SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
á¹Ç·Ò§ ¡Òà ¨Ñ ´ μÑ้ §

Èٹ¾Ñ¡¾Ô§
ªØ Á ª ¹
ªÑ่ Ç ¤ Ã Ò Ç
ฉ บั บ ที่ ห นึ่ ง วั น ที่ 2 6 ตุ ล า ค ม 2 5 5 4

จัดทำโดยศูนยประสานจัดการความรูเพือรับมือภัยพิบติ (ศจภ.)
                                ่             ั
            www.k4flood.net
2   แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว
3




             มาพักรวมกันที่ศูนยพักพิงชั่วคราวใน
¡ÒÃ
5 ประการคือ
             สถานการณภัยพิบัติมีขอดีอยางนอย

1. การดูแลเรื่องความปลอดภัยเปนไปไดงาย
2. การจัดการเรืองสวัสดิการ อาหาร สุขาภิบาลและ
                ่
   ความเปนอยูมีความสะดวก
3. การ รักษา พยาบาล และ การ ควบคุม ปองกัน โรค
   เปนไปไดอยางทั่วถึง
4. การมีกิจกรรมรวมกันทำใหมีสุขภาพจิตดีกวาการ
   แยกอยูตามลำพัง
5. การติดตอขอการสนับสนุนจากภายนอกเปนไปได
   งายกวาการแยกยายอยูกันอยางกระจัดกระจาย
4    แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว




      การเลือกสถานที่สำหรับจัดตั้งศูนยพักพิงตอง
เลือกสถานที่ปลอดภัย เขาถึงไดงาย และมีพื้นที่และ
อาคาร เหมาะ กับ การ รองรับ ผู ประสบ ภัย (ใช พื้นที่
3.5 ตารางเมตรตอคน) หากเปนศูนยพักพิงในระดับ
ชุมชน อาจใชวัด โรงเรียน หรือสถานีอนามัยซึ่งเปน
อาคารหลายชั้นจัดทำเปนศูนยพักพิงที่ไมไกลจาก
ชุมชนที่แมน้ำจะทวมชั้นลางก็ยังพักอาศัยอยูไดโดย
การจัดการระบบรองรับที่เหมาะสม
      ระบบที่ตองเตรียมใหพรอมไดแก
5


1. Ãкºä¿¿‡Ò
1.1 ตอง สามารถ ตัด กระแส ไฟฟา ชั้น ลาง ได เพื่อ
    ความปลอดภัยหากเกิดน้ำทวมศูนย
1.2 ตองจัดใหมีไฟฟาสำรองในกรณีที่การไฟฟาตัด
    การจายกระแสไฟ เชน มีเครื่องปนไฟสำรอง
    (สำหรับศูนยที่มีผูพักอาศัยราว 400 คน ควร
    ใช เครื่ อ ง ป น ไฟ ขนาด 4 กิ โ ล วั ต ต ซึ่ ง จะ ใช
    น้ำมันประมาณชั่วโมงละ 1 ลิตร หรือในกรณี
    ที่ ใช เฉพาะ ไฟ ส อ ง สว า ง ก็ อาจ ใช เครื่ อ งยนต
    การเกษตรขนาด 15 แรงมาประกอบกับไดนาโม
    3-5 กิโลวัตตได)
1.3 การเดินไฟสำรองควรแยกระบบไฟจากระบบไฟ
    ปกติ เดินสายไฟในลักษณะปลอดภัยทั้งไฟสอง
    สวางในพื้นที่พัก พื้นที่ทำงาน พื้นที่เปลี่ยวและ
    เสี่ยงภัย และปลั๊กไฟสำหรับพัดลมและสำหรับ
6    แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว

    ชารจโทรศัพทมือถือในหองพักทุกหอง
1.4 ใน กรณี ไฟฟ า ดั บ หรื อ ไม มี ไฟฟ า สำรอง ควร
    เตรียมอุปกรณสองสวาง เชน ตะเกียงน้ำมัน
    เทียน ตะเกียงเจาพายุ รวมทั้งไมขีดไฟ ไฟแช็ค
    เปนตน
7


2. Ãкº¹้Ó
2.1 ต อ ง มี ระบบ สำรอง น้ ำ ที่ สะอาด ปลอดภั ย
    สามารถ เข า ถึ ง ได แม ใน เวลา ที่ น้ ำ ท ว ม แล ว
    (องคการอนามัยโลกกำหนดใหมีน้ำสะอาดทั้ง
    น้ำดื่มและน้ำใชอยางนอย 5 ลิตรตอคนตอวัน)
2.2 น้ำใช อาจใชน้ำธรรมชาตินำมากรองแบบงายๆ
    โดยแกวงสารสม กรองดวยผาสะอาดแลวเติม
    คลอรีน “หยดทิพย” ของกรมอนามัยเพื่อฆา
    เชื้อโรค
2.3 น้ำ ดื่ม ใช น้ำ กรอง หรือ น้ำ แกวง สารสม และ ใส
    คลอรีน “หยดทิพย” หรือน้ำตม
2.4 หาก จำเปน อาจ ตอง จัดหา การ
    สนับสนุน น้ำ สะอาด โดย เฉพาะ
    น้ำดื่มจากภายนอก
8     แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว


3. ÃкºÍÒËÒÃ
3.1 ประสาน รับ การ สนับสนุน
    จากองคกรตางๆ เชน อบต.
    เทศบาล มูลนิธิ เพื่อจัดหาอาหารใหเพียงพอ
    (อั ต รา การ บริ โ ภค ข า วสาร เฉลี่ ย 300 กรั ม
    หรือ 3 ขีดตอคนตอวัน)
3.2 มี ภาชนะ สำหรับ ปรุง เก็บ รักษา และ แจก จาย
    อาหารอยางเพียงพอ ควรหลีกเลียงการใชกลองโฟม
                                     ่
    เพื่อลดปริมาณขยะในศูนยฯ และเปนไปไดควร
    แจกจายภาชนะพลาสติกและชอนประจำตัวเพือ          ่
    ใหมีการลางแลวนำมาใชใหม
3.3 เตรียมสถานที่สำหรับการจัดเก็บ การประกอบ
    อาหาร การ แจก จ า ย รวม ทั้ ง การ ชำระ ล า ง
    ภาชนะ
9


3.4 เตรียมแกสหรือไฟฟาสำหรับการปรุงอาหารให
    เพียงพอ
3.5 มีระบบการกำจัดขยะและเศษอาหาร หากเปน
    ไปไดรับประทานใหหมดในแตละครั้ง
10 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว


4. ÃкºÊØ¢ÒÀÔºÒÅ
      ไดแกเรื่องสุขา ขยะ และสัตวเลี้ยง

4.1 ทีตังสุขาไมควรหางไกลเกิน 50 เมตร จากทีพก
      ่ ้                                   ่ ั
    และใหหางจากจุดปรุงอาหาร จุดรับประทาน
    อาหาร และแหลงน้ำดื่มน้ำใชไมนอยกวา 20
    เมตร
4.2 ควรจัดใหมีสุขา 1 หองตอ 50 คนเปนเบื้องตน
    และ สร า ง เพิ่ ม ขึ้ น ให ได 1 ห อ ง ต อ 20 คน
    โดยเร็ว
4.3 จัดเวรทำความสะอาดหองสุขาอยางนอยวันละ
    2 ครั้งทุกวัน
4.4 การเก็บรวบรวมขยะและกำจัดขยะ ควรมีการ
    คัดแยกขยะ เชน ขยะรีไซเคิล (ขวดพลาสติก
    ขวดแกว) ขยะเปยกและเศษอาหาร
11


4.5 อัตราสำหรับการคำนวณเตรียมการเก็บรวบรวม
    ขยะในศูนยคือ 40 คนตอถุงดำ 100 ลิตรตอวัน
4.6 สำหรับขยะเปยกหรือเศษอาหาร ควร มีขนาด
    50-100 ลิตร ตอผูพักอาศัย 12-15 คน ตอง
    มีฝาปดมิดชิด และมีถุงพลาสติกรองรับอีกชั้น
    ควรใส EM กอนนำไปกำจัดทุกวัน เพื่อไมให
    เปนแหลงอาหารของพาหะนำโรค เชน แมลงวัน
    หนู และแมลงสาบ
4.7 ควรจัดสถานทีสำหรับสัตวเลียงเปนบริเวณทีโลง
                     ่               ้                    ่
    อากาศถายเทไดดี เฉพาะแยกออกจากบริเวณ
    ที่ คน พักอาศัย และ แยก ประเภท สัตว สถาน ที่
    สำหรั บ สั ต ว เลี้ ย ง ควร เป น พื้ น ที่ โล ง อากาศ
    ถายเทดี
12 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว


5. Ãкº´ÙáÅÊØ¢ÀÒ¾áÅл‡Í§¡Ñ¹âä
        ตองมีหนวยดูแลดานสุขภาพ แตถาเปนผูปวย
ที่ ตองการ การ ดูแล ตอ เนื่องจาก แพทย ควร สง ตอ
หรือพาออกมาอยูที่ศูนยพักพิงใหญที่มีบุคลากรและ
เครื่องมือทางการแพทยพรอม

5.1 ซั ก ประวั ติ โรค ประจำ ตั ว และ ความ เจ็ บ ป ว ย
    พรอมกับการลงทะเบียน ผูพักอาศัย โดยเก็บ
    ขอมูลเปนระบบครอบครัว
5.2 มี ผูรับ ผิด ชอบ หนวย พยาบาล ทำ หนาที่ ใหการ
    ดูแลรักษาและบันทึกขอมูลการเจ็บปวย โดยมีการ
    สงตอขอมูลกรณีมีการผลัดเปลี่ยนกันทำหนาที่
5.3 จัดใหมียาและอุปกรณการแพทยที่จำเปน
5.4 จัดทีพกใหเหมาะสมกับผูปวยและผูมีความเสียง
            ่ ั                                  ่
    โดยใหผูปวยนอนอยูใกลทางเขาออกเพื่อความ
    สะดวกในการเขาไปดูแล และหลีกเลี่ยงการจัด
13


    ใหหญิงมีครรภและผูสูงอายุอยูชั้นบน
5.5 ดูแลใหผูปวยโรคเรื้อรังไดกินยาอยางตอเนื่อง
5.6 ปองกันการแพรกระจายเชื้อโรค เชน การแยก
    ผูปวยไขหวัดหรือตาแดง การปดปากดวยผาหรือ
      
    ตนแขนเวลาไอหรือจาม การดูแลการขับถาย
    และอาเจียนในผูปวยอุจจาระรวง
5.7 พูดคุยและสังเกตความ ผิดปกติในดานสุขภาพ
    เปนระยะ เชน อาการซึมเศรา การมีบาดแผล
5.8 มี ระบบ ประสาน งาน ขอ ความ ช ว ย เหลื อ กั บ
    ภายนอกเมื่อเกินความสามารถในการดูแล
5.9 มี ระบบ เฝา ระวัง โรค โดย กำหนด ผูรับ ผิด ชอบ
    มีการบันทึกการปวยของผูอาศัย และเมือพบการ
                                          ่
    ปวยผิดปกติใหรายงานแกหนวยงานสาธารณสุข
    ที่รับผิดชอบในพื้นที่ (รายละเอียดการปองกัน
    และควบคุมโรคตางๆ ศึกษาไดจาก website
    กรมควบคุมโรค www.ddc.moph.go.th)
14 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว


6. Ãкº¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
6.1 จัด สถาน ที่ ให ปลอดภัย  เชน มี ราว จับ บันได
    ทางลาด ตรวจสอบจุดทีอาจมีไฟฟารัว กลบถม
                            ่            ่
    หลุมบอ และติดไฟสองสวางเพิ่มในจุดอับที่มืด
    หรือเปลี่ยว
6.2 จัดการระวังภัยจากบุคคล เชน คนรายที่เขามา
    ลักขโมยทรัพยสิน ภัยคุกคามทางเพศ
6.3 จัดการระวังและปองกันภัยจากสัตวรายตางๆ
    เชน งู จระเข หรือแมลงที่มีพิษ
6.4 มีมาตรการปองกันที่เขมแข็งไดแก การมีระบบ
    เวรยาม การควบคุมเวลาเปดปดประตูเขาออก
    การกันสัดสวนของผูพักอาศัย การจัดทีพกแบบ
          ้                               ่ ั
    แยกเพศ การหามดืมสุราและเลนการพนัน การ
                        ่
    ลดการสงเสียงดังกระทบกระทั่งกัน
6.5 มีการลงทะเบียน ผูพักพิงอยางเปนระบบ โดย
15


เจ า หน า ที่ สอบถาม ลง ราย ละเอี ย ด ชื่ อ เพศ
อายุ ภูมิลำเนา โรคประจำตัว ยาที่ใชประจำ
หมายเลข โทรศัพท บาน และ โทรศัพท มือ ถือ
และถายรูปผูเขาพักพิงเพื่อใหเกิดความสะดวก
สำหรับญาติพี่นองในการติดตอและติดตาม
16 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว


7. Ãкº¡ÒÃÊ×่ÍÊÒÃ
      สำหรับการติดตอประสานงานภายในศูนยและ
สื่อสารกับภายนอกเพื่อขอการสนับสนุนและความ
ชวยเหลือเมื่อจำเปน

Ãкº¡ÒÃÊ×่ÍÊÒÃã¹Èٹ¾Ñ¡¾Ô§
7.1   จัดทำระบบการลงทะเบียนผูมีหนาทีรับผิดชอบ
                                         ่
      ในศูนยพักพิงและอาสาสมัคร เพื่อทราบกำลัง
                คน และงานที่แตละฝายรับผิดชอบ
                ไมสับสนในแตละวัน
                 7.2 ควรจัดทำแผนที่ ปายชื่อบุคคล
                      สถาน ที่ ป า ย คำ เตื อ น และ
                      ระเบี ย บ การ อยู ร ว ม กั น ที่
                      ชัดเจน
17


7.3 กำหนด พื้นที่ ติด ปาย ประชาสัมพันธ ขาวสาร
    เพื่ อ แจ ง ทุ ก คน ให รั บ ทราบ สถานการณ และ
    เขาถึงความชวยเหลือดานตางๆ
7.4 ควรมีการตังวงพูดคุยสือสารกันเพือแลกเปลียน
                    ้             ่       ่       ่
    ขอมูลขาวสารและแกปญหาที่พบรวมกัน
7.5 หาก ศูนย ใด มี แรงงาน ขาม ชาติ เขา พักพิง ดวย
    แนะนำใหมีลามประจำศูนยสามารถติดตอขอ
    ความ ชวย เหลือ ได จาก ผู ประสาน งาน แรงงาน
    ขามชาติ โทร. 085 332 5753

Ãкº¡ÒÃÊ×่ÍÊÒÃμÔ´μ‹Í˹‹Ç§ҹÀÒ¹͡
7.6   แจงการจัดตั้งศูนย ตำแหนงที่ตั้ง ปริมาณคน
      ความ จำเป น ต า งๆ และ ช อ ง ทาง ติ ด ต อ ให
      สำนักงาน เขต องคการ ปกครอง สวน ทอง ถิ่น
      (อปท. เชน อบต. เทศบาล) และหนวยงานที่
      เกี่ยวของกับศูนยพักพิงทราบเพื่อวางแผนและ
18 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว


    สง การ ชวย เหลือ ได อยาง เปน ระบบ (ดู แบบ
    ฟอรมตอนทายของเอกสารนี้)
7.7 จั ด ทำ ราย ชื่ อ พร อ ม หมายเลข โทรศั พ ท ของ
    หนวย งาน องคกร และ สื่อ ทุก ประเภท ที่ เปน
    ผูประสานความชวยเหลือดานตางๆ เพื่อใชใน
    ยามจำเปน ฉุกเฉิน
7.8 แตง ตั้ง ผู ประสาน งาน และ ชอง ทางการ ติดตอ
    ระหวาง ศูนย พักพิง กับ หนวย งาน ภายนอก ให
    ชัดเจน
7.9 แนะนำ ให ทุก ศูนย มี ระบบวิทยุ สื่อสาร เพื่อ ใช
    ยามจำเปนเมื่อระบบการสื่อสารหลักลม
7.10 ติด ธง หรือ สัญลักษณ ที่ ระบุ เปน ศูนย พักพิง
    ผู ประสบ ภั ย ให ชั ด เจน เพื่ อ ให ก าร ส ง ความ
    ชวยเหลือทางการอากาศและเรือเขาถึงไดงาย
19


8. Ãкº¡Òâ¹Ê‹§ÅÓàÅÕ§
8.1 วางแผน และ ออกแบบ ชอง ทางการ เขา ถึง ศูนย
    พักพิง เชน ทางเดินรถที่กวางพอหรือทาเรือที่
    สามารถเชื่อมตอกันไดโดยไมขาดตอน
8.2 ควร ประสาน เพื่ อ ขอรั บ การ สนั บ สนุ น เสบี ย ง
    อาหาร น้ำ และอุปกรณที่จำเปน โดยกำหนด
    เสนทางการขนสงลำเลียงที่ชัดเจน
8.3 กำหนดวิธีการกำจัดและการขนสงลำเลียงขยะ
    และของเสียออกจากศูนย
8.4 กำหนดระบบและรูปแบบการสงตอผูปวย โดย
    เฉพาะอยางยิ่งในสถานการณฉุกเฉิน
9. Ãкº¡ÒèѴ¡ÒÃ
¡ÒèѴ¡ÒÃÈٹ
9.1 แตง ตั้ง ผู จัดการ ศูนย ที่ เปน หลัก ใน การ บริหาร
    จัดการและประสานงานในภาพรวม
9.2 มีผูรบผิดชอบทีชัดเจนในแตละระบบเชน ระบบ
         ั         ่
    น้ำ ระบบไฟ ระบบความปลอดภัย ฯลฯ
9.3 ดานการเงิน ควรมีการจัดทำบัญชีรายรับรายจาย
    ที่ชัดเจน โปรงใส โดยเฉพาะเงินบริจาคและงบ
    สนับสนุนจากองคกรตางๆ (งบประมาณในการ
    จัดการศูนยพักพิงจะตกประมาณ 200 บาท/
    คน/วัน)
9.4 ดานสังคม ควรเคารพในคุณคา วัฒนธรรมและ
    ศรัทธาทางศาสนาของผูพักอาศัย
21

¡ÒèѴ¡Òä¹
9.5 ควร มีการจัดเวรอาสาสมัครจากผูพักอาศัยให
    ทำหนาที่ตางๆ เชน ดูแลรักษาความสะอาด
    งาน รักษา ความ ปลอดภัย งาน บาน งาน ครัว
    เปนตน
9.6 สำหรั บ อาสา สมั ค ร จาก ภายนอก ควร แบ ง
    ประเภท งาน ให เหมาะ สม เชน อาสา สมัคร
    ประเภทวันหรือสองวัน และอาสาสมัครระยะ
    ยาว หรืออาสาสมัครที่มีทักษะเฉพาะดาน เชน
    การพยาบาล การใหคำปรึกษา การดูแลเด็ก
    ออกกำลังกายและสันทนาการ
22 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว


¡ÒèѴ¡Òâͧ
9.7 มีระบบจัดเก็บขาวของบริจาคที่หยิบก็งาย หาย
     ก็รู ดูก็งามตา มากอน ใชกอน

¡ÒÃàμÃÕÂÁʶҹ·Õ่
9.8 จัด ทำ แผนผัง ของ ศูนย   และ จัด แบง โซน (1)
    ที่พักผูประสบภัย (2) ที่พักเจาหนาที่และอาสา
    สมัคร (3) จุดตอนรับและลงทะเบียน (4) หอง
    พยาบาล (5) จุดรับของบริจาคและหองเก็บของ
    (6) หองครัว (7) โซนซักลางและตากผา
9.9 จัดแบงที่พักใหเปนสัดสวน หากผูพักอาศัยมา
    เปนครอบครัวควรใหพักอยูดวยกัน หากมาเปน
                                
    บุคคล ควรจัดใหพักแยกระหวางเพศหญิง-ชาย
23


  ÁÒμðҹÈٹ¾Ñ¡¾Ô§ (ͧ¤¡ÒÃÊË»ÃЪҪÒμÔ)

   ÃÒ¡Òà                     ¨Ó¹Ç¹/»ÃЪҡÃ
สวม                           1:20
ระยะทางจากสวมถึงที่พัก        5-51 เมตร
เจาหนาที่หลัก                1:100
อาสาสมัครชวยเหลือ             4:100
น้ําสวนตัว                    15-20 ลิตร/คน/วัน
น้ําสําหรับครัวในศูนย         20-30 ลิตร/คน/วัน
น้ําสำหรับหนวยแพทย/พยาบาล    40-60 ลิตร/คน/วัน
อาหาร                          2100 Kcal/คน/วัน
พื้นที่                        3.5 ตารางเมตร/คน
ขนาดพื้นที่ศูนย               30 ตารางเมตร/คน
24 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว


μÑÇÍ‹ҧ ¡μÔ¡Ò¡ÒÃÍÂًËÇÁ¡Ñ¹ã¹Èٹ¾Ñ¡¾Ô§

        1. กํา หนด เวลา การ ปด ประตู ศูนย ที่ ชัดเจน
เชนประตูศูนยปดเวลา 22.30 น. ปดไฟนอนเวลา
22.30 น. งดสงเสียงรบกวนหลังเวลา 20.00 น.
การ เข า ออก ศู น ย นอก เวลา ดั ง กล า ว ต อ ง แจ ง
ผูรับผิดชอบศูนย
        2. ตองมีการลงทะเบียนเขาออกศูนยฯ โดย
อา จนํา ปาย ประ จํา ตัว ไป ฝาก ณ จุด ลง ทะเบียน
ทุกครั้ง
        3. ถอดรองเทาไวดานนอกจัดเรียงใหดี หรือ
หากตองการเก็บไวใกลตัวใหใสถุงพลาสติก
        4. หา มนํา อาหาร เขาไป รับ ประทาน บริเวณ
ที่นอนยกเวนผูปวยและคนชรา
        5. ไมดืมแอลกอฮอล ไมเลนการพนัน สูบบุหรี่
                ่
เฉพาะในสถานที่จัดไวใหสูบนอกบริเวณอาคาร
        6. โปรดชวยกันรักษาความสะอาดในหองน้ํา
และเปลี่ยนรองเทากอนเขาหองน้ํา
25


        7. เก็บทีนอนทุกครังเพือทําความสะอาดงายขึน
                   ่             ้ ่                    ้
        8. โปรด รักษา ทรัพยสิน ของ ตนเอง และ ของ
เพื่อนรวมหอง
        9. การ ใช ห อ ง ส ว ม ขอ ให ช ว ย กั น ดู แ ล
ไมทิ้งผาอนามัย ทิชชูในโถ เพราะสวมจะเต็ม และ
หากเห็นวาตรงไหนสกปรก เลอะเทอะ ขอใหชวยกัน
ทําความสะอาดดวย
        10. กรุณาอาบน้ําในที่ที่จัดไว ไมควรอาบใน
หองสวม เพื่อปองกันพื้นแฉะและอาจเปนอันตราย
กับผูสูงอายุ
        11. กรุณาทิ้งขยะในจุดที่เตรียมไว แยกเปน
ขวดน้ํา และ ขยะทั่วไป สวนขยะเปยก เศษอาหาร
ขอใหทิ้งนอกอาคาร
        12. กรณีมีญาติมาเยี่ยม ขอใหญาติรอพบ ณ
จุดลงทะเบียนดานหนา
        13. หากมีปญหา ขอสงสัยในการอยูรวมกัน
กรุ ณ า แจ ง ผู จั ด การ ศู น ย หรื อ ผู ประสาน งาน ลง
ทะเบียน โทร. ...........................
26 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว




¢ŒÍÁÙÅÈٹ¾Ñ¡¾Ô§¼ÙŒ»ÃÐʺÀÑÂ

ชือศูนย..............................................................เลขที.่ ...................
  ่
หมูบาน.............................ตําบล/แขวง.....................................
อําเภอ/เขต ................................... จังหวัด ............................
เจาหนาที่ประจำศูนย...............................................................
เบอรโทร..........................................................................................
ประเภท ❍ วัด                                                        ❍ โรงเรียน
❍ ชุมชน .......................... ❍ อื่นๆ...................................
ขนาดพื้นที่ใชสอย (ตรม.) .....................................................
ศักยภาพที่รับผูประสบภัยได ...................................... คน
27


สถานที่              ไมมี   มี (ปริมาณ/ขนาด)   หมายเหตุ

1. โรงนอน
    เครื่องนอน/ฟูก
    มุง
    เสื่อ
    ผาหม

2.1 หองน้ํา
   หญิง
   ชาย

2.2 หองอาบน้ํา
   หญิง
   ชาย
28 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว


สถานที่               ไมมี     มี (ปริมาณ/ขนาด)   หมายเหตุ

3. โรงครัว
    อุปกรณทำครัว
    จาน/ชอน/ถวย

4. พื้นท่ีสวนกลาง

5. จุดพยาบาล

6. จุดลงทะเบียน
ผูประสบภัย

7. จุดบริจาคของ
และคลังเก็บ

8. ที่จอดรถ
29


ขอเสนอแนะอื่นๆ .....................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...............................................
ผูประสานงาน ............................................................................
เบอรโทร..........................................................................................
ศูนยประสานจัดการความรูรับมือภัยพิบัติ (ศจภ.)
ตั้งขึ้นเพื่อเปนหนวยขับเคลื่อนพลังปญญาของเครือขาย
รวมพัฒนาศักยภาพผูนำการสรางสุขภาวะแนวใหม (คศน.)
กัลยาณมิตร องคกรภาคี และผูสนใจ ที่รวมคิดรวมทำ
เพื่อจัดการความรูรับมือภัยพิบัติ



จัดทำ
        ศูนยประสานจัดการความรูรับมือภัยพิบติ (ศจภ.)
                                          ั
        อาคารสุขภาพแหงชาติ ชั้น 6
        กระทรวงสาธารณสุข
        อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
        www.k4flood.net
สนับสนุนวิชาการ
      - เครือขายรวมพัฒนาศักยภาพผูนำการสราง
        สุขภาวะแนวใหม (คศน.)
      - สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช.)
      - สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
      - สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.)
      - สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวาง
        ประเทศ (IHPP)
      - สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม
        สุขภาพ (สสส.)

สนับสนุนการจัดพิมพ
      สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม
      สุขภาพ (สสส.)
      โดย แผนงานคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ
      จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บทตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
Nunnaphat Chadajit
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
Thank Chiro
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Sarocha Makranit
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
Bangon Suyana
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
Nattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บทตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Eleminate น้ำเน่าเสีย
Eleminate น้ำเน่าเสียEleminate น้ำเน่าเสีย
Eleminate น้ำเน่าเสีย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กร
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กรตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กร
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กร
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 

Viewers also liked

หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
Poramate Minsiri
 
Bias, confounding and fallacies in epidemiology
Bias, confounding and fallacies in epidemiologyBias, confounding and fallacies in epidemiology
Bias, confounding and fallacies in epidemiology
Tauseef Jawaid
 

Viewers also liked (13)

Thai mert 2011
Thai mert 2011Thai mert 2011
Thai mert 2011
 
หลักการสอบสวนโรคทางระบาดวิทยา
หลักการสอบสวนโรคทางระบาดวิทยาหลักการสอบสวนโรคทางระบาดวิทยา
หลักการสอบสวนโรคทางระบาดวิทยา
 
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม  แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์ สาธารณภัย /ภัยพิบัติ/ภัยสงคราม
 
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
 
Aetiology and prediction: the difference between pathogenesis and prevention
Aetiology and prediction: the difference between pathogenesis and preventionAetiology and prediction: the difference between pathogenesis and prevention
Aetiology and prediction: the difference between pathogenesis and prevention
 
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงานสาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
 
Bias in health research
Bias in health researchBias in health research
Bias in health research
 
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
 
Bias, confounding and fallacies in epidemiology
Bias, confounding and fallacies in epidemiologyBias, confounding and fallacies in epidemiology
Bias, confounding and fallacies in epidemiology
 
Sampling methods PPT
Sampling methods PPTSampling methods PPT
Sampling methods PPT
 
Chapter 8-SAMPLE & SAMPLING TECHNIQUES
Chapter 8-SAMPLE & SAMPLING TECHNIQUESChapter 8-SAMPLE & SAMPLING TECHNIQUES
Chapter 8-SAMPLE & SAMPLING TECHNIQUES
 
RESEARCH METHOD - SAMPLING
RESEARCH METHOD - SAMPLINGRESEARCH METHOD - SAMPLING
RESEARCH METHOD - SAMPLING
 

Similar to แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว

คู่มืองดเหล้าเข้าพรรษา
คู่มืองดเหล้าเข้าพรรษา คู่มืองดเหล้าเข้าพรรษา
คู่มืองดเหล้าเข้าพรรษา
tawatchai2523
 
งดเหล้าเข้าพรรษา Final for web
งดเหล้าเข้าพรรษา Final for webงดเหล้าเข้าพรรษา Final for web
งดเหล้าเข้าพรรษา Final for web
tawatchai2523
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
bussayamas Baengtid
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
Nithimar Or
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
pluakdeang Hospital
 

Similar to แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว (20)

Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
คู่มืองดเหล้าเข้าพรรษา
คู่มืองดเหล้าเข้าพรรษา คู่มืองดเหล้าเข้าพรรษา
คู่มืองดเหล้าเข้าพรรษา
 
งดเหล้าเข้าพรรษา Final for web
งดเหล้าเข้าพรรษา Final for webงดเหล้าเข้าพรรษา Final for web
งดเหล้าเข้าพรรษา Final for web
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
16 prosth[1]
16 prosth[1]16 prosth[1]
16 prosth[1]
 
บทที่123แก้ไข2
บทที่123แก้ไข2บทที่123แก้ไข2
บทที่123แก้ไข2
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
Ummoua2
Ummoua2Ummoua2
Ummoua2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
 
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่มรายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 

More from Poramate Minsiri

Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Poramate Minsiri
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Poramate Minsiri
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
Poramate Minsiri
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
Poramate Minsiri
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
Poramate Minsiri
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
Poramate Minsiri
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
Poramate Minsiri
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
Poramate Minsiri
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Poramate Minsiri
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
Poramate Minsiri
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaiflood
Poramate Minsiri
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
Poramate Minsiri
 
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพวิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
Poramate Minsiri
 

More from Poramate Minsiri (20)

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platform
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้Flood
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaiflood
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
 
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพวิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
 

แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว

  • 1. á¹Ç·Ò§ ¡Òà ¨Ñ ´ μÑ้ § Èٹ¾Ñ¡¾Ô§ ªØ Á ª ¹ ªÑ่ Ç ¤ Ã Ò Ç ฉ บั บ ที่ ห นึ่ ง วั น ที่ 2 6 ตุ ล า ค ม 2 5 5 4 จัดทำโดยศูนยประสานจัดการความรูเพือรับมือภัยพิบติ (ศจภ.)  ่ ั www.k4flood.net
  • 2. 2 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว
  • 3. 3 มาพักรวมกันที่ศูนยพักพิงชั่วคราวใน ¡ÒÃ 5 ประการคือ สถานการณภัยพิบัติมีขอดีอยางนอย 1. การดูแลเรื่องความปลอดภัยเปนไปไดงาย 2. การจัดการเรืองสวัสดิการ อาหาร สุขาภิบาลและ ่ ความเปนอยูมีความสะดวก 3. การ รักษา พยาบาล และ การ ควบคุม ปองกัน โรค เปนไปไดอยางทั่วถึง 4. การมีกิจกรรมรวมกันทำใหมีสุขภาพจิตดีกวาการ แยกอยูตามลำพัง 5. การติดตอขอการสนับสนุนจากภายนอกเปนไปได งายกวาการแยกยายอยูกันอยางกระจัดกระจาย
  • 4. 4 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว การเลือกสถานที่สำหรับจัดตั้งศูนยพักพิงตอง เลือกสถานที่ปลอดภัย เขาถึงไดงาย และมีพื้นที่และ อาคาร เหมาะ กับ การ รองรับ ผู ประสบ ภัย (ใช พื้นที่ 3.5 ตารางเมตรตอคน) หากเปนศูนยพักพิงในระดับ ชุมชน อาจใชวัด โรงเรียน หรือสถานีอนามัยซึ่งเปน อาคารหลายชั้นจัดทำเปนศูนยพักพิงที่ไมไกลจาก ชุมชนที่แมน้ำจะทวมชั้นลางก็ยังพักอาศัยอยูไดโดย การจัดการระบบรองรับที่เหมาะสม ระบบที่ตองเตรียมใหพรอมไดแก
  • 5. 5 1. Ãкºä¿¿‡Ò 1.1 ตอง สามารถ ตัด กระแส ไฟฟา ชั้น ลาง ได เพื่อ ความปลอดภัยหากเกิดน้ำทวมศูนย 1.2 ตองจัดใหมีไฟฟาสำรองในกรณีที่การไฟฟาตัด การจายกระแสไฟ เชน มีเครื่องปนไฟสำรอง (สำหรับศูนยที่มีผูพักอาศัยราว 400 คน ควร ใช เครื่ อ ง ป น ไฟ ขนาด 4 กิ โ ล วั ต ต ซึ่ ง จะ ใช น้ำมันประมาณชั่วโมงละ 1 ลิตร หรือในกรณี ที่ ใช เฉพาะ ไฟ ส อ ง สว า ง ก็ อาจ ใช เครื่ อ งยนต การเกษตรขนาด 15 แรงมาประกอบกับไดนาโม 3-5 กิโลวัตตได) 1.3 การเดินไฟสำรองควรแยกระบบไฟจากระบบไฟ ปกติ เดินสายไฟในลักษณะปลอดภัยทั้งไฟสอง สวางในพื้นที่พัก พื้นที่ทำงาน พื้นที่เปลี่ยวและ เสี่ยงภัย และปลั๊กไฟสำหรับพัดลมและสำหรับ
  • 6. 6 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว ชารจโทรศัพทมือถือในหองพักทุกหอง 1.4 ใน กรณี ไฟฟ า ดั บ หรื อ ไม มี ไฟฟ า สำรอง ควร เตรียมอุปกรณสองสวาง เชน ตะเกียงน้ำมัน เทียน ตะเกียงเจาพายุ รวมทั้งไมขีดไฟ ไฟแช็ค เปนตน
  • 7. 7 2. Ãкº¹้Ó 2.1 ต อ ง มี ระบบ สำรอง น้ ำ ที่ สะอาด ปลอดภั ย สามารถ เข า ถึ ง ได แม ใน เวลา ที่ น้ ำ ท ว ม แล ว (องคการอนามัยโลกกำหนดใหมีน้ำสะอาดทั้ง น้ำดื่มและน้ำใชอยางนอย 5 ลิตรตอคนตอวัน) 2.2 น้ำใช อาจใชน้ำธรรมชาตินำมากรองแบบงายๆ โดยแกวงสารสม กรองดวยผาสะอาดแลวเติม คลอรีน “หยดทิพย” ของกรมอนามัยเพื่อฆา เชื้อโรค 2.3 น้ำ ดื่ม ใช น้ำ กรอง หรือ น้ำ แกวง สารสม และ ใส คลอรีน “หยดทิพย” หรือน้ำตม 2.4 หาก จำเปน อาจ ตอง จัดหา การ สนับสนุน น้ำ สะอาด โดย เฉพาะ น้ำดื่มจากภายนอก
  • 8. 8 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว 3. ÃкºÍÒËÒà 3.1 ประสาน รับ การ สนับสนุน จากองคกรตางๆ เชน อบต. เทศบาล มูลนิธิ เพื่อจัดหาอาหารใหเพียงพอ (อั ต รา การ บริ โ ภค ข า วสาร เฉลี่ ย 300 กรั ม หรือ 3 ขีดตอคนตอวัน) 3.2 มี ภาชนะ สำหรับ ปรุง เก็บ รักษา และ แจก จาย อาหารอยางเพียงพอ ควรหลีกเลียงการใชกลองโฟม ่ เพื่อลดปริมาณขยะในศูนยฯ และเปนไปไดควร แจกจายภาชนะพลาสติกและชอนประจำตัวเพือ ่ ใหมีการลางแลวนำมาใชใหม 3.3 เตรียมสถานที่สำหรับการจัดเก็บ การประกอบ อาหาร การ แจก จ า ย รวม ทั้ ง การ ชำระ ล า ง ภาชนะ
  • 9. 9 3.4 เตรียมแกสหรือไฟฟาสำหรับการปรุงอาหารให เพียงพอ 3.5 มีระบบการกำจัดขยะและเศษอาหาร หากเปน ไปไดรับประทานใหหมดในแตละครั้ง
  • 10. 10 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว 4. ÃкºÊØ¢ÒÀÔºÒÅ ไดแกเรื่องสุขา ขยะ และสัตวเลี้ยง 4.1 ทีตังสุขาไมควรหางไกลเกิน 50 เมตร จากทีพก ่ ้ ่ ั และใหหางจากจุดปรุงอาหาร จุดรับประทาน อาหาร และแหลงน้ำดื่มน้ำใชไมนอยกวา 20 เมตร 4.2 ควรจัดใหมีสุขา 1 หองตอ 50 คนเปนเบื้องตน และ สร า ง เพิ่ ม ขึ้ น ให ได 1 ห อ ง ต อ 20 คน โดยเร็ว 4.3 จัดเวรทำความสะอาดหองสุขาอยางนอยวันละ 2 ครั้งทุกวัน 4.4 การเก็บรวบรวมขยะและกำจัดขยะ ควรมีการ คัดแยกขยะ เชน ขยะรีไซเคิล (ขวดพลาสติก ขวดแกว) ขยะเปยกและเศษอาหาร
  • 11. 11 4.5 อัตราสำหรับการคำนวณเตรียมการเก็บรวบรวม ขยะในศูนยคือ 40 คนตอถุงดำ 100 ลิตรตอวัน 4.6 สำหรับขยะเปยกหรือเศษอาหาร ควร มีขนาด 50-100 ลิตร ตอผูพักอาศัย 12-15 คน ตอง มีฝาปดมิดชิด และมีถุงพลาสติกรองรับอีกชั้น ควรใส EM กอนนำไปกำจัดทุกวัน เพื่อไมให เปนแหลงอาหารของพาหะนำโรค เชน แมลงวัน หนู และแมลงสาบ 4.7 ควรจัดสถานทีสำหรับสัตวเลียงเปนบริเวณทีโลง ่ ้ ่ อากาศถายเทไดดี เฉพาะแยกออกจากบริเวณ ที่ คน พักอาศัย และ แยก ประเภท สัตว สถาน ที่ สำหรั บ สั ต ว เลี้ ย ง ควร เป น พื้ น ที่ โล ง อากาศ ถายเทดี
  • 12. 12 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว 5. Ãкº´ÙáÅÊØ¢ÀÒ¾áÅл‡Í§¡Ñ¹âä ตองมีหนวยดูแลดานสุขภาพ แตถาเปนผูปวย ที่ ตองการ การ ดูแล ตอ เนื่องจาก แพทย ควร สง ตอ หรือพาออกมาอยูที่ศูนยพักพิงใหญที่มีบุคลากรและ เครื่องมือทางการแพทยพรอม 5.1 ซั ก ประวั ติ โรค ประจำ ตั ว และ ความ เจ็ บ ป ว ย พรอมกับการลงทะเบียน ผูพักอาศัย โดยเก็บ ขอมูลเปนระบบครอบครัว 5.2 มี ผูรับ ผิด ชอบ หนวย พยาบาล ทำ หนาที่ ใหการ ดูแลรักษาและบันทึกขอมูลการเจ็บปวย โดยมีการ สงตอขอมูลกรณีมีการผลัดเปลี่ยนกันทำหนาที่ 5.3 จัดใหมียาและอุปกรณการแพทยที่จำเปน 5.4 จัดทีพกใหเหมาะสมกับผูปวยและผูมีความเสียง ่ ั   ่ โดยใหผูปวยนอนอยูใกลทางเขาออกเพื่อความ สะดวกในการเขาไปดูแล และหลีกเลี่ยงการจัด
  • 13. 13 ใหหญิงมีครรภและผูสูงอายุอยูชั้นบน 5.5 ดูแลใหผูปวยโรคเรื้อรังไดกินยาอยางตอเนื่อง 5.6 ปองกันการแพรกระจายเชื้อโรค เชน การแยก ผูปวยไขหวัดหรือตาแดง การปดปากดวยผาหรือ  ตนแขนเวลาไอหรือจาม การดูแลการขับถาย และอาเจียนในผูปวยอุจจาระรวง 5.7 พูดคุยและสังเกตความ ผิดปกติในดานสุขภาพ เปนระยะ เชน อาการซึมเศรา การมีบาดแผล 5.8 มี ระบบ ประสาน งาน ขอ ความ ช ว ย เหลื อ กั บ ภายนอกเมื่อเกินความสามารถในการดูแล 5.9 มี ระบบ เฝา ระวัง โรค โดย กำหนด ผูรับ ผิด ชอบ มีการบันทึกการปวยของผูอาศัย และเมือพบการ  ่ ปวยผิดปกติใหรายงานแกหนวยงานสาธารณสุข ที่รับผิดชอบในพื้นที่ (รายละเอียดการปองกัน และควบคุมโรคตางๆ ศึกษาไดจาก website กรมควบคุมโรค www.ddc.moph.go.th)
  • 14. 14 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว 6. Ãкº¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ 6.1 จัด สถาน ที่ ให ปลอดภัย เชน มี ราว จับ บันได ทางลาด ตรวจสอบจุดทีอาจมีไฟฟารัว กลบถม ่ ่ หลุมบอ และติดไฟสองสวางเพิ่มในจุดอับที่มืด หรือเปลี่ยว 6.2 จัดการระวังภัยจากบุคคล เชน คนรายที่เขามา ลักขโมยทรัพยสิน ภัยคุกคามทางเพศ 6.3 จัดการระวังและปองกันภัยจากสัตวรายตางๆ เชน งู จระเข หรือแมลงที่มีพิษ 6.4 มีมาตรการปองกันที่เขมแข็งไดแก การมีระบบ เวรยาม การควบคุมเวลาเปดปดประตูเขาออก การกันสัดสวนของผูพักอาศัย การจัดทีพกแบบ ้  ่ ั แยกเพศ การหามดืมสุราและเลนการพนัน การ ่ ลดการสงเสียงดังกระทบกระทั่งกัน 6.5 มีการลงทะเบียน ผูพักพิงอยางเปนระบบ โดย
  • 15. 15 เจ า หน า ที่ สอบถาม ลง ราย ละเอี ย ด ชื่ อ เพศ อายุ ภูมิลำเนา โรคประจำตัว ยาที่ใชประจำ หมายเลข โทรศัพท บาน และ โทรศัพท มือ ถือ และถายรูปผูเขาพักพิงเพื่อใหเกิดความสะดวก สำหรับญาติพี่นองในการติดตอและติดตาม
  • 16. 16 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว 7. Ãкº¡ÒÃÊ×่ÍÊÒà สำหรับการติดตอประสานงานภายในศูนยและ สื่อสารกับภายนอกเพื่อขอการสนับสนุนและความ ชวยเหลือเมื่อจำเปน Ãкº¡ÒÃÊ×่ÍÊÒÃã¹Èٹ¾Ñ¡¾Ô§ 7.1 จัดทำระบบการลงทะเบียนผูมีหนาทีรับผิดชอบ  ่ ในศูนยพักพิงและอาสาสมัคร เพื่อทราบกำลัง คน และงานที่แตละฝายรับผิดชอบ ไมสับสนในแตละวัน 7.2 ควรจัดทำแผนที่ ปายชื่อบุคคล สถาน ที่ ป า ย คำ เตื อ น และ ระเบี ย บ การ อยู ร ว ม กั น ที่ ชัดเจน
  • 17. 17 7.3 กำหนด พื้นที่ ติด ปาย ประชาสัมพันธ ขาวสาร เพื่ อ แจ ง ทุ ก คน ให รั บ ทราบ สถานการณ และ เขาถึงความชวยเหลือดานตางๆ 7.4 ควรมีการตังวงพูดคุยสือสารกันเพือแลกเปลียน ้ ่ ่ ่ ขอมูลขาวสารและแกปญหาที่พบรวมกัน 7.5 หาก ศูนย ใด มี แรงงาน ขาม ชาติ เขา พักพิง ดวย แนะนำใหมีลามประจำศูนยสามารถติดตอขอ ความ ชวย เหลือ ได จาก ผู ประสาน งาน แรงงาน ขามชาติ โทร. 085 332 5753 Ãкº¡ÒÃÊ×่ÍÊÒÃμÔ´μ‹Í˹‹Ç§ҹÀÒ¹͡ 7.6 แจงการจัดตั้งศูนย ตำแหนงที่ตั้ง ปริมาณคน ความ จำเป น ต า งๆ และ ช อ ง ทาง ติ ด ต อ ให สำนักงาน เขต องคการ ปกครอง สวน ทอง ถิ่น (อปท. เชน อบต. เทศบาล) และหนวยงานที่ เกี่ยวของกับศูนยพักพิงทราบเพื่อวางแผนและ
  • 18. 18 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว สง การ ชวย เหลือ ได อยาง เปน ระบบ (ดู แบบ ฟอรมตอนทายของเอกสารนี้) 7.7 จั ด ทำ ราย ชื่ อ พร อ ม หมายเลข โทรศั พ ท ของ หนวย งาน องคกร และ สื่อ ทุก ประเภท ที่ เปน ผูประสานความชวยเหลือดานตางๆ เพื่อใชใน ยามจำเปน ฉุกเฉิน 7.8 แตง ตั้ง ผู ประสาน งาน และ ชอง ทางการ ติดตอ ระหวาง ศูนย พักพิง กับ หนวย งาน ภายนอก ให ชัดเจน 7.9 แนะนำ ให ทุก ศูนย มี ระบบวิทยุ สื่อสาร เพื่อ ใช ยามจำเปนเมื่อระบบการสื่อสารหลักลม 7.10 ติด ธง หรือ สัญลักษณ ที่ ระบุ เปน ศูนย พักพิง ผู ประสบ ภั ย ให ชั ด เจน เพื่ อ ให ก าร ส ง ความ ชวยเหลือทางการอากาศและเรือเขาถึงไดงาย
  • 19. 19 8. Ãкº¡Òâ¹Ê‹§ÅÓàÅÕ§ 8.1 วางแผน และ ออกแบบ ชอง ทางการ เขา ถึง ศูนย พักพิง เชน ทางเดินรถที่กวางพอหรือทาเรือที่ สามารถเชื่อมตอกันไดโดยไมขาดตอน 8.2 ควร ประสาน เพื่ อ ขอรั บ การ สนั บ สนุ น เสบี ย ง อาหาร น้ำ และอุปกรณที่จำเปน โดยกำหนด เสนทางการขนสงลำเลียงที่ชัดเจน 8.3 กำหนดวิธีการกำจัดและการขนสงลำเลียงขยะ และของเสียออกจากศูนย 8.4 กำหนดระบบและรูปแบบการสงตอผูปวย โดย เฉพาะอยางยิ่งในสถานการณฉุกเฉิน
  • 20. 9. Ãкº¡ÒèѴ¡Òà ¡ÒèѴ¡ÒÃÈٹ 9.1 แตง ตั้ง ผู จัดการ ศูนย ที่ เปน หลัก ใน การ บริหาร จัดการและประสานงานในภาพรวม 9.2 มีผูรบผิดชอบทีชัดเจนในแตละระบบเชน ระบบ ั ่ น้ำ ระบบไฟ ระบบความปลอดภัย ฯลฯ 9.3 ดานการเงิน ควรมีการจัดทำบัญชีรายรับรายจาย ที่ชัดเจน โปรงใส โดยเฉพาะเงินบริจาคและงบ สนับสนุนจากองคกรตางๆ (งบประมาณในการ จัดการศูนยพักพิงจะตกประมาณ 200 บาท/ คน/วัน) 9.4 ดานสังคม ควรเคารพในคุณคา วัฒนธรรมและ ศรัทธาทางศาสนาของผูพักอาศัย
  • 21. 21 ¡ÒèѴ¡Òä¹ 9.5 ควร มีการจัดเวรอาสาสมัครจากผูพักอาศัยให ทำหนาที่ตางๆ เชน ดูแลรักษาความสะอาด งาน รักษา ความ ปลอดภัย งาน บาน งาน ครัว เปนตน 9.6 สำหรั บ อาสา สมั ค ร จาก ภายนอก ควร แบ ง ประเภท งาน ให เหมาะ สม เชน อาสา สมัคร ประเภทวันหรือสองวัน และอาสาสมัครระยะ ยาว หรืออาสาสมัครที่มีทักษะเฉพาะดาน เชน การพยาบาล การใหคำปรึกษา การดูแลเด็ก ออกกำลังกายและสันทนาการ
  • 22. 22 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว ¡ÒèѴ¡Òâͧ 9.7 มีระบบจัดเก็บขาวของบริจาคที่หยิบก็งาย หาย ก็รู ดูก็งามตา มากอน ใชกอน ¡ÒÃàμÃÕÂÁʶҹ·Õ่ 9.8 จัด ทำ แผนผัง ของ ศูนย และ จัด แบง โซน (1) ที่พักผูประสบภัย (2) ที่พักเจาหนาที่และอาสา สมัคร (3) จุดตอนรับและลงทะเบียน (4) หอง พยาบาล (5) จุดรับของบริจาคและหองเก็บของ (6) หองครัว (7) โซนซักลางและตากผา 9.9 จัดแบงที่พักใหเปนสัดสวน หากผูพักอาศัยมา เปนครอบครัวควรใหพักอยูดวยกัน หากมาเปน  บุคคล ควรจัดใหพักแยกระหวางเพศหญิง-ชาย
  • 23. 23 ÁÒμðҹÈٹ¾Ñ¡¾Ô§ (ͧ¤¡ÒÃÊË»ÃЪҪÒμÔ) ÃÒ¡Òà ¨Ó¹Ç¹/»ÃЪҡà สวม 1:20 ระยะทางจากสวมถึงที่พัก 5-51 เมตร เจาหนาที่หลัก 1:100 อาสาสมัครชวยเหลือ 4:100 น้ําสวนตัว 15-20 ลิตร/คน/วัน น้ําสําหรับครัวในศูนย 20-30 ลิตร/คน/วัน น้ําสำหรับหนวยแพทย/พยาบาล 40-60 ลิตร/คน/วัน อาหาร 2100 Kcal/คน/วัน พื้นที่ 3.5 ตารางเมตร/คน ขนาดพื้นที่ศูนย 30 ตารางเมตร/คน
  • 24. 24 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว μÑÇÍ‹ҧ ¡μÔ¡Ò¡ÒÃÍÂًËÇÁ¡Ñ¹ã¹Èٹ¾Ñ¡¾Ô§ 1. กํา หนด เวลา การ ปด ประตู ศูนย ที่ ชัดเจน เชนประตูศูนยปดเวลา 22.30 น. ปดไฟนอนเวลา 22.30 น. งดสงเสียงรบกวนหลังเวลา 20.00 น. การ เข า ออก ศู น ย นอก เวลา ดั ง กล า ว ต อ ง แจ ง ผูรับผิดชอบศูนย 2. ตองมีการลงทะเบียนเขาออกศูนยฯ โดย อา จนํา ปาย ประ จํา ตัว ไป ฝาก ณ จุด ลง ทะเบียน ทุกครั้ง 3. ถอดรองเทาไวดานนอกจัดเรียงใหดี หรือ หากตองการเก็บไวใกลตัวใหใสถุงพลาสติก 4. หา มนํา อาหาร เขาไป รับ ประทาน บริเวณ ที่นอนยกเวนผูปวยและคนชรา 5. ไมดืมแอลกอฮอล ไมเลนการพนัน สูบบุหรี่ ่ เฉพาะในสถานที่จัดไวใหสูบนอกบริเวณอาคาร 6. โปรดชวยกันรักษาความสะอาดในหองน้ํา และเปลี่ยนรองเทากอนเขาหองน้ํา
  • 25. 25 7. เก็บทีนอนทุกครังเพือทําความสะอาดงายขึน ่ ้ ่ ้ 8. โปรด รักษา ทรัพยสิน ของ ตนเอง และ ของ เพื่อนรวมหอง 9. การ ใช ห อ ง ส ว ม ขอ ให ช ว ย กั น ดู แ ล ไมทิ้งผาอนามัย ทิชชูในโถ เพราะสวมจะเต็ม และ หากเห็นวาตรงไหนสกปรก เลอะเทอะ ขอใหชวยกัน ทําความสะอาดดวย 10. กรุณาอาบน้ําในที่ที่จัดไว ไมควรอาบใน หองสวม เพื่อปองกันพื้นแฉะและอาจเปนอันตราย กับผูสูงอายุ 11. กรุณาทิ้งขยะในจุดที่เตรียมไว แยกเปน ขวดน้ํา และ ขยะทั่วไป สวนขยะเปยก เศษอาหาร ขอใหทิ้งนอกอาคาร 12. กรณีมีญาติมาเยี่ยม ขอใหญาติรอพบ ณ จุดลงทะเบียนดานหนา 13. หากมีปญหา ขอสงสัยในการอยูรวมกัน กรุ ณ า แจ ง ผู จั ด การ ศู น ย หรื อ ผู ประสาน งาน ลง ทะเบียน โทร. ...........................
  • 26. 26 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว ¢ŒÍÁÙÅÈٹ¾Ñ¡¾Ô§¼ÙŒ»ÃÐʺÀÑ ชือศูนย..............................................................เลขที.่ ................... ่ หมูบาน.............................ตําบล/แขวง..................................... อําเภอ/เขต ................................... จังหวัด ............................ เจาหนาที่ประจำศูนย............................................................... เบอรโทร.......................................................................................... ประเภท ❍ วัด ❍ โรงเรียน ❍ ชุมชน .......................... ❍ อื่นๆ................................... ขนาดพื้นที่ใชสอย (ตรม.) ..................................................... ศักยภาพที่รับผูประสบภัยได ...................................... คน
  • 27. 27 สถานที่ ไมมี มี (ปริมาณ/ขนาด) หมายเหตุ 1. โรงนอน เครื่องนอน/ฟูก มุง เสื่อ ผาหม 2.1 หองน้ํา หญิง ชาย 2.2 หองอาบน้ํา หญิง ชาย
  • 28. 28 แนวทางการจัดตั้งศูนยพักพิงชุมชนชั่วคราว สถานที่ ไมมี มี (ปริมาณ/ขนาด) หมายเหตุ 3. โรงครัว อุปกรณทำครัว จาน/ชอน/ถวย 4. พื้นท่ีสวนกลาง 5. จุดพยาบาล 6. จุดลงทะเบียน ผูประสบภัย 7. จุดบริจาคของ และคลังเก็บ 8. ที่จอดรถ
  • 29. 29 ขอเสนอแนะอื่นๆ ..................................................................... ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................................................................................. ............................................... ผูประสานงาน ............................................................................ เบอรโทร..........................................................................................
  • 30. ศูนยประสานจัดการความรูรับมือภัยพิบัติ (ศจภ.) ตั้งขึ้นเพื่อเปนหนวยขับเคลื่อนพลังปญญาของเครือขาย รวมพัฒนาศักยภาพผูนำการสรางสุขภาวะแนวใหม (คศน.) กัลยาณมิตร องคกรภาคี และผูสนใจ ที่รวมคิดรวมทำ เพื่อจัดการความรูรับมือภัยพิบัติ จัดทำ ศูนยประสานจัดการความรูรับมือภัยพิบติ (ศจภ.)  ั อาคารสุขภาพแหงชาติ ชั้น 6 กระทรวงสาธารณสุข อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 www.k4flood.net
  • 31. สนับสนุนวิชาการ - เครือขายรวมพัฒนาศักยภาพผูนำการสราง สุขภาวะแนวใหม (คศน.) - สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช.) - สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) - สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวาง ประเทศ (IHPP) - สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม สุขภาพ (สสส.) สนับสนุนการจัดพิมพ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม สุขภาพ (สสส.) โดย แผนงานคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย