจัดหนังสือ เอกสาร ตำรา ให้มีความทันสมัยและมีคุณภาพพร้อมใช้งาน  ควรจัดให้มีห้องสำหรับนักศึกษาในสาขาวิชาได้ใช้เป็นห้องพักเพื่อปรึกษา หารือ ทำงานที่ได้รับมอบหมาย อันเป็นแนวทางส่งเสริมการช่วยเหลือกันทางวิชาการ และความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา  และมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย มีคุณภาพพร้อมใช้งาน
3.  ผลการประเมินด้านกระบวนการ   (Process) การบริหารหลักสูตร   จากการประเมินการบริหารหลักสูตร พบว่าอาจารย์ผู้สอนมีความเห็นสอดคล้องกันว่า การบริหารหลักสูตรมีความเหมาะสม กล่าวคือภาควิชามีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร  หลักสูตรจากอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการแต่งตั้งและมีการจัดทำแผนการบริหารงานอย่างเป็นระบบ และการจัดทำแผนการบริหารงานในการดำเนินงานหลักสูตรมีการจัดทำเป็นโครงการประจำปีงบประมาณทุกปี  โดยสอดคล้องกับแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่  (2543)  ที่กล่าวว่า คณะ  สาขาวิชา  ภาควิชา  มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและกระบวนวิชาที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อกำหนดนโยบาย  ทิศทาง วางแผนงบประมาณ  วางแผนการจัดการเรียนการสอน  ทำแผนพัฒนาอาจารย์ในหลักสูตร  สรรหาทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการศึกษา  สรรหาอาจารย์  ติดตามและประเมินผลหลักสูตร  ตลอดจนพัฒนากลไกการควบคุมคุณภาพหลักสูตร
บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป   จากการประเมินสภาพที่เป็นจริง  พบว่าส่วนใหญ่อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป ได้ทำเป็นบางครั้ง  ส่วนให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับหลักสูตรและการเลือกวิชาเรียน  ให้คำปรึกษา แนะนำทางด้านวิชาการต่างๆ ที่มีปัญหา  ให้ความเป็นกันเองแก่นักศึกษา  เข้าร่วมกิจกรรมกับนักศึกษา  อุทิศเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อปรึกษา  ได้ทำเป็นประจำ  เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาควรมีการนัดพบปะกันเป็นประจำเดือนละ  1  ครั้งเป็นอย่างน้อย อีกทั้งยังเป็นการบ่มเพาะวัฒนธรรมที่ดีของสาขาวิชา บทบาทของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์   จากการประเมินบทบาทคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์จากสภาพที่เป็นจริง  จากมหาบัณฑิตและนักศึกษาส่วนใหญ่ได้ทำเป็นประจำ  บทบาทดังกล่าวจะได้ผลดีต่อนักศึกษาที่จะทำให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ โดยจะต้องมีการเร่งรัด กระตุ้นและพบปะพูดคุยเป็นระยะ ให้นักศึกษาเกิดความกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน   การวัดและประเมินผล   จากการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน   การวัดและประเมินผล  มหาบัณฑิตและนักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนการสอน  การวัดและประเมินผล  ตามสภาพที่เป็นจริงของอาจารย์ประจำหลักสูตร ส่วนใหญ่ได้ทำทุกวิชา  ส่วนการใช้สื่อประกอบการสอนได้อย่างเหมาะสม  การบรรยายด้วยน้ำเสียงที่ชัดเจนและใช้ภาษาเข้าใจง่ายและไม่นอกเรื่องจนเสียเนื้อหาหลัก  มีการเน้นและสรุปจุดสำคัญของเนื้อหาวิชาได้อย่างชัดเจน  มีวิธีการสอนที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน  มีการรับฟังและตอบข้อซักถามของนักศึกษาได้อย่างเหมาะสม   และมีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมที่มีประโยชน์ในระหว่างการบรรยาย ได้ทำเป็นส่วนมาก  ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนนั้นควรเน้นให้มีการได้ลงมือปฏิบัติจริง และจัดบรรยากาศในการเรียนที่ไม่เครียด น่าสนใจ มีสื่อการสอนที่หลากหลายและทันสมัย
[object Object],[object Object],[object Object]
จำนวนและระยะเวลาที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษา  จากการประเมินจำนวนและระยะเวลาที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษา  พบว่ามหาบัณฑิตใช้เวลาในการศึกษามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  3.5  ปี  เมื่อเทียบกับเกณฑ์การประเมินคุภาพบัณฑิตศึกษา  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จัดอยู่ในลำดับขั้น  E   ( จำนวนปีที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษามากกว่าเกณฑ์เกิน  1.5  ปี )  ซึ่งถือว่าจำนวนปีที่สำเร็จการศึกษาของมหาบัณฑิตต่ำกว่าเกณฑ์มาก อาจเนื่องมาจากการที่นักศึกษาขาดความกระตือรือร้นในการทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วได้ทำการเสนอหัวข้อและโครงร่างได้ตั้งแต่ภาคเรียนที่  1  ปีที่  2  ของการศึกษา ซึ่งจะทำให้นักศึกษาสำเร็จตามกำหนด  โดยทางภาควิชาควรมีการวางแผนการศึกษาเพื่อช่วยให้นักศึกษาสำเร็จภายในเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ซึ่งควรมีการติดตาม /  จัดโครงการเร่งรัด จัดการสัมมนาวิทยานิพนธ์อย่างเป็นระยะ
คุณลักษณะและคุณภาพในการปฏิบัติงานของมหาบัณฑิต   จากการประเมินคุณลักษณะและคุณภาพในการปฏิบัติงานของมหาบัณฑิต   พบว่า ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นของมหาบัณฑิต  มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพการปฏิบัติงานทั่วไปของมหาบัณฑิตอยู่ในระดับมาก  และคุณภาพการปฏิบัติงานด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา   ซึ่งภาพรวม  อยู่ในระดับมาก   โดยได้เล็งเห็นว่ามหาบัณฑิตในสาขาวิชาการวัดและประเมินผลมีการทำงานที่เป็นระบบ  และได้นำความรู้ไปช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานและองค์กร เป็นที่ปรึกษาในการวัดและประเมินผลทางการศึกษา และสถิติทางการศึกษา ช่วยสนับสนุนงานด้านการพัฒนาการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลทางการศึกษา การวิจัยในชั้นเรียน เป็นต้น
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]

More Related Content

What's hot

เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
physical04
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
พัน พัน
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
Kannika Kerdsiri
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
krupornpana55
 
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
KiiKz Krittiya
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
KiiKz Krittiya
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
Bigbic Thanyarat
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
NU
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
nang_phy29
 

What's hot (20)

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
 
งานนำเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์
งานนำเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์งานนำเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์
งานนำเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 

Similar to นำเสนอวิทยานิพนธ์

Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
nang_phy29
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
krupornpana55
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
kruteerapol
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
Nirut Uthatip
 

Similar to นำเสนอวิทยานิพนธ์ (20)

Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
 
classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
แผนพัฒนาการศึกษา4
แผนพัฒนาการศึกษา4แผนพัฒนาการศึกษา4
แผนพัฒนาการศึกษา4
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
369511
369511369511
369511
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 

นำเสนอวิทยานิพนธ์

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาปริญญาโทสาขาการวัดและประเมินผลการศึกษา ที่มีสภาพเป็นนักศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2551 อาจารย์ หมายถึง คณาจารย์ประจำภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ปฏิบัติงาน ในปีการศึกษา 2551 ผู้ทรงคุณวุฒิ หมายถึง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำหรือใช้งานทางการวัดและประเมินผลการศึกษา และ / หรือ ผู้มีประสบการณ์ในการสอนนักศึกษาปริญญาโทและ / หรือปริญญาเอกทางการวัดและประเมินผลการศึกษา คุณลักษณะของมหาบัณฑิต หมายถึง สมรรถภาพในการทำงานของมหาบัณฑิต ได้แก่ ความรู้ทั่วไป ความรู้วิชาชีพ ตลอดจนการนำความรู้ในหลักสูตรไปใช้ตามการประเมินของผู้บังคับบัญชา
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16. ตัวบ่งชี้ Mean SD ระดับ ความคิดเห็น การผ่านเกณฑ์ การจัดกระบวนวิชามีความสมบูรณ์ / ครอบคลุม 4.16 0.548 มาก ผ่าน เนื้อหาวิชามีความครอบคลุมในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ 4.11 0.510 มาก ผ่าน เนื้อหาวิชามีความสอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน 3.95 0.566 มาก ผ่าน เนื้อหาวิชามีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน 4.22 0.663 มาก ผ่าน เนื้อหาวิชามีความเป็นสากล 4.22 0.574 มาก ผ่าน เนื้อหาวิชาสามารถนำไปปฏิบัติจริงในการทำงานและชีวิตประจำวัน 4.30 0.608 มาก ผ่าน โดยรวม 4.14 0.566 มาก ผ่าน
  • 17. กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาบังคับ ศว .( 055)720 ทฤษฎีการทดสอบและวัดผลการศึกษา 100(4) - - ศว .( 055)723 การวัดบุคลิกและพฤติกรรมทางสังคม 100(4) - - ศว .( 055)724 การวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา 100(4) - - ศว .( 055)726 การวัดความถนัดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 100(4) - - ศว .( 055)740 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการวิจัย 100(4) - - ศว .( 055)755 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทางการวิจัยการศึกษาขั้นสูง 75(3) 25(1) - ศว .( 055)770 วิจัยการศึกษา 75(3) 25(1) - ศว .( 055)820 การประเมินผลการศึกษา 100(4) - - ศว .( 055)891 สัมมนาการวัดประเมินผลและวิจัยการศึกษา 100(4) - -
  • 18. กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาเลือก ศว .( 055)725 การสร้างเครื่องมือวัดผลรายวิชา 25(1) 75(3) - ศว .( 055)727 ทฤษฎีการตอบสนอง 25(1) 75(3) - ศว .( 055)728 การประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน 25(1) 75(3) - ศว .( 055)729 การวัดเชาว์อารมณ์ 25(1) 75(3) - ศว .( 055)761 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงปริมาณทางการศึกษา - 100(4) - ศว .( 055)762 การวิเคราะห์ข้อมูลทางการวิจัยการศึกษาที่ไม่อิงเงื่อนไขประชากร - 100(4) -
  • 19. กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาบังคับ ศว .( 055)720 ทฤษฎีการทดสอบและวัดผลการศึกษา 100(5) - - ศว .( 055)723 การวัดบุคลิกและพฤติกรรมทางสังคม 20(1) 80(4) - ศว .( 055)724 การวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา 20(1) 80(4) - ศว .( 055)726 การวัดความถนัดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 60(3) 40(2) - ศว .( 055)740 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการวิจัย 100(5) - - ศว .( 055)755 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทางการวิจัยการศึกษาขั้นสูง 100(5) - - ศว .( 055)770 วิจัยการศึกษา 100(5) - - ศว .( 055)820 การประเมินผลการศึกษา 80(4) 20(1) - ศว .( 055)891 สัมมนาการวัดประเมินผลและวิจัยการศึกษา 100(5) - -
  • 20. กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาเลือก ศว .( 055)725 การสร้างเครื่องมือวัดผลรายวิชา 20(1) 80(4) - ศว .( 055)727 ทฤษฎีการตอบสนอง 20(1) 80(4) - ศว .( 055)728 การประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน - 100(5) - ศว .( 055)729 การวัดเชาว์อารมณ์ - 100(5) - ศว .( 055)761 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงปริมาณทางการศึกษา 60(3) 40(2) - ศว .( 055)762 การวิเคราะห์ข้อมูลทางการวิจัยการศึกษาที่ไม่อิงเงื่อนไขประชากร - 100(5) -
  • 21. กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาบังคับ ศว .( 055)720 ทฤษฎีการทดสอบและวัดผลการศึกษา 100.00(27) - - ศว .( 055)723 การวัดบุคลิกและพฤติกรรมทางสังคม 70.37(19) 29.63(8) - ศว .( 055)724 การวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา 92.59(25) 7.41(2) - ศว .( 055)726 การวัดความถนัดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 96.30(26) 3.70(1) - ศว .( 055)740 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการวิจัย 96.30(26) 3.70(1) - ศว .( 055)755 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทางการวิจัยการศึกษาขั้นสูง 74.07(20) 25.93(7) - ศว .( 055)770 วิจัยการศึกษา 88.89(24) 11.11(3) - ศว .( 055)820 การประเมินผลการศึกษา 96.30(26) 3.70(1) - ศว .( 055)891 สัมมนาการวัดประเมินผลและวิจัยการศึกษา 85.19(23) 14.81(4) -
  • 22. กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาเลือก ศว .( 055)725 การสร้างเครื่องมือวัดผลรายวิชา 92.59(25) 7.41(2) - ศว .( 055)727 ทฤษฎีการตอบสนอง 51.85(14) 48.15(13) - ศว .( 055)728 การประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน 70.37(19) 29.63(8) - ศว .( 055)729 การวัดเชาว์อารมณ์ 29.63(8) 70.37(19) - ศว .( 055)761 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงปริมาณทางการศึกษา 37.04(10) 62.96(16) - ศว .( 055)762 การวิเคราะห์ข้อมูลทางการวิจัยการศึกษาที่ไม่อิงเงื่อนไขประชากร 29.63(8) 70.37(19) -
  • 23. กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาบังคับ ศว .( 055)720 ทฤษฎีการทดสอบและวัดผลการศึกษา 100.00(30) - - ศว .( 055)723 การวัดบุคลิกและพฤติกรรมทางสังคม 60.00(18) 40.00(12) - ศว .( 055)724 การวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา 93.33(28) 6.67(2) - ศว .( 055)726 การวัดความถนัดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 100.00(30) - - ศว .( 055)740 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการวิจัย 100.00(30) - - ศว .( 055)755 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทางการวิจัยการศึกษาขั้นสูง 100.00(30) - - ศว .( 055)770 วิจัยการศึกษา 100.00(30) - - ศว .( 055)820 การประเมินผลการศึกษา 100.00(30) - - ศว .( 055)891 สัมมนาการวัดประเมินผลและวิจัยการศึกษา 93.33(28) 6.67(2) -
  • 24. กระบวนวิชาของหลักสูตร เหมาะสมเป็น ไม่ เหมาะสม วิชาบังคับ % (n) วิชาเลือก % (n) วิชาเลือก ศว .( 055)725 การสร้างเครื่องมือวัดผลรายวิชา 26.67(8) 73.33(22) - ศว .( 055)727 ทฤษฎีการตอบสนอง 50.00(15) 50.00(15) - ศว .( 055)728 การประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน 36.67(11) 63.33(19) - ศว .( 055)729 การวัดเชาว์อารมณ์ 30.00(9) 70.00(21) - ศว .( 055)761 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงปริมาณทางการศึกษา 36.67(11) 63.33(19) - ศว .( 055)762 การวิเคราะห์ข้อมูลทางการวิจัยการศึกษาที่ไม่อิงเงื่อนไขประชากร 43.33(13) 56.67(17) -
  • 25. 1.3 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงหลักสูตร ด้านบริบทของหลักสูตร (Context) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ในการกำหนดวัตถุประสงค์ ควรเน้นให้มีการฝึกปฏิบัติมากขึ้น เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้จริงมากขึ้น และควรปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพการศึกษาและสังคมปัจจุบัน โครงสร้างของหลักสูตร ในรายวิชาเลือกสิ่งที่สำคัญคือความรู้หลายๆด้านไม่ใช่รู้เรื่องการวัดและประเมินเท่านั้น เช่น จะประเมินหลักสูตรก็ต้องเข้าใจการพัฒนาหลักสูตรพอสมควร ฉะนั้นก็จะเกี่ยวกับการเลือกวิชาเลือกว่ากรอบการงานที่จะนำไปปฏิบัติจริงได้ เนื้อหาวิชาของหลักสูตร เนื้อหาวิชาควรเน้นการประเมินตามสภาพจริง และควรมีการเพิ่มรายวิชาที่สอนเกี่ยวกับงานวัดผลภายในโรงเรียน การประกันคุณภาพการศึกษา ( การประกันคุณภาพภายใน - ภายนอก ) การบริหารและประเมินโครงการ การวิจัยสถาบัน และการวิจัยนโยบายทางการศึกษา การสร้างเกณฑ์การประเมิน (Rubric) และจัดเนื้อหาให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง
  • 26.
  • 27. ผลงานทางวิชาการ (n= 5 ) ค่าเฉลี่ย เกณฑ์การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. งานวิจัย จำนวน 17 เรื่อง 4.4 ได้ลำดับขั้น A ( ค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 2.00 ) 2. งานตำรา จำนวน 2 เรื่อง 3. งานเขียนบทความ จำนวน 3 เรื่อง
  • 28. เกณฑ์จากแนวทาง การประกันคุณภาพ ( ชั่วโมง / สัปดาห์ ) ปฏิบัติจริง ( ชั่วโมง / สัปดาห์ ) 1. งานสอนในระดับปริญญาตรี 2. งานสอนในระดับปริญญาโท 3. ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป 4. ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 5. งานอื่นๆ ที่ภาควิชา / คณะ / มหาวิทยาลัยกำหนด 6-10 3-6 1 1 2 3-6 3-6 2-5 3 2-5
  • 29. ทรัพยากร ความพอเพียง คุณภาพ ความสะดวก Mean SD Mean SD Mean SD 1. ห้องเรียน 3.71 0.700 3.43 0.490 3.93 0.592 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน 3.29 0.447 4.14 0.520 4.00 0.37 3. สื่อการเรียนการสอน 3.64 0.608 3.64 0.608 3.64 0.480 4. เอกสาร วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ใน การค้นคว้า 3.86 0.989 4.21 0.412 4.29 0.700 5. หนังสือ ตำรา ที่ใช้สำหรับการค้นคว้า 3.29 0.959 3.71 0.883 3.71 0.883 6. ห้องสมุดคณะศึกษาศาสตร์ 3.21 1.204 4.29 0.700 4.00 0.927 7. สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3.50 0.980 3.71 0.700 4.00 0.56 8. เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำหรับการเรียนการสอน 2.71 0.700 3.00 0.927 2.79 0.860
  • 30. ทรัพยากร ความพอเพียง คุณภาพ ความสะดวก Mean SD Mean SD Mean SD 1. ห้องเรียน 3.96 0.793 3.67 0.770 3.74 0.699 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน 3.89 0.737 4.04 0.637 4.00 0.667 3. สื่อการเรียนการสอน 3.89 0.629 3.96 0.637 3.96 0.693 4. เอกสาร วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ใน การค้นคว้า 3.89 0.831 4.11 0.567 3.93 0.766 5. หนังสือ ตำรา ที่ใช้สำหรับการค้นคว้า 3.56 0.875 3.81 0.772 3.78 0.685 6. ห้องสมุดคณะศึกษาศาสตร์ 3.81 0.862 4.11 0.567 4.19 0.611 7. สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3.93 0.813 4.04 0.637 3.81 0.772 8. เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำหรับการเรียนการสอน 3.48 0.918 3.56 0.994 3.44 0.875
  • 31. ทรัพยากร ความพอเพียง คุณภาพ ความสะดวก Mean SD Mean SD Mean SD 1. ห้องเรียน 4.00 0.490 3.59 0.489 3.71 0.485 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน 3.71 0.663 3.65 0.678 3.88 0.678 3. สื่อการเรียนการสอน 3.76 0.48 3.71 0.574 3.65 0.592 4. เอกสาร วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ใน การค้นคว้า 3.59 0.911 3.88 0.583 3.71 0.574 5. หนังสือ ตำรา ที่ใช้สำหรับการค้นคว้า 3.29 0.663 3.82 0.854 3.76 0.648 6. ห้องสมุดคณะศึกษาศาสตร์ 3.47 0.775 3.76 0.648 3.82 0.707 7. สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3.41 0.774 3.53 0.775 3.53 0.775 8. เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำหรับการเรียนการสอน 3.76 0.548 3.53 0.608 3.76 0.648
  • 32. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรควรมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก และสำเร็จการศึกษาทางวัดผล การทดสอบ และการประเมิน ภาระงานของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรบางคนมีภาระงานมากเกินไป ทำให้มีเวลาในการค้นคว้า / วิจัยน้อยลง ทรัพยากรในการดำเนินการ หนังสือ ตำรา ที่ใช้สำหรับการค้นคว้า ควรให้ทันสมัยและให้หลากหลาย และปรับปรุงให้มีคุณภาพดี ควรควบคุมดูแลไม่ให้หายจากห้องสมุด และควรมีห้องพักของนักศึกษา พร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการตรวจเช็คสภาพให้ดีอยู่สม่ำเสมอ และอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับประชุมหารือ ทำการบ้านหรืองานที่ได้รับมอบหมาย อันเป็นแนวทางส่งเสริมการช่วยเหลือกันทางวิชาการ และความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา ตลอดจนความผูกพันกับคณะและมหาวิทยาลัย
  • 33.
  • 34.
  • 35. หน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ สภาพที่เป็นจริง ( ร้อยละ ) ไม่ทำ ทำเป็นบางครั้ง ทำเป็นประจำ 1. เสนอแนะแหล่งค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง - 38.60 61.40 2. ให้คำปรึกษา แนะนำในการเลือกปัญหาในการทำวิทยานิพนธ์ 1.75 22.81 75.4 4 3. ให้คำปรึกษา แนะนำในการเรียน การค้นคว้า และติดตามผลการเรียนของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ 1.75 17.54 80.70 4. ให้คำปรึกษา แนะนำทางด้านวิชาการต่างๆ ที่มีปัญหา - 28.07 71.93 5. เสนอแนะวิธีดำเนินการวิจัย - 33.33 66.67 6. มีความรอบรู้เพียงพอในเรื่องวิทยานิพนธ์ที่นักศึกษากำลังศึกษา - 26.32 73.68 7. ให้คำแนะนำ ตรวจ และวิจารณ์งานเขียนวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาอย่างมีเหตุผลโดยไม่ชักช้า - 35.09 64.91 8. ให้ความเป็นกันเองแก่นักศึกษาที่ปรึกษา - 31.58 68.42 9. สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการต่างๆ - 31.58 68.42 10. อุทิศเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อปรึกษาวิทยานิพนธ์อย่างสม่ำเสมอ - 26.32 73.68 11. ดูแล สนับสนุน และผลักดันให้นักศึกษาทำงานให้สำเร็จในเวลาอันสมควร 3.51 26.32 70.18 12. เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น - 29.82 70.18
  • 36. กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ส่วนน้อย ครึ่งต่อครึ่ง ส่วนมาก ทุกวิชา (%) (%) (%) (%) 1. มีการแจ้งให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ เนื้อหากระบวนวิชาที่สอน วิธีวัดและประเมินผลได้อย่างเหมาะสม - 1.75 38.60 59.65 2. เข้าสอนและเลิกสอนตรงเวลา - 7.02 28.07 64.91 3. สอนตามหัวข้อและเวลาที่กำหนด - 5.26 43.86 50.88 4. แสดงให้เห็นว่ามีการเตรียมการสอนล่วงหน้า 1.75 3.51 28.07 68.42 5. มีเอกสารและตำราให้นักศึกษาใช้อ่านประกอบ - 8.77 40.35 50.88 6. มีการใช้สื่อประกอบการสอนได้อย่างเหมาะสม - 12.28 49.12 38.60 7. มีการจัดลำดับเนื้อหาเป็นไปอย่างมีระบบและขั้นตอนชัดเจน - 7.02 40.35 52.63 8. บรรยายด้วยน้ำเสียงที่ชัดเจนและใช้ภาษาเข้าใจง่ายและไม่นอกเรื่องจนเสียเนื้อหาหลัก - 3.51 59.65 36.84
  • 37. กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ส่วนน้อย ครึ่งต่อครึ่ง ส่วนมาก ทุกวิชา (%) (%) (%) (%) 9. มีการอธิบายหรือยกตัวอย่างประกอบการบรรยายให้เห็นจริงและชัดเจน - 3.51 42.11 54.39 10. มีการเน้นและสรุปจุดสำคัญของเนื้อหาวิชาได้อย่างชัดเจน - 3.51 59.65 36.84 11. มีวิธีการสอนที่กระตุ้นการคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหา 1.75 1.75 42.11 56.14 12. มีวิธีการสอนที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน - 3.51 61.40 35.09 13. มีการรับฟังและตอบข้อซักถามของนักศึกษาได้อย่างเหมาะสม - 7.02 52.63 40.35 14. เปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าพบและขอคำปรึกษานอกชั้นเรียน - 8.77 40.35 50.88 15. มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมที่มีประโยชน์ในระหว่างการบรรยาย 1.75 5.26 52.63 42.11 16. มีการวัดผลตามวัตถุประสงค์และครอบคลุมเนื้อหาวิชาที่แจ้งไว้ - 5.26 42.11 52.63 17. มีการแจ้งผลการสอบทุกครั้ง 1.75 8.77 40.35 50.88
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44. คุณลักษณะของมหาบัณฑิต Mean SD ระดับความคิดเห็น การผ่านเกณฑ์ 1. มีความรู้ความเข้าใจในการวัดและประเมินผลการศึกษา 4.7 0.458 มากที่สุด ผ่าน 2. สามารถวางแผนและสร้างเครื่องมือดำเนินการวัดและประเมินผลการศึกษา 4.65 0.477 มากที่สุด ผ่าน 3. สามารถเลือกใช้สถิติทางการศึกษากับงานวิจัยได้เหมาะสม 4.7 0.458 มากที่สุด ผ่าน 4. สามารถพัฒนา เครื่องมือวัดและประเมินผลการศึกษาได้ 4.45 0.589 มาก ผ่าน 5. เป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการศึกษาได้ 4.6 0.583 มากที่สุด ผ่าน 6. เป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำเกี่ยวกับสถิติการศึกษาได้ 4.6 0.583 มากที่สุด ผ่าน
  • 45. คุณลักษณะของมหาบัณฑิต Mean SD ระดับความคิดเห็น การผ่านเกณฑ์ 7. เป็นวิทยากรเรื่องการวัดและประเมินผลการศึกษาได้ 4.2 0.678 มาก ผ่าน 8. เป็นวิทยากรเรื่องสถิติการศึกษาได้ 4.15 0.726 มาก ผ่าน 9. เป็นวิทยากรเรื่องการวิจัยการศึกษาได้ 4.1 0.700 มาก ผ่าน 10. ปรับปรุงงานทางการวัดและประเมินผลการศึกษา 4.35 0.572 มาก ผ่าน 11. ริเริ่มสร้างสรรค์งานทางการวัดและประเมินผลการศึกษา 4.25 0.622 มาก ผ่าน 12. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานทางการวัดและประเมินผลการศึกษา 4.35 0.654 มาก ผ่าน
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49. 1. ด้านบริบท (Context) โครงสร้างและเนื้อหาของหลักสูตร การจัดกระบวนวิชาในหลักสูตร ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร มหาบัณฑิตและนักศึกษา มีความคิดเห็นว่ากระบวนวิชาส่วนใหญ่สอดคล้องและเหมาะสมกับการจัดกระบวนวิชาตามสภาพที่เป็นจริง ยกเว้นการวัดบุคลิกและพฤติกรรมทางสังคม การวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา ควรจัดให้เป็นวิชาเลือก ซึ่งในรายวิชาการวัดผลงานภาคปฏิบัติทางการศึกษา อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตร มีข้อเสนอแนะให้เปลี่ยนชื่อเป็นการวัดผลภาคปฏิบัติทางการศึกษา เพราะเนื่องจากเน้นการวัดผลภาคปฏิบัติทั่วไป ส่วนการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงปริมาณทางการศึกษา การประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน ควรจัดให้เป็นวิชาบังคับ ซึ่งในรายวิชาการประเมินตามสภาพจริงและแฟ้มสะสมงาน นักศึกษามีความเห็นว่าสามารถนำไปใช้ในการทำงานจริงและในด้านการจัดการเรียนการสอนของตน
  • 50. 2. ผลการประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input) คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร จากการประเมินคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนกระบวนวิชาในหลักสูตรในด้านวุฒิการศึกษา และตำแหน่งทางวิชาการแล้ว พบว่าวุฒิการศึกษาของอาจารย์มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90 อยู่ในลำดับขั้น A ( ค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 3.50 ) อยู่ในระดับสูงมาก เมื่อเทียบกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเมื่อพิจารณาวุฒิการศึกษาของอาจารย์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปริญญาเอก ซึ่งอยู่ในระดับสูงมาก ทั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าอาจารย์ผู้สอนควรสำเร็จการศึกษาทางวัดผล การทดสอบ และการประเมินโดยตรง ส่วนตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้สอนกระบวนวิชาในหลักสูตรมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.60 อยู่ในลำดับขั้น B ( ค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 2.50) อยู่ในระดับสูงมาก เมื่อเทียบกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งจะพบว่าอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรมีภาระงานมากเกินไป ทำให้มีเวลาในการค้นคว้าและวิจัยน้อยลง ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร ตั้งแต่ปี พ . ศ . 2549 – 2551 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.4 อยู่ในลำดับขั้น A ( ค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 2.00 ) อยู่ในระดับสูงมาก เมื่อเทียบกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จากการสอบถามอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรมีภาระงานมาก ทำให้มีเวลาในการทำผลงานวิจัยน้อยลง
  • 51. การแบ่งภาระงานของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร จากการประเมินการแบ่งภาระงานที่ปฏิบัติจริงเมื่อเทียบกับเกณฑ์แนวทางการประกันคุณภาพทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สามารถประเมินได้ว่าภาระงานของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรในส่วนของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และงานอื่นๆ ที่ภาควิชา / คณะ / มหาวิทยาลัยกำหนดสูงกว่าเกณฑ์ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ส่วนงานสอนในระดับปริญญาตรี และงานสอนในระดับปริญญาโท เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ทรัพยากรในการดำเนินการ จากการประเมินทรัพยากรในการดำเนินการในหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตร มหาบัณฑิตและนักศึกษา มีความคิดเห็นว่า ทรัพยากรในการดำเนินการในหลักสูตรมีความพอเพียง มีคุณภาพ มีความสะดวกในการรับบริการ อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้มีข้อเสนอแนะให้มีการจัดหนังสือ เอกสาร ตำรา ให้มีความทันสมัยและมีคุณภาพพร้อมใช้งาน ควรจัดให้มีห้องสำหรับนักศึกษาในสาขาวิชาได้ใช้เป็นห้องพักเพื่อปรึกษา หารือ ทำงานที่ได้รับมอบหมาย อันเป็นแนวทางส่งเสริมการช่วยเหลือกันทางวิชาการ และความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา และมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย มีคุณภาพพร้อมใช้งาน
  • 52. 3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ (Process) การบริหารหลักสูตร จากการประเมินการบริหารหลักสูตร พบว่าอาจารย์ผู้สอนมีความเห็นสอดคล้องกันว่า การบริหารหลักสูตรมีความเหมาะสม กล่าวคือภาควิชามีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรจากอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการแต่งตั้งและมีการจัดทำแผนการบริหารงานอย่างเป็นระบบ และการจัดทำแผนการบริหารงานในการดำเนินงานหลักสูตรมีการจัดทำเป็นโครงการประจำปีงบประมาณทุกปี โดยสอดคล้องกับแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2543) ที่กล่าวว่า คณะ สาขาวิชา ภาควิชา มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและกระบวนวิชาที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อกำหนดนโยบาย ทิศทาง วางแผนงบประมาณ วางแผนการจัดการเรียนการสอน ทำแผนพัฒนาอาจารย์ในหลักสูตร สรรหาทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการศึกษา สรรหาอาจารย์ ติดตามและประเมินผลหลักสูตร ตลอดจนพัฒนากลไกการควบคุมคุณภาพหลักสูตร
  • 53. บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป จากการประเมินสภาพที่เป็นจริง พบว่าส่วนใหญ่อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป ได้ทำเป็นบางครั้ง ส่วนให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับหลักสูตรและการเลือกวิชาเรียน ให้คำปรึกษา แนะนำทางด้านวิชาการต่างๆ ที่มีปัญหา ให้ความเป็นกันเองแก่นักศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมกับนักศึกษา อุทิศเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อปรึกษา ได้ทำเป็นประจำ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาควรมีการนัดพบปะกันเป็นประจำเดือนละ 1 ครั้งเป็นอย่างน้อย อีกทั้งยังเป็นการบ่มเพาะวัฒนธรรมที่ดีของสาขาวิชา บทบาทของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ จากการประเมินบทบาทคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์จากสภาพที่เป็นจริง จากมหาบัณฑิตและนักศึกษาส่วนใหญ่ได้ทำเป็นประจำ บทบาทดังกล่าวจะได้ผลดีต่อนักศึกษาที่จะทำให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ โดยจะต้องมีการเร่งรัด กระตุ้นและพบปะพูดคุยเป็นระยะ ให้นักศึกษาเกิดความกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา
  • 54. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล จากการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล มหาบัณฑิตและนักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ตามสภาพที่เป็นจริงของอาจารย์ประจำหลักสูตร ส่วนใหญ่ได้ทำทุกวิชา ส่วนการใช้สื่อประกอบการสอนได้อย่างเหมาะสม การบรรยายด้วยน้ำเสียงที่ชัดเจนและใช้ภาษาเข้าใจง่ายและไม่นอกเรื่องจนเสียเนื้อหาหลัก มีการเน้นและสรุปจุดสำคัญของเนื้อหาวิชาได้อย่างชัดเจน มีวิธีการสอนที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน มีการรับฟังและตอบข้อซักถามของนักศึกษาได้อย่างเหมาะสม และมีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมที่มีประโยชน์ในระหว่างการบรรยาย ได้ทำเป็นส่วนมาก ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนนั้นควรเน้นให้มีการได้ลงมือปฏิบัติจริง และจัดบรรยากาศในการเรียนที่ไม่เครียด น่าสนใจ มีสื่อการสอนที่หลากหลายและทันสมัย
  • 55.
  • 56. จำนวนและระยะเวลาที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษา จากการประเมินจำนวนและระยะเวลาที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษา พบว่ามหาบัณฑิตใช้เวลาในการศึกษามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.5 ปี เมื่อเทียบกับเกณฑ์การประเมินคุภาพบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จัดอยู่ในลำดับขั้น E ( จำนวนปีที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษามากกว่าเกณฑ์เกิน 1.5 ปี ) ซึ่งถือว่าจำนวนปีที่สำเร็จการศึกษาของมหาบัณฑิตต่ำกว่าเกณฑ์มาก อาจเนื่องมาจากการที่นักศึกษาขาดความกระตือรือร้นในการทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วได้ทำการเสนอหัวข้อและโครงร่างได้ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีที่ 2 ของการศึกษา ซึ่งจะทำให้นักศึกษาสำเร็จตามกำหนด โดยทางภาควิชาควรมีการวางแผนการศึกษาเพื่อช่วยให้นักศึกษาสำเร็จภายในเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ซึ่งควรมีการติดตาม / จัดโครงการเร่งรัด จัดการสัมมนาวิทยานิพนธ์อย่างเป็นระยะ
  • 57. คุณลักษณะและคุณภาพในการปฏิบัติงานของมหาบัณฑิต จากการประเมินคุณลักษณะและคุณภาพในการปฏิบัติงานของมหาบัณฑิต พบว่า ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นของมหาบัณฑิต มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพการปฏิบัติงานทั่วไปของมหาบัณฑิตอยู่ในระดับมาก และคุณภาพการปฏิบัติงานด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา ซึ่งภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยได้เล็งเห็นว่ามหาบัณฑิตในสาขาวิชาการวัดและประเมินผลมีการทำงานที่เป็นระบบ และได้นำความรู้ไปช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานและองค์กร เป็นที่ปรึกษาในการวัดและประเมินผลทางการศึกษา และสถิติทางการศึกษา ช่วยสนับสนุนงานด้านการพัฒนาการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลทางการศึกษา การวิจัยในชั้นเรียน เป็นต้น
  • 58.
  • 59.