SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 1
เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ทศนิยมและการเปรียบเทียมทศนิยม
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดย
นางกมลทิพย์ บุญโพธิ์
ครู วิทยฐานะครูชานาญการ
โรงเรียนมัธยมชัยมงคลรังงาม
อาเภอเนินสง่า จังหวัดชัยภูมิ
สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 2
คานา
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม จัดทาขึ้นเพื่อไปใช้ใน
การเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียน ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่มุ่งพัฒนาการคิด วิเคราะห์ โดยยึดหลักการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์
และต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน โดยผู้จัดทาได้จัดทาแบบ
ฝึกทักษะจานวน 7 ชุด
ผู้จัดทาจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ทศนิยมและ
เศษส่วน ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม ชุดนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
ในการนาไปแก้ปัญหากับนักเรียนที่เรียนไม่เข้าใจ และพัฒนาการเรียนการสอนในเรื่อง
ทศนิยมและเศษส่วนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้ดียิ่งขึ้น
ขอขอบพระคุณ ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมชัยมงคลรังงาม และผู้เชี่ยวชาญทุก
ท่าน ที่กรุณาให้คาปรึกษา แนะนา ให้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์มีความสมบูรณ์ และ
ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพ ต่อไป
กมลทิพย์ บุญโพธิ์
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 3
สารบัญ
คานา
สารบัญ
คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะ..................................................................
คาแนะนาในการใช้สาหรับครู .......................................................................
คาแนะนาในการใช้สาหรับนักเรียน ..............................................................
จุดประสงค์การเรียนรู้ ..................................................................................
ใบความรู้ ชุดที่ 1.1........................................................................................
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1.1................................................................................
ใบความรู้ ชุดที่ 1.2........................................................................................
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1.2................................................................................
แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 .....................................................................
หน้า
1
2
3
4
5
7
8
11
13
บรรณานุกรม........................................................................................... 15
ภาคผนวก................................................................................................ 16
เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 1.1............................................................. 17
เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 1.2............................................................. 18
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน.............................................................. 20
แบบบันทึกคะแนน........................................................................................ 21
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 4
คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะ
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน ชุดที่ 1 ทศนิยมและการ
เปรียบเทียบทศนิยม สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักเรียน ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่มุ่งพัฒนาการคิด วิเคราะห์ โดยยึดหลักการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ โดย
ผู้จัดทาได้จัดทาแบบฝึกทักษะจานวน 7 ชุด
ในการทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน ให้นักเรียนปฏิบัติ
ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. ศึกษาใบความรู้ และทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการ
เปรียบเทียบทศนิยมในแต่ละชุดตรวจคาตอบจากเฉลยและบันทึกคะแนนลงในแบบ
บันทึกคะแนน
2. เมื่อฝึกทักษะเสร็จแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนในแบบฝึกทักษะ
แต่ละชุดและตรวจคาตอบจากเฉลยแล้วบันทึกคะแนน
3. นักเรียนควรตั้งใจเรียนและซักถามคุณครู ทันทีเมื่อเกิดความสงสัยและควร
ฝึกฝนด้วยตนเองจะทาให้นักเรียนมีความชานาญในการแก้ปัญหาเพิ่มขึ้น
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 5
คาแนะนาในการใช้สาหรับครู
1. แบบฝึกทักษะมีทั้งหมด 7 ชุด
2. แบบฝึกชุดนี้เป็นแบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ทศนิยมและการเปรียบเทียบ
ทศนิยม ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แผนที่ 1,
2 จานวน 2 ชั่วโมง
3. ส่วนประกอบของแบบฝึกทักษะชุดนี้ประกอบด้วย
3.1 คาชี้แจง
3.2 คาแนะนาในการใช้สาหรับครู
3.3 คาแนะนาในการใช้สาหรับนักเรียน
3.4 จุดประสงค์การเรียนรู้
3.5 ใบความรู้
3.6 แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1.1 และชุดที่ 1.2
3.7 แบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ
3.8 เฉลยแบบฝึกทักษะ
3.9 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
4. ศึกษาคู่มือการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ให้เข้าใจ
5. ชี้แจงขั้นตอนการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์นี้ให้นักเรียนเข้าใจ
6. ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ทาแบบฝึกทักษะและตรวจคาตอบตาม
เฉลยในภาคผนวกทีละแบบฝึก
7. ดูแลให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนและให้คาแนะนาเมื่อนักเรียนพบปัญหา
8. ประเมินผลการเรียนของนักเรียนอย่างต่อเนื่องและให้แรงเสริมในการปฏิบัติ
กิจกรรมของนักเรียน
9. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เมื่อศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้และทาแบบ
ฝึกทักษะเสร็จสิ้น
10. บันทึกผลการประเมินหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะทุกครั้ง
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 6
คาแนะนาในการใช้สาหรับนักเรียน
1. แบบฝึกทักษะมีทั้งหมด 7 ชุด
2. แบบฝึกชุดนี้เป็นแบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ทศนิยมและการเปรียบเทียบ
ทศนิยม ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แผนที่ 1 และ 2 จานวน 2 ชั่วโมง
3. ขั้นตอนการใช้แบบฝึกทักษะ
3.1 ศึกษาทาความเข้าใจจุดประสงค์ของแบบฝึกทักษะ
3.2 อ่านและทาความเข้าใจกับใบความรู้ทุกตอน
3.3 ทาแบบฝึกทักษะอย่างรอบคอบ
3.4 ร่วมกันตรวจคาตอบกับเฉลยแบบฝึกทักษะ
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 7
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกค่าประจาหลักของทศนิยมตาแหน่งต่างๆ และค่าของเลขโดดได้
2. อธิบายเกี่ยวกับทศนิยมและค่าประจาหลักของทศนิยมได้
3. เปรียบเทียบทศนิยมที่กาหนดได้
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 8
ใบความรู้ ชุดที่ 1.1
ค่าประจาหลักของทศนิยม
ทศนิยมใช้เขียนแทนปริมาณที่ไม่เต็มหน่วย มีเลขสองกลุ่มที่ถูกคั่นด้วย
จุด ( . ) ที่เรียกว่า จุดทศนิยม ตัวเลขที่อยู่หน้าจุดแทนจานวนเต็มหน่วย ส่วนตัว
เลขที่อยู่หลังจุดแทนจานวนที่ไม่เต็มหน่วย โดยที่ค่าของจานวนเต็มแบ่งออกเป็น
สิบส่วน ร้อยส่วน พันส่วน หมื่นส่วน... เท่า ๆ กัน
การเขียนทศนิยมแทนจานวนที่ไม่เต็มหน่วย
ส่วนที่แรเงาเขียนแทนด้วยทศนิยมได้ดังนี้
คือ 4.0
10
4

ส่วนที่แรเงาเขียนแทนด้วยทศนิยมได้ดังนี้
คือ จานวนเต็ม 1 + 5.1
10
5

ส่วนที่แรเงาเขียนแทนด้วยทศนิยมได้ดังนี้
คือ 16.0
100
16

ส่วนที่แรเงาเขียนแทนด้วยทศนิยมได้ดังนี้
คือ จานวนเต็ม 1 + 26.1
100
26

แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 9
ค่าประจาหลักของทศนิยม
 เลขที่อยู่หน้าจุดทศนิยม มีหลักและค่าประจาหลักเป็นเช่นเดียวกับจานวนเต็ม
 เลขที่อยู่หลังจุดทศนิยมตัวแรกจะเรียกว่าทศนิยมตาแหน่งที่หนึ่ง ถัดไปเป็น
ทศนิยมตาแหน่งที่สอง ตาแหน่งที่สาม ตาแหน่งที่สี่ ไปเรื่อย ๆ ตามลาดับ
ตารางค่าประจาหลักของทศนิยม
ชื่อหลัก
จานวนเต็ม จุด
ทศนิยม
ทศนิยมตาแหน่งที่
... พัน ร้อย สิบ หน่วย 1 2 3 …
ค่าประจา
หลัก
...
1,000
103
100
102
10
10
1
1
. 10
1
10
1
100
1
2
10
1
0001
1
,
3
10
1
…
พิจารณาค่าประจาหลักของเลขโดดในหลักต่าง ๆ ของทศนิยม 215.384
2 1 5 . 3 8 4
ดังนั้นเขียน 215.384 ให้อยู่ในรูปการกระจายได้ดังนี้
215.384 = ( 2
102 ) + ( 101 ) + ( 15 ) + 






10
1
3 + 





 2
10
1
8 + 





 3
10
1
4
เป็นหลักร้อย มีค่า 2
102 เป็นทศนิยมตาแหน่งที่ 3 มีค่า 3
10
1
4
เป็นหลักสิบ มีค่า 101 เป็นทศนิยมตาแหน่งที่ 2 มีค่า 2
10
1
8
เป็นหลักหน่วย มีค่า 15 เป็นทศนิยมตาแหน่งที่ 1 มีค่า
10
1
3
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 10
2) 























 432
10
1
1
10
1
9
10
1
5
10
1
0)16()108( = ...............
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1.1
ค่าประจาหลักของทศนิยม
คาชี้แจง จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. บอกค่าประจาหลักของเลขโดดที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1) 2.08 เลขโดด 8 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ .....................................
2) 5.0017 เลขโดด 7 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ .....................................
3) 12.119 เลขโดด 9 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ .....................................
2. เลขโดด 3 ในทศนิยมต่อไปนี้ มีค่าเท่าไร
1) 0.304 เลขโดด 3 มีค่าเท่ากับ .......................................................
2) 12.0163 เลขโดด 3 มีค่าเท่ากับ .......................................................
3. เขียนทศนิยมต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปกระจาย
1) 11.57 = ...................................................................................................
2) 8.024 = ....................................................................................................
3) 0.125 = ....................................................................................................
4. เขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปทศนิยม
1) 

















 32
2
10
1
7
10
1
6
10
1
1)16()101()102( = ............
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 11
ใบความรู้ ชุดที่ 1.2
การเปรียบเทียบทศนิยม
การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นบวก
♠ การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนบวกสองจานวน เนื่องจาก
ทศนิยมประกอบด้วยจานวนเต็มและส่วนที่เป็นทศนิยม ให้เปรียบเทียบ
จานวนเต็ม ถ้าจานวนเต็มเท่ากันให้เปรียบเทียบส่วนที่เป็นทศนิยม นับตั้ง
แต่ทศนิยมหนึ่งตาแหน่งเป็นต้นไป โดยพิจารณาเลขโดดคู่แรกในตาแหน่ง
เดียวกันที่ไม่เท่ากัน จานวนที่มีเลขโดดในตาแหน่งนั้นมากกว่าจะเป็นจานวน
ที่มากกว่า
ตัวอย่างที่ 1 จงเปรียบเทียบ 8.23 และ 4.56
วิธีคิด ส่วนที่เป็นจานวนเต็มของ 8.23 และ 4.56 คือ
8 และ 4 ซึ่ง 8 มากว่า 4
ดังนั้น 8.23 มากกว่า 4.56
ใช้สัญลักษณ์ 8.23 > 4.56
ตอบ ๘.๒๓ > ๔.๕๖
ตัวอย่างที่ 2 จงเปรียบเทียบ 0.524 และ 0.526
วิธีคิด ส่วนที่เป็นจานวนเต็มของ 0.524 และ 0.526 คือ 0
ต้องเปรียบเทียบส่วนที่เป็นทศนิยม
5 เท่ากับ 5, 2 เท่ากับ 2 , 4 น้อยกว่า 6
ดังนั้น 0.524 น้อยกว่า 0.526
ใช้สัญลักษณ์ 0.524 < 0.526
ตอบ ๐.๕๒๔ < ๐.๕๒๖
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 12
การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นลบ
♠ การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนบวกสองจานวน ให้หาค่าสมบูรณ์
ของทั้งสองจานวน แล้วนาค่าสมบูรณ์ที่ได้มาเปรียบเทียบ จานวนที่มีค่าสมบูรณ์
ที่น้อยกว่าจะเป็นจานวนที่มากกว่า
ตัวอย่างที่ 1 จงเปรียบเทียบ -0.84 และ -0.87
วิธีคิด เนื่องจาก
ค่าสมบูรณ์ของ -0.84 เท่ากับ 0.84
ค่าสมบูรณ์ของ -0.87 เท่ากับ 0.87
0.84 น้อยกว่า 0.87
ดังนั้น -0.84 มากกว่า -0.87
ใช้สัญลักษณ์ -0.84 > -0.87
ตอบ -๐.๘๔ > -๐.๘๗
ตัวอย่างที่ 2 จงเปรียบเทียบ -7.52 และ -5.33
วิธีคิด ค่าสมบูรณ์ของ -7.52 เท่ากับ 7.52
ค่าสมบูรณ์ของ -5.33 เท่ากับ 5.33
7.52 มากกว่า 5.33
ดังนั้น -7.52 น้อยกว่า -5.33
ใช้สัญลักษณ์ -7.52 < -5.33
ตอบ - ๗.๕๒ < -๕.๓๓
จานวนค่าสมบูรณ์ที่น้อยกว่า
จะเป็นจานวนที่มากกว่า
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 13
การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนบวกกับทศนิยมที่เป็นจานวนลบ
♠ การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนบวกและทศนิยมที่เป็นจานวนลบ
ทศนิยมที่เป็นจานวนบวกอยู่ทางขวาของ 0 และทศนิยมที่เป็นจานวนลบอยู่
ทางซ้ายมือของ 0 ดังนั้นทศนิยมที่เป็นจานวนบวกย่อมมากกว่าทศนิยมที่เป็น
จานวนลบ
ตัวอย่างที่ 1 จงเปรียบเทียบ 0.08 และ -2.38
วิธีคิด 0.08 เป็นจานวนบวก
-2.38 เป็นจานวนลบ
ทศนิยมที่เป็นจานวนบวกย่อมมากกว่าทศนิยม
ที่เป็นจานวนลบ
ดังนั้น 0.08 มากกว่า -2.38
ใช้สัญลักษณ์ 0.08 > -2.38
ตอบ ๐.๐๘ > -๒.๓๘
ตัวอย่างที่ 2 จงเปรียบเทียบ -8.59 และ 2.35
วิธีคิด -8.59 เป็นจานวนลบ
1.35 เป็นจานวนบวก
ดังนั้น -8.59 น้อยกว่า 2.35
ใช้สัญลักษณ์ -8.59 < 2.35
ตอบ -๘.๕๙ < ๒.๓๕
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 14
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1.2
การเปรียบเทียบทศนิยม
คาชี้แจง
ให้นักเรียนการเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นบวก จากโจทย์ต่อไปนี้
โดยการเติมเครื่องหมาย >, < หรือ = ในช่อง ระหว่างสองจานวน
1. 0.89 และ 0.42 2. -31.76 และ -3.73
วิธีทา 0.89 0.42 วิธีทา -31.76 -3.73
ตอบ .................................. ตอบ ..................................
3. 4.252 และ -33.84 4. -0.08 และ -0.008
วิธีทา 4.252 -33.84 วิธีทา -0.08 -0.008
ตอบ .................................. ตอบ ..................................
ให้นักเรียนเรียงลาดับจานวนต่อไปนี้จากมากไปหาน้อย
5. 0.3, 0.21, 0.35, 0.5 ตอบ ……………………………………..
6. -0.42, -0.53, -0.26, -0.55 ตอบ …………………………………..…
7. -4.2, -3.2, -2.4, -4.5 ตอบ …………………………………....…
8. 7.263, -8.163, -6.723, ตอบ …………………………………..…
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 15
9. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 6 คน มีน้าหนักดังนี้
แดง หนัก 46.6 กิโลกรัม ดา หนัก 48.6 กิโลกรัม
ขาว หนัก 49.6 กิโลกรัม เขียว หนัก 42.0 กิโลกรัม
ฟ้า หนัก 45.5 กิโลกรัม เหลือง หนัก 36.5 กิโลกรัม
จงหาว่า ใครมีน้าหนักมากที่สุด และใครมีน้าหนักน้อยที่สุด
ตอบ ……………………………………..……………………..…
10. ในฤดูหนาวภาคเหนือของประเทศไทย มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 16.20
C
ภาคใต้มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 9.30
C ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 13.50
C
และภาคกลาง มีอุณหภูมิเฉลี่ย 14.350
C
ให้นักเรียนเรียงลาดับอุณหภูมิเฉลี่ยจากอุณหภูมิเฉลี่ยหนาวน้อยที่สุด
ไปหาอุณหภูมิเฉลี่ยหนาวมากที่สุด
ตอบ ……………………………………..……………………..…
………………………………………………………………
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 16
แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1
ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
...........................................................................................................................................
คาชี้แจง
1. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
2. เครื่องหมายกากบาท  ลงในช่อง กระดาษคาตอบ
3. แบบทดสอบมี 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน (รวม 10 คะแนน)
4. ได้คะแนนอย่างน้อย 8 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์
**************************************************************************
1) พื้นที่ส่วนที่แรเงาเขียนแทนด้วยทศนิยมใด
ก. 0.2 ข. 0.02
ค. 0.26 ง. 0.026
2) ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. 9 ในจานวน 495.7 มีค่าประจาหลักเป็น 2
10
1
ข. 3 ในจานวน 8.4312 มีค่าประจาหลักเป็น 2
10
1
ค. 5 ในจานวน 97.645 มีค่าประจาหลักเป็น 2
10
1
ง. 7 ในจานวน 0.2371 มีค่าประจาหลักเป็น 2
10
1
3) ค่าประจาหลักของ 9 ในข้อใดน้อยที่สุด
ก. 1.8729 ข. 18.729
ค. 187.29 ง. 1,872.9
4) ค่าประจาหลักของ 3 ในข้อใดมากที่สุด
ก. -2.4563 ข. -2.5536
ค. -2.3456 ง. -2.7356
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 17
5) 











 42
10
1
4
10
1
6 มีค่าเท่ากับข้อใด
ก. 0.6040 ข. 0.0640
ค. 0.0604 ง. 0.0064
6) ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
ก. 0.002 > -2.31 ข. -5.32 > 0.055
ค. 0.008 < - 5.67 ง. 0.07 < - 0.70
7) ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
ก. -6.42 > -5.53 ข. -5.32 < -3.32
ค. -4.32 < -4.98 ง. -2.36 < - 4.72
8) ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
ก. 0.05 = 0.50 ข. 0.95 < 0.65
ค. 2.35 > 4.35 ง. 5.38 > 5.32
9) ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องในการเปรียบเทียบทศนิยม
ก. ให้พิจารณาทศนิยมที่เป็นทั้งบวก
และลบพร้อมๆ กัน
ข. ให้พิจารณาทศนิยมที่เป็นลบก่อน
ค. ให้พิจารณาอะไรก็ได้ไม่มีกฎเกณฑ์
ในการพิจารณา
ง. ให้พิจารณาทศนิยมที่เป็น
บวกก่อน
10) ในฤดูหนาวที่ประเทศสวีเดน มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 32.20
C ที่ประเทศญี่ปุ่น
มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 12.20
C ที่ประเทศจีนมีอุณหภูมิเฉลี่ย – 10.20
C ที่ประเทศไทย
มีอุณหภูมิเฉลี่ย 16.350
C ประเทศไหนหนาวที่สุด
ก. ประเทศสวีเดน ข. ประเทศญี่ปุ่น
ค. ประเทศจีน ง. ประเทศไทย
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 18
บรรณานุกรม
กนกวลี อุษณกรกุล และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อักษรเจริญทัศน์, มปพ.
กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สถาบันส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู
และบุคลากรทางการศึกษา ลาดพร้าว, 2553.
________. คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ลาดพร้าว, 2553.
ชนันทิตา ฉัตรทอง และ วิสุทธิ์ เวียงสมุทร. สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ สัมฤทธิ์มาตรฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพ ฯ:
อักษรเจริญทัศน์, 2554.
ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์, 2555.
สุเทพ จันทร์สมบูรณ์กุล และคณะ. สื่อเสริมการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพ ฯ: สานักพิมพ์ เดอะบุคส์ จากัด, 2554.
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 19
ภาคผนวก
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 20
เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 1.1
ค่าประจาหลักของทศนิยม
คาชี้แจง จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. บอกค่าประจาหลักของเลขโดดที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1) 2.08 เลขโดด 8 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ
2) 5.0017 เลขโดด 7 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ
3) 12.119 เลขโดด 9 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ
2. เลขโดด 3 ในทศนิยมต่อไปนี้ มีค่าเท่าไร
1) 0.304 เลขโดด 3 มีค่าเท่ากับ .....................................................
2) 12.0163 เลขโดด 3 มีค่าเท่ากับ .....................................................
3. เขียนทศนิยมต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปกระจาย
1) 11.57 =
2) 8.024 =
3) 0.125 =
4. เขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปทศนิยม
1) 167.216
10
1
7
10
1
6
10
1
1)16()101()102( 32
2



















2) 0591.86
10
1
1
10
1
9
10
1
5
10
1
0)16()108( 432

























2
10
1
4
10
1
3
10
1
10
1
3












 2
10
1
7
10
1
511101 )()(


















 32
10
1
4
10
1
2
10
1
018 )(


















 32
10
1
5
10
1
2
10
1
1
4
10
1
3
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 21
เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 1.2
การเปรียบเทียบทศนิยม
คาชี้แจง
ให้นักเรียนการเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นบวก จากโจทย์ต่อไปนี้
โดยการเติมเครื่องหมาย >, < หรือ = ในช่อง ระหว่างสองจานวน
1. 0.89 และ 0.42 2. -31.76 และ -3.73
วิธีทา 0.89 > 0.42 วิธีทา -31.76 < -3.73
ตอบ ๐.๘๙ > ๐.๔๒ ตอบ -๓๑.๗๖ < -๓.๗๓
3. 4.252 และ -33.84 4. -0.08 และ -0.008
วิธีทา 4.252 > -33.84 วิธีทา -0.08 < -0.008
ตอบ ๔.๒๕๒ > -๓๓.๘๔ ตอบ -๐.๐๘ < -๐.๐๐๘
ให้นักเรียนเรียงลาดับจานวนต่อไปนี้จากมากไปหาน้อย
5. 0.3 0.21, 0.35, 0.5 ตอบ ๐.๕, ๐.๓๕, ๐.๓, ๐.๒๑
6. -0.42, -0.53, -0.26, -0.55 ตอบ -๐.๒๖, -๐.๔๒, -๐.๕๓, -๐.๕๕
7. -4.2, -3.2, -2.4, -4.5 ตอบ -๒.๔, -๓.๒, -๔.๒, -๔.๕
8. 7.263, -8.163, -6.723 ตอบ ๗.๒๖๓, -๖.๗๓๒, -๘.๑๖๓
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 22
9. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 6 คน มีน้าหนักดังนี้
แดง หนัก 46.6 กิโลกรัม ดา หนัก 48.6 กิโลกรัม
ขาว หนัก 49.6 กิโลกรัม เขียว หนัก 42.0 กิโลกรัม
ฟ้า หนัก 45.5 กิโลกรัม เหลือง หนัก 36.5 กิโลกรัม
จงหาว่า ใครมีน้าหนักมากที่สุด และใครมีน้าหนักน้อยที่สุด
ตอบ ขาว มีน้าหนักมากที่สุด เหลืองมีน้าหนักน้อยที่สุด
10. ในฤดูหนาวภาคเหนือของประเทศไทย มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 16.20
C
ภาคใต้มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 9.30
C ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 13.50
C
และภาคกลาง มีอุณหภูมิเฉลี่ย 14.350
C
ให้นักเรียนเรียงลาดับอุณหภูมิเฉลี่ยจากอุณหภูมิเฉลี่ยหนาวน้อยที่สุด
ไปหาอุณหภูมิเฉลี่ยหนาวมากที่สุด
ตอบ ๑๔.๓๕0
C, ๑๓.๕0
C, -๙.๓0
C, -๑๖.๒0
C
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 23
ข้อ คาตอบ
1 ค
2 ข
3 ก
4 ค
5 ค
6 ก
7 ข
8 ง
9 ง
10 ก
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 24
แบบบันทึกคะแนนแบบฝึกทักษะ และแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม
ชื่อ …………………………………………………………
โรงเรียน ………………………………………ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนที่ทาได้ หมายเหตุ
หลังเรียน 10
ผลการพัฒนา
พัฒนา ไม่พัฒนา
แบบฝึกทักษะ คะแนนเต็ม คะแนนที่ทาได้ หมายเหตุ
ชุดที่ 1.1 10
ชุดที่ 1.2 10
รวม 20
(ลงชื่อ)..…………………………………….ผู้บันทึก
(……………………………………..)
(ลงชื่อ)………………………………………ครูผู้สอน
(............................................)

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
Jaar Alissala
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
Ritthinarongron School
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
Aon Narinchoti
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
พัน พัน
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
guychaipk
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
ป.2
ป.2ป.2
ป.2
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docหน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Document 1820130813093402
Document 1820130813093402Document 1820130813093402
Document 1820130813093402
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 

Similar to แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
Suphot Chaichana
 
เรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdfเรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdf
AjanboyMathtunn
 
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101
คณิตศาสตร์ 1  ค 31101คณิตศาสตร์ 1  ค 31101
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101
kroojaja
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
พิทักษ์ ทวี
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
Tangkwa Dong
 

Similar to แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม (20)

แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
 
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
 
เรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdfเรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdf
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
Bbl ป.1 1
Bbl ป.1 1Bbl ป.1 1
Bbl ป.1 1
 
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101
คณิตศาสตร์ 1  ค 31101คณิตศาสตร์ 1  ค 31101
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
 
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุดชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
 
Ratio m2
Ratio m2Ratio m2
Ratio m2
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
 
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป6 ปี58
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป6 ปี5805 รูปแบบข้อสอบ o net ป6 ปี58
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป6 ปี58
 
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป6
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป605 รูปแบบข้อสอบ o net ป6
05 รูปแบบข้อสอบ o net ป6
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 

แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม

  • 1. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 1 เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน ทศนิยมและการเปรียบเทียมทศนิยม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย นางกมลทิพย์ บุญโพธิ์ ครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนมัธยมชัยมงคลรังงาม อาเภอเนินสง่า จังหวัดชัยภูมิ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชุดที่ 1
  • 2. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 2 คานา แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม จัดทาขึ้นเพื่อไปใช้ใน การเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่มุ่งพัฒนาการคิด วิเคราะห์ โดยยึดหลักการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ และต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน โดยผู้จัดทาได้จัดทาแบบ ฝึกทักษะจานวน 7 ชุด ผู้จัดทาจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ทศนิยมและ เศษส่วน ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม ชุดนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ในการนาไปแก้ปัญหากับนักเรียนที่เรียนไม่เข้าใจ และพัฒนาการเรียนการสอนในเรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้ดียิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณ ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมชัยมงคลรังงาม และผู้เชี่ยวชาญทุก ท่าน ที่กรุณาให้คาปรึกษา แนะนา ให้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์มีความสมบูรณ์ และ ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพ ต่อไป กมลทิพย์ บุญโพธิ์
  • 3. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 3 สารบัญ คานา สารบัญ คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะ.................................................................. คาแนะนาในการใช้สาหรับครู ....................................................................... คาแนะนาในการใช้สาหรับนักเรียน .............................................................. จุดประสงค์การเรียนรู้ .................................................................................. ใบความรู้ ชุดที่ 1.1........................................................................................ แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1.1................................................................................ ใบความรู้ ชุดที่ 1.2........................................................................................ แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1.2................................................................................ แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 ..................................................................... หน้า 1 2 3 4 5 7 8 11 13 บรรณานุกรม........................................................................................... 15 ภาคผนวก................................................................................................ 16 เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 1.1............................................................. 17 เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 1.2............................................................. 18 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน.............................................................. 20 แบบบันทึกคะแนน........................................................................................ 21
  • 4. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 4 คาแนะนาในการใช้แบบฝึกทักษะ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน ชุดที่ 1 ทศนิยมและการ เปรียบเทียบทศนิยม สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียน ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่มุ่งพัฒนาการคิด วิเคราะห์ โดยยึดหลักการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ โดย ผู้จัดทาได้จัดทาแบบฝึกทักษะจานวน 7 ชุด ในการทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน ให้นักเรียนปฏิบัติ ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ศึกษาใบความรู้ และทาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการ เปรียบเทียบทศนิยมในแต่ละชุดตรวจคาตอบจากเฉลยและบันทึกคะแนนลงในแบบ บันทึกคะแนน 2. เมื่อฝึกทักษะเสร็จแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนในแบบฝึกทักษะ แต่ละชุดและตรวจคาตอบจากเฉลยแล้วบันทึกคะแนน 3. นักเรียนควรตั้งใจเรียนและซักถามคุณครู ทันทีเมื่อเกิดความสงสัยและควร ฝึกฝนด้วยตนเองจะทาให้นักเรียนมีความชานาญในการแก้ปัญหาเพิ่มขึ้น
  • 5. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 5 คาแนะนาในการใช้สาหรับครู 1. แบบฝึกทักษะมีทั้งหมด 7 ชุด 2. แบบฝึกชุดนี้เป็นแบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ทศนิยมและการเปรียบเทียบ ทศนิยม ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แผนที่ 1, 2 จานวน 2 ชั่วโมง 3. ส่วนประกอบของแบบฝึกทักษะชุดนี้ประกอบด้วย 3.1 คาชี้แจง 3.2 คาแนะนาในการใช้สาหรับครู 3.3 คาแนะนาในการใช้สาหรับนักเรียน 3.4 จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.5 ใบความรู้ 3.6 แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1.1 และชุดที่ 1.2 3.7 แบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ 3.8 เฉลยแบบฝึกทักษะ 3.9 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 4. ศึกษาคู่มือการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ให้เข้าใจ 5. ชี้แจงขั้นตอนการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์นี้ให้นักเรียนเข้าใจ 6. ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ทาแบบฝึกทักษะและตรวจคาตอบตาม เฉลยในภาคผนวกทีละแบบฝึก 7. ดูแลให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนและให้คาแนะนาเมื่อนักเรียนพบปัญหา 8. ประเมินผลการเรียนของนักเรียนอย่างต่อเนื่องและให้แรงเสริมในการปฏิบัติ กิจกรรมของนักเรียน 9. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เมื่อศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้และทาแบบ ฝึกทักษะเสร็จสิ้น 10. บันทึกผลการประเมินหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะทุกครั้ง
  • 6. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 6 คาแนะนาในการใช้สาหรับนักเรียน 1. แบบฝึกทักษะมีทั้งหมด 7 ชุด 2. แบบฝึกชุดนี้เป็นแบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ทศนิยมและการเปรียบเทียบ ทศนิยม ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แผนที่ 1 และ 2 จานวน 2 ชั่วโมง 3. ขั้นตอนการใช้แบบฝึกทักษะ 3.1 ศึกษาทาความเข้าใจจุดประสงค์ของแบบฝึกทักษะ 3.2 อ่านและทาความเข้าใจกับใบความรู้ทุกตอน 3.3 ทาแบบฝึกทักษะอย่างรอบคอบ 3.4 ร่วมกันตรวจคาตอบกับเฉลยแบบฝึกทักษะ
  • 7. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 7 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกค่าประจาหลักของทศนิยมตาแหน่งต่างๆ และค่าของเลขโดดได้ 2. อธิบายเกี่ยวกับทศนิยมและค่าประจาหลักของทศนิยมได้ 3. เปรียบเทียบทศนิยมที่กาหนดได้
  • 8. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 8 ใบความรู้ ชุดที่ 1.1 ค่าประจาหลักของทศนิยม ทศนิยมใช้เขียนแทนปริมาณที่ไม่เต็มหน่วย มีเลขสองกลุ่มที่ถูกคั่นด้วย จุด ( . ) ที่เรียกว่า จุดทศนิยม ตัวเลขที่อยู่หน้าจุดแทนจานวนเต็มหน่วย ส่วนตัว เลขที่อยู่หลังจุดแทนจานวนที่ไม่เต็มหน่วย โดยที่ค่าของจานวนเต็มแบ่งออกเป็น สิบส่วน ร้อยส่วน พันส่วน หมื่นส่วน... เท่า ๆ กัน การเขียนทศนิยมแทนจานวนที่ไม่เต็มหน่วย ส่วนที่แรเงาเขียนแทนด้วยทศนิยมได้ดังนี้ คือ 4.0 10 4  ส่วนที่แรเงาเขียนแทนด้วยทศนิยมได้ดังนี้ คือ จานวนเต็ม 1 + 5.1 10 5  ส่วนที่แรเงาเขียนแทนด้วยทศนิยมได้ดังนี้ คือ 16.0 100 16  ส่วนที่แรเงาเขียนแทนด้วยทศนิยมได้ดังนี้ คือ จานวนเต็ม 1 + 26.1 100 26 
  • 9. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 9 ค่าประจาหลักของทศนิยม  เลขที่อยู่หน้าจุดทศนิยม มีหลักและค่าประจาหลักเป็นเช่นเดียวกับจานวนเต็ม  เลขที่อยู่หลังจุดทศนิยมตัวแรกจะเรียกว่าทศนิยมตาแหน่งที่หนึ่ง ถัดไปเป็น ทศนิยมตาแหน่งที่สอง ตาแหน่งที่สาม ตาแหน่งที่สี่ ไปเรื่อย ๆ ตามลาดับ ตารางค่าประจาหลักของทศนิยม ชื่อหลัก จานวนเต็ม จุด ทศนิยม ทศนิยมตาแหน่งที่ ... พัน ร้อย สิบ หน่วย 1 2 3 … ค่าประจา หลัก ... 1,000 103 100 102 10 10 1 1 . 10 1 10 1 100 1 2 10 1 0001 1 , 3 10 1 … พิจารณาค่าประจาหลักของเลขโดดในหลักต่าง ๆ ของทศนิยม 215.384 2 1 5 . 3 8 4 ดังนั้นเขียน 215.384 ให้อยู่ในรูปการกระจายได้ดังนี้ 215.384 = ( 2 102 ) + ( 101 ) + ( 15 ) +        10 1 3 +        2 10 1 8 +        3 10 1 4 เป็นหลักร้อย มีค่า 2 102 เป็นทศนิยมตาแหน่งที่ 3 มีค่า 3 10 1 4 เป็นหลักสิบ มีค่า 101 เป็นทศนิยมตาแหน่งที่ 2 มีค่า 2 10 1 8 เป็นหลักหน่วย มีค่า 15 เป็นทศนิยมตาแหน่งที่ 1 มีค่า 10 1 3
  • 10. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 10 2)                          432 10 1 1 10 1 9 10 1 5 10 1 0)16()108( = ............... แบบฝึกทักษะชุดที่ 1.1 ค่าประจาหลักของทศนิยม คาชี้แจง จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. บอกค่าประจาหลักของเลขโดดที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 1) 2.08 เลขโดด 8 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ ..................................... 2) 5.0017 เลขโดด 7 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ ..................................... 3) 12.119 เลขโดด 9 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ ..................................... 2. เลขโดด 3 ในทศนิยมต่อไปนี้ มีค่าเท่าไร 1) 0.304 เลขโดด 3 มีค่าเท่ากับ ....................................................... 2) 12.0163 เลขโดด 3 มีค่าเท่ากับ ....................................................... 3. เขียนทศนิยมต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปกระจาย 1) 11.57 = ................................................................................................... 2) 8.024 = .................................................................................................... 3) 0.125 = .................................................................................................... 4. เขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปทศนิยม 1)                    32 2 10 1 7 10 1 6 10 1 1)16()101()102( = ............
  • 11. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 11 ใบความรู้ ชุดที่ 1.2 การเปรียบเทียบทศนิยม การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นบวก ♠ การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนบวกสองจานวน เนื่องจาก ทศนิยมประกอบด้วยจานวนเต็มและส่วนที่เป็นทศนิยม ให้เปรียบเทียบ จานวนเต็ม ถ้าจานวนเต็มเท่ากันให้เปรียบเทียบส่วนที่เป็นทศนิยม นับตั้ง แต่ทศนิยมหนึ่งตาแหน่งเป็นต้นไป โดยพิจารณาเลขโดดคู่แรกในตาแหน่ง เดียวกันที่ไม่เท่ากัน จานวนที่มีเลขโดดในตาแหน่งนั้นมากกว่าจะเป็นจานวน ที่มากกว่า ตัวอย่างที่ 1 จงเปรียบเทียบ 8.23 และ 4.56 วิธีคิด ส่วนที่เป็นจานวนเต็มของ 8.23 และ 4.56 คือ 8 และ 4 ซึ่ง 8 มากว่า 4 ดังนั้น 8.23 มากกว่า 4.56 ใช้สัญลักษณ์ 8.23 > 4.56 ตอบ ๘.๒๓ > ๔.๕๖ ตัวอย่างที่ 2 จงเปรียบเทียบ 0.524 และ 0.526 วิธีคิด ส่วนที่เป็นจานวนเต็มของ 0.524 และ 0.526 คือ 0 ต้องเปรียบเทียบส่วนที่เป็นทศนิยม 5 เท่ากับ 5, 2 เท่ากับ 2 , 4 น้อยกว่า 6 ดังนั้น 0.524 น้อยกว่า 0.526 ใช้สัญลักษณ์ 0.524 < 0.526 ตอบ ๐.๕๒๔ < ๐.๕๒๖
  • 12. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 12 การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นลบ ♠ การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนบวกสองจานวน ให้หาค่าสมบูรณ์ ของทั้งสองจานวน แล้วนาค่าสมบูรณ์ที่ได้มาเปรียบเทียบ จานวนที่มีค่าสมบูรณ์ ที่น้อยกว่าจะเป็นจานวนที่มากกว่า ตัวอย่างที่ 1 จงเปรียบเทียบ -0.84 และ -0.87 วิธีคิด เนื่องจาก ค่าสมบูรณ์ของ -0.84 เท่ากับ 0.84 ค่าสมบูรณ์ของ -0.87 เท่ากับ 0.87 0.84 น้อยกว่า 0.87 ดังนั้น -0.84 มากกว่า -0.87 ใช้สัญลักษณ์ -0.84 > -0.87 ตอบ -๐.๘๔ > -๐.๘๗ ตัวอย่างที่ 2 จงเปรียบเทียบ -7.52 และ -5.33 วิธีคิด ค่าสมบูรณ์ของ -7.52 เท่ากับ 7.52 ค่าสมบูรณ์ของ -5.33 เท่ากับ 5.33 7.52 มากกว่า 5.33 ดังนั้น -7.52 น้อยกว่า -5.33 ใช้สัญลักษณ์ -7.52 < -5.33 ตอบ - ๗.๕๒ < -๕.๓๓ จานวนค่าสมบูรณ์ที่น้อยกว่า จะเป็นจานวนที่มากกว่า
  • 13. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 13 การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนบวกกับทศนิยมที่เป็นจานวนลบ ♠ การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจานวนบวกและทศนิยมที่เป็นจานวนลบ ทศนิยมที่เป็นจานวนบวกอยู่ทางขวาของ 0 และทศนิยมที่เป็นจานวนลบอยู่ ทางซ้ายมือของ 0 ดังนั้นทศนิยมที่เป็นจานวนบวกย่อมมากกว่าทศนิยมที่เป็น จานวนลบ ตัวอย่างที่ 1 จงเปรียบเทียบ 0.08 และ -2.38 วิธีคิด 0.08 เป็นจานวนบวก -2.38 เป็นจานวนลบ ทศนิยมที่เป็นจานวนบวกย่อมมากกว่าทศนิยม ที่เป็นจานวนลบ ดังนั้น 0.08 มากกว่า -2.38 ใช้สัญลักษณ์ 0.08 > -2.38 ตอบ ๐.๐๘ > -๒.๓๘ ตัวอย่างที่ 2 จงเปรียบเทียบ -8.59 และ 2.35 วิธีคิด -8.59 เป็นจานวนลบ 1.35 เป็นจานวนบวก ดังนั้น -8.59 น้อยกว่า 2.35 ใช้สัญลักษณ์ -8.59 < 2.35 ตอบ -๘.๕๙ < ๒.๓๕
  • 14. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 14 แบบฝึกทักษะชุดที่ 1.2 การเปรียบเทียบทศนิยม คาชี้แจง ให้นักเรียนการเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นบวก จากโจทย์ต่อไปนี้ โดยการเติมเครื่องหมาย >, < หรือ = ในช่อง ระหว่างสองจานวน 1. 0.89 และ 0.42 2. -31.76 และ -3.73 วิธีทา 0.89 0.42 วิธีทา -31.76 -3.73 ตอบ .................................. ตอบ .................................. 3. 4.252 และ -33.84 4. -0.08 และ -0.008 วิธีทา 4.252 -33.84 วิธีทา -0.08 -0.008 ตอบ .................................. ตอบ .................................. ให้นักเรียนเรียงลาดับจานวนต่อไปนี้จากมากไปหาน้อย 5. 0.3, 0.21, 0.35, 0.5 ตอบ …………………………………….. 6. -0.42, -0.53, -0.26, -0.55 ตอบ …………………………………..… 7. -4.2, -3.2, -2.4, -4.5 ตอบ …………………………………....… 8. 7.263, -8.163, -6.723, ตอบ …………………………………..…
  • 15. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 15 9. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 6 คน มีน้าหนักดังนี้ แดง หนัก 46.6 กิโลกรัม ดา หนัก 48.6 กิโลกรัม ขาว หนัก 49.6 กิโลกรัม เขียว หนัก 42.0 กิโลกรัม ฟ้า หนัก 45.5 กิโลกรัม เหลือง หนัก 36.5 กิโลกรัม จงหาว่า ใครมีน้าหนักมากที่สุด และใครมีน้าหนักน้อยที่สุด ตอบ ……………………………………..……………………..… 10. ในฤดูหนาวภาคเหนือของประเทศไทย มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 16.20 C ภาคใต้มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 9.30 C ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 13.50 C และภาคกลาง มีอุณหภูมิเฉลี่ย 14.350 C ให้นักเรียนเรียงลาดับอุณหภูมิเฉลี่ยจากอุณหภูมิเฉลี่ยหนาวน้อยที่สุด ไปหาอุณหภูมิเฉลี่ยหนาวมากที่สุด ตอบ ……………………………………..……………………..… ………………………………………………………………
  • 16. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 16 แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ........................................................................................................................................... คาชี้แจง 1. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว 2. เครื่องหมายกากบาท  ลงในช่อง กระดาษคาตอบ 3. แบบทดสอบมี 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน (รวม 10 คะแนน) 4. ได้คะแนนอย่างน้อย 8 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์ ************************************************************************** 1) พื้นที่ส่วนที่แรเงาเขียนแทนด้วยทศนิยมใด ก. 0.2 ข. 0.02 ค. 0.26 ง. 0.026 2) ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. 9 ในจานวน 495.7 มีค่าประจาหลักเป็น 2 10 1 ข. 3 ในจานวน 8.4312 มีค่าประจาหลักเป็น 2 10 1 ค. 5 ในจานวน 97.645 มีค่าประจาหลักเป็น 2 10 1 ง. 7 ในจานวน 0.2371 มีค่าประจาหลักเป็น 2 10 1 3) ค่าประจาหลักของ 9 ในข้อใดน้อยที่สุด ก. 1.8729 ข. 18.729 ค. 187.29 ง. 1,872.9 4) ค่าประจาหลักของ 3 ในข้อใดมากที่สุด ก. -2.4563 ข. -2.5536 ค. -2.3456 ง. -2.7356
  • 17. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 17 5)              42 10 1 4 10 1 6 มีค่าเท่ากับข้อใด ก. 0.6040 ข. 0.0640 ค. 0.0604 ง. 0.0064 6) ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง ก. 0.002 > -2.31 ข. -5.32 > 0.055 ค. 0.008 < - 5.67 ง. 0.07 < - 0.70 7) ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง ก. -6.42 > -5.53 ข. -5.32 < -3.32 ค. -4.32 < -4.98 ง. -2.36 < - 4.72 8) ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง ก. 0.05 = 0.50 ข. 0.95 < 0.65 ค. 2.35 > 4.35 ง. 5.38 > 5.32 9) ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องในการเปรียบเทียบทศนิยม ก. ให้พิจารณาทศนิยมที่เป็นทั้งบวก และลบพร้อมๆ กัน ข. ให้พิจารณาทศนิยมที่เป็นลบก่อน ค. ให้พิจารณาอะไรก็ได้ไม่มีกฎเกณฑ์ ในการพิจารณา ง. ให้พิจารณาทศนิยมที่เป็น บวกก่อน 10) ในฤดูหนาวที่ประเทศสวีเดน มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 32.20 C ที่ประเทศญี่ปุ่น มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 12.20 C ที่ประเทศจีนมีอุณหภูมิเฉลี่ย – 10.20 C ที่ประเทศไทย มีอุณหภูมิเฉลี่ย 16.350 C ประเทศไหนหนาวที่สุด ก. ประเทศสวีเดน ข. ประเทศญี่ปุ่น ค. ประเทศจีน ง. ประเทศไทย
  • 18. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 18 บรรณานุกรม กนกวลี อุษณกรกุล และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อักษรเจริญทัศน์, มปพ. กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สถาบันส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา ลาดพร้าว, 2553. ________. คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา ลาดพร้าว, 2553. ชนันทิตา ฉัตรทอง และ วิสุทธิ์ เวียงสมุทร. สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ สัมฤทธิ์มาตรฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพ ฯ: อักษรเจริญทัศน์, 2554. ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์, 2555. สุเทพ จันทร์สมบูรณ์กุล และคณะ. สื่อเสริมการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพ ฯ: สานักพิมพ์ เดอะบุคส์ จากัด, 2554.
  • 19. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 19 ภาคผนวก
  • 20. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 20 เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 1.1 ค่าประจาหลักของทศนิยม คาชี้แจง จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. บอกค่าประจาหลักของเลขโดดที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 1) 2.08 เลขโดด 8 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ 2) 5.0017 เลขโดด 7 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ 3) 12.119 เลขโดด 9 มีค่าประจาหลัก เท่ากับ 2. เลขโดด 3 ในทศนิยมต่อไปนี้ มีค่าเท่าไร 1) 0.304 เลขโดด 3 มีค่าเท่ากับ ..................................................... 2) 12.0163 เลขโดด 3 มีค่าเท่ากับ ..................................................... 3. เขียนทศนิยมต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปกระจาย 1) 11.57 = 2) 8.024 = 3) 0.125 = 4. เขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปทศนิยม 1) 167.216 10 1 7 10 1 6 10 1 1)16()101()102( 32 2                    2) 0591.86 10 1 1 10 1 9 10 1 5 10 1 0)16()108( 432                          2 10 1 4 10 1 3 10 1 10 1 3              2 10 1 7 10 1 511101 )()(                    32 10 1 4 10 1 2 10 1 018 )(                    32 10 1 5 10 1 2 10 1 1 4 10 1 3
  • 21. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 21 เฉลยแบบฝึกทักษะชุดที่ 1.2 การเปรียบเทียบทศนิยม คาชี้แจง ให้นักเรียนการเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นบวก จากโจทย์ต่อไปนี้ โดยการเติมเครื่องหมาย >, < หรือ = ในช่อง ระหว่างสองจานวน 1. 0.89 และ 0.42 2. -31.76 และ -3.73 วิธีทา 0.89 > 0.42 วิธีทา -31.76 < -3.73 ตอบ ๐.๘๙ > ๐.๔๒ ตอบ -๓๑.๗๖ < -๓.๗๓ 3. 4.252 และ -33.84 4. -0.08 และ -0.008 วิธีทา 4.252 > -33.84 วิธีทา -0.08 < -0.008 ตอบ ๔.๒๕๒ > -๓๓.๘๔ ตอบ -๐.๐๘ < -๐.๐๐๘ ให้นักเรียนเรียงลาดับจานวนต่อไปนี้จากมากไปหาน้อย 5. 0.3 0.21, 0.35, 0.5 ตอบ ๐.๕, ๐.๓๕, ๐.๓, ๐.๒๑ 6. -0.42, -0.53, -0.26, -0.55 ตอบ -๐.๒๖, -๐.๔๒, -๐.๕๓, -๐.๕๕ 7. -4.2, -3.2, -2.4, -4.5 ตอบ -๒.๔, -๓.๒, -๔.๒, -๔.๕ 8. 7.263, -8.163, -6.723 ตอบ ๗.๒๖๓, -๖.๗๓๒, -๘.๑๖๓
  • 22. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 22 9. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 6 คน มีน้าหนักดังนี้ แดง หนัก 46.6 กิโลกรัม ดา หนัก 48.6 กิโลกรัม ขาว หนัก 49.6 กิโลกรัม เขียว หนัก 42.0 กิโลกรัม ฟ้า หนัก 45.5 กิโลกรัม เหลือง หนัก 36.5 กิโลกรัม จงหาว่า ใครมีน้าหนักมากที่สุด และใครมีน้าหนักน้อยที่สุด ตอบ ขาว มีน้าหนักมากที่สุด เหลืองมีน้าหนักน้อยที่สุด 10. ในฤดูหนาวภาคเหนือของประเทศไทย มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 16.20 C ภาคใต้มีอุณหภูมิเฉลี่ย – 9.30 C ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 13.50 C และภาคกลาง มีอุณหภูมิเฉลี่ย 14.350 C ให้นักเรียนเรียงลาดับอุณหภูมิเฉลี่ยจากอุณหภูมิเฉลี่ยหนาวน้อยที่สุด ไปหาอุณหภูมิเฉลี่ยหนาวมากที่สุด ตอบ ๑๔.๓๕0 C, ๑๓.๕0 C, -๙.๓0 C, -๑๖.๒0 C
  • 23. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 23 ข้อ คาตอบ 1 ค 2 ข 3 ก 4 ค 5 ค 6 ก 7 ข 8 ง 9 ง 10 ก เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1
  • 24. แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม 24 แบบบันทึกคะแนนแบบฝึกทักษะ และแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม ชื่อ ………………………………………………………… โรงเรียน ………………………………………ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนที่ทาได้ หมายเหตุ หลังเรียน 10 ผลการพัฒนา พัฒนา ไม่พัฒนา แบบฝึกทักษะ คะแนนเต็ม คะแนนที่ทาได้ หมายเหตุ ชุดที่ 1.1 10 ชุดที่ 1.2 10 รวม 20 (ลงชื่อ)..…………………………………….ผู้บันทึก (……………………………………..) (ลงชื่อ)………………………………………ครูผู้สอน (............................................)