SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
การจัดการหองเรียนออนไลนดวย
GOOGLE CLASSROOM
TouchPoint.in.th
facebook.com/TouchPoint.in.thวิทยากร : กฤษณพงศ เลิศบำรุงชัย
1
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
สารบัญ
เรื่อง หน้า
รู้จักกับ Google Classroom 1
การเข้าใช้งาน Google Classroom 1
การสร้างชั้นเรียน 2
หน้าจอการทางานของ Google Classroom 4
การตั้งค่าชั้นเรียน 5
การจัดการชั้นเรียน 6
การเชิญครูเข้าร่วมชั้นเรียน 11
การเชิญนักเรียนเข้าร่วมชั้นเรียน 12
การส่งอีเมลถึงครูผู้สอนร่วมชั้นเรียน 14
การส่งอีเมลถึงนักเรียน 15
การนาครูออกจากชั้นเรียน 17
การนานักเรียนออกจากชั้นเรียน 17
การจัดการเนื้อหาในชั้นเรียน 18
การใช้งานสาหรับนักเรียน 31
1
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
รู้จักกับ Google Classroom
Google Classroom เป็นแอพพลิเคชั่นสาหรับการจัดการห้องเรียนบนคลาวด์ เป็นบริการของ
Google Apps for Education ที่ใช้งานได้ฟรี โดยผสานความสามารถของ Google Drive, Google Docs,
Google Sheets, Google Slides, Google Froms, Gmail และอีกหลากหลายแอพพลิเคชั่นเข้าด้วยกัน
ทาให้การเรียนการสอนเป็นไปได้อย่างสะดวกสบายมากขึ้นทั้งผู้สอนและผู้เรียน เนื่องจากใช้งานได้ง่าย
ประหยัดเวลา การจัดเก็บงานเป็นระเบียบ มีระบบการสื่อสาร ประหยัดค่าใช้จ่าย และมีความปลอดภัย
การเข้าใช้งาน Google Classroom
การเข้าใช้งาน Google Classroom สามารถทาได้ง่าย เพียงผู้ใช้ทั้งผู้สอนและผู้เรียนมีบัญชีอีเมล
ของ Google เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว สามารถใช้งานได้ผ่านการคลิกเมาส์และเพิ่มข้อมูล โดยไม่จาเป็นต้องมี
ความรู้ด้านการเขียนโค้ด โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่เว็บไซต์ edu.google.com
2. คลิก ProductClassroom
2
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
3. คลิก Go to Classroom
4. ลงชื่อเข้าใช้ด้วย Gmail
5. จะเข้าสู่หน้า Dashboard ของ Google Classroom
การสร้างชั้นเรียน
เมื่อเข้าสู่หน้า Dashboard ของ Google Classroom แล้ว สาหรับการใช้งานครั้งแรกจะแสดง
หน้าว่างเปล่า เนื่องจากยังไม่มีการสร้างรายวิชา สามารถสร้างชั้นเรียนได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
3
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
1. คลิกสร้างหรือเข้าร่วมชั้นเรียน คลิกสร้างชั้นเรียน
2. คลิก  ฉันอ่านและเข้าใจประกาศข้างต้นแล้ว
3. คลิกทาต่อ
4. ใส่รายละเอียดห้องเรียน
5. คลิกสร้าง
4
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
หน้าจอการทางานของ Google Classroom
หน้าแดชบอร์ด
หากต้องการกลับสู่หน้าแดชบอร์ด สามารถทาได้โดยการคลิก จะแสดงแถบด้านข้าง แล้ว
สามารถเลือกชั้นเรียนเพื่อดูชั้นเรียนทั้งหมด หรือคลิกปฏิทินเพื่อนดูงานที่มอบหมาย หรือคลิกชั้นเรียนที่เก็บ
เพื่อดูชั้นเรียนที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว หรือคลิกการตั้งค่าเพื่อตั้งค่ารูปโปรไฟล์และการแจ้งเตือน
หน้ารายวิชา
หน้าจอการทางานของ Google Classroom จะเป็นลักษณะของ Timeline โดยมีองค์ประกอบ
เป็นส่วนต่างๆ ดังนี้
5
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
แสดงชื่อรายวิชา ชั้นเรียน และรหัสชั้นเรียน
แสดงเรื่อง ห้องเรียน และคาอธิบายรายวิชา
การจัดการรูปแบบ Theme ของห้องเรียน
การแจ้งเตือนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นเร็วๆ นี้
ส่วนสาหรับประกาศ และมอบหมายงาน
การตั้งค่าชั้นเรียน
ผู้สอนสามารถตั้งค่าชั้นเรียน ใส่รายละเอียดของชั้นเรียน หรือแก้ไขรายละเอียดของชั้นเรียนได้ เช่น
ชื่อชั้นเรียน คาอธิบายชั้นเรียน ชั้นเรียน ห้องเรียน เรื่อง และรหัสของชั้นเรียน สามารถทาได้โดยมีขั้นตอน
ดังนี้
1. คลิกที่การตั้งค่า
2. ใส่รายละเอียดของห้องเรียนและทั่วไป
3. คลิกบันทึก
6
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การจัดการชั้นเรียน
การปรับแต่งรูปแบบธีมห้องเรียน
ผู้สอนสามารถปรับแต่งรูปแบบธีมห้องเรียนได้ เพื่อให้เกิดความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละรายวิชาที่
สร้างขึ้น โดยมี 2 รูปแบบ ได้แก่ การเลือกธีมและการอัพโหลดรูปภาพ
การเลือกธีม
1. คลิกเลือกธีม
2. เลือกหมวดหมู่ของธีม
3. คลิกเลือกธีมที่ต้องการ
4. คลิกเลือืกธีมของชั้นเรียน
7
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การอัพโหลดรูปภาพ
1. คลิกอัปโหลดรูปภาพ
2. คลิกเลือกรูปภาพจากคอมพิวเตอร์ของคุณ
3. เลือกรูปภาพที่ต้องการ
4. คลิก Open
5. ครอบตัดภาพตามต้องการ
6. คลิกเลือกธีมของชั้นเรียน
8
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
7. จะได้รูปภาพหน้าปกของชั้นเรียน
การเปลี่ยนชื่อชั้นเรียน
1. คลิกที่การตั้งค่า
2. แก้ไขชื่อชั้นเรียน
3. คลิกบันทึก
การคัดลอกห้องเรียน
หากผู้สอนมีจานวนกลุ่มเรียนในรายวิชาเดียวกันหลายกลุ่ม ผู้สอนสามารถคคัดลอกห้องเรียนแล้ว
ไปแก้ไขบางข้อมูล ทาให้ประหยัดเวลามากขึ้น สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
9
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
1. ไปที่หน้าแดชบอร์ด แล้วคลิกที่จุดสามจุด ในรายวิชานั้น แล้วคลิกคัดลอก
2. แก้ไขข้อมูลชั้นเรียน
3. คลิกคัดลอก
4. จะปรากฏชั้นเรียนที่คัดลอก
การจัดเก็บชั้นเรียน
เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา ผู้สอนอาจต้องการเก็บชั้นเรียนไว้ โดยที่เนื้อหาและงานที่ได้รับมอบหมาย
ในชั้นเรียนยังคงอยู่ และยังคงเข้าถึงไฟล์งานต่างๆ ได้ แต่ชั้นเรียนจะถูกย้ายไปยังพื้นที่จัดเก็บห้องเรียน
เพื่อให้ในหน้าแดชบอร์ดแสดงผลเฉพาะชั้นเรียนที่ใช้งานอยู่ ชั้นเรียนที่ถูกจัดเก็บจะไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้
จนกว่าจะกู้คืนชั้นเรียน โดยการจัดเก็บชั้นเรียนสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่หน้าแดชบอร์ด แล้วคลิกที่จุดสามจุด ในรายวิชานั้น แล้วคลิกเก็บ
2. คลิกเก็บ
10
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การดูชั้นเรียนที่เก็บ
การดูชั้นเรียนที่เก็บสามารถทาได้โดยคลิกที่ แล้วไปที่ชั้นเรียนที่เก็บ โปรแกรมจะแสดงเฉพาะ
รายวิชาที่จัดเก็บ
การกู้คืนชั้นเรียนที่เก็บ
เมื่อเข้ามาที่ชั้นเรียนที่เก็บแล้ว โปรแกรมจะแสดงเฉพาะรายวิชาที่จัดเก็บ หากต้องการนากลับไปใช้
งาน สามารถทาได้โดยคลิกที่จุดสามจุด ในรายวิชานั้น แล้วคลิกกู้คืน
การลบชั้นเรียนที่เก็บ
เมื่อเข้ามาที่ชั้นเรียนที่เก็บแล้ว โปรแกรมจะแสดงเฉพาะรายวิชาที่จัดเก็บ หากต้องการลบชั้นเรียน
ที่ไม่ใช้แล้ว สามารถทาได้โดยคลิกที่จุดสามจุด ในรายวิชานั้น แล้วคลิกลบ เมื่อลบชั้นเรียนแล้ว จะไม่
สามารถเข้าถึงโพสต์และความคิดเห็นของชั้นเรียนได้อีก แต่ยังสามารถเข้าถึงเอกสารของชั้นเรียนจาก
Google Drive ได้
11
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การเชิญครูเข้าร่วมชั้นเรียน
การเชิญครู
ในชั้นเรียนสามารถมีครูผู้สอนมากกว่า 1 คนได้ โดยครูที่มาร่วมชั้นเรียนสามารถจัดการห้องเรียน
และช่วยตรวจการบ้านได้ โดยการเชิญครูเข้าร่วมชั้นเรียนมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกผู้คน
2. คลิกเชิญครู
3. ใส่อีเมลของครูที่ต้องการเชิญ
4. คลิกเพิ่มผู้รับ
5. คลิกเชิญ
การตอบรับคาเชิญ
ครูที่ได้รับคาเชิญจะต้องไปตรวจสอบอีเมล และคลิกเข้าร่วม จึงจะสามารถเข้ามาสอนร่วมกันได้
และนักเรียนก็จะเห็นว่ามีครูมาสอนร่วมด้วย
12
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การเชิญนักเรียนเข้าร่วมชั้นเรียน
ครูสามารถเชิญนักเรียนเข้าร่วมชั้นเรียนได้ 2 วิธี ได้แก่ การเชิญด้วยอีเมลของนักเรียน และให้
นักเรียนเข้าร่วมชั้นเรียนด้วยตนเองด้วยรหัสชั้นเรียน
การเชิญนักเรียนด้วยอีเมล
1. คลิกผู้คน
2. คลิกเชิญนักเรียน
3. ใส่อีเมลของนักเรียนที่ต้องการเชิญ
4. คลิกเพิ่มผู้รับ
5. คลิกเชิญ
การตอบรับคาเชิญจากอีเมล
นักเรียนที่ได้รับคาเชิญจะต้องไปตรวจสอบอีเมล และ
คลิกเข้าร่วม จึงจะสามารถเข้ามาเรียน และร่วมกิจกรรมต่างๆ
กับครูได้
13
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การให้นักเรียนเข้าร่วมชั้นเรียนด้วยตนเอง
หากมีนักเรียนจานวนมาก ครูไม่สามารถเชิญนักเรียนโดยใช้อีเมลได้ จึงควรใช้วิธีให้นักเรียนเข้าร่วม
ชั้นเรียนด้วยตนเอง โดยครูจะต้องทราบและแจ้งรหัสของชั้นเรียนให้กับนักเรียน
1. คลิกการตั้งค่า
2. ไปที่ทั่วไป ให้คลิกรหัสของชั้นเรียนคลิกแสดง หรือคัดลอกแล้วส่งให้ผู้เรียนก็ได้
3. โปรแกรมจะแสดงรหัสของชั้นเรียน
การเข้าร่วมชั้นเรียนด้วยตนเอง
เมื่อนักเรียนลงชื่อเข้าใช้ด้วยบัญชีอีเมลของ Gmail แล้ว ให้ไปที่ classroom.google.com จะเข้า
สู่หน้าแดชบอร์ดของ Google Classroom และสามารถเข้าร่วมชั้นเรียนได้ด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกสร้างหรือเข้าร่วมชั้นเรียน คลิกเข้าร่วมชั้นเรียน
2. ใส่รหัสของชั้นเรียน
3. คลิกเข้าร่วม
14
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การส่งอีเมลถึงครูผู้สอนร่วมชั้นเรียน
ในบางกรณีอาจจาเป็นต้องส่งข้อมูลที่เป็นความลับ ผู้สอนสามารถส่งอีเมลถึงครูผู้สอนร่วมชั้นเรียน
ได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกผู้คน
2. คลิกที่จุดสามจุด ที่ครูที่ต้องการส่งอีเมล
3. คลิกอีเมล
4. ใส่รายละเอียดของการส่งอีเมล
5. คลิกส่ง
15
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การส่งอีเมลถึงนักเรียน
การส่งอีเมลถึงนักเรียนเป็นรายบุคคล
ในบางกรณีอาจจาเป็นต้องส่งข้อมูลที่เป็นความลับ ผู้สอนสามารถส่งอีเมลถึงนักเรียนได้ โดยมี
ขั้นตอนดังนี้
1. คลิกผู้คน
2. คลิกที่จุดสามจุด ที่นักเรียนที่ต้องการส่งอีเมล
3. คลิกส่งอีเมลถึงนักเรียน
4. ใส่รายละเอียดของการส่งอีเมล
5. คลิกส่ง
16
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การส่งอีเมลถึงนักเรียนครั้งละมากกว่า 1 คน
หากผู้สอนมีความจาเป็นต้องส่งข้อมูลไปทางอีเมลของผู้เรียนครั้งละมากกว่า 1 คน สามารถทาได้
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกผู้คน
2. เลือก  นักเรียนที่ต้องการส่งอีเมล
3. คลิกการดาเนินการอีเมล
4. ใส่รายละเอียดของการส่งอีเมล
5. คลิกส่ง
17
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การนาครูออกจากชั้นเรียน
ในกรณีมีการเปลี่ยนตัวครูผู้สอนร่วม ครูผู้สอนหลักสามารถนาครูผู้สอนร่วมออกจากห้องเรียนได้
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่ผู้คน
2. คลิกที่จุดสามจุด ที่ครูผู้สอนร่วมที่ต้องการเอาออก
3. คลิกลบ
4. จะปรากฏข้อความยืนยัน ให้คลิกลบ
การนานักเรียนออกจากชั้นเรียน
ในกรณีที่ผู้เรียนถอนรายวิชา ครูผู้สอนอาจจาเป็นต้องนานักเรียนออกจากชั้นเรียน สามารถทาได้
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่ผู้คน
2. เลือก  นักเรียนที่ต้องการลบ
3. คลิกการดาเนินการลบ
18
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
4. จะปรากฏข้อความยืนยัน ให้คลิกลบ
การจัดการเนื้อหาในชั้นเรียน
Google Classroom จะแสดงผลเป็น Timeline เรียกว่าสตรีม ที่ช่วยให้ครูผู้สอนสามารถโพสต์
ข้อมูลเกี่ยวกับรายชวิชา เช่น เนื้อหา (Content) ประกาศ (Announcement) และการมอบหมายงาน
(Assignment) และสามารถร่วมกันแสดงความคิดเห็น (Comment) เสมือนสื่อสังคมออนไลน์อย่าง
Facebook
การประกาศ
การประกาศ จะคล้ายๆ กับการโพสต์สถานะใน Facebook แต่สามารถแนบไฟล์จากคอมพิวเตอร์
แนบไฟล์จาก Google Drive วิดีโอจาก YouTube และการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังหน้าเว็บอื่น
ได้อีกด้วย โดยการประกาศสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ใส่ข้อมูลที่ต้องการประกาศ
2. แนบข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี)
3. คลิกโพสต์ (สามารถกาหนดเวลาและบันทึกฉบับร่างได้)
19
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การมอบหมายงาน
ในการเรียนตลอดรายวิชา ครูผู้สอนสามารถมอบหมายงานหรือการบ้านได้ นักเรียนจะต้องทางาน
ที่ได้รับมอบหมายและส่งผ่าน Google Classroom เมื่อครูผู้สอนสร้างงานแล้ว นักเรียนทุกคนในชั้นเรียน
จะได้รับการแจ้งเตือนทางอีเมล และจะเห็นงานในสตรีมของขั้นเรียน โดยขั้นตอนการสร้างงานมีดังนี้
1. ไปที่งานของชั้นเรียน
2. คลิกสร้าง
3. คลิกงาน
4. กาหนดชื่องาน คาแนะนา คะแนน วันกาหนดส่ง หัวข้อ และแนบไฟล์เพิ่ม (ถ้ามี)
5. คลิกมอบหมาย
20
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การสร้างงานแบบทดสอบ
การสร้างงานแบบทดสอบ
หากผู้สอนต้องการเก็บคะแนนจากแบบทดสอบก็สามารถทาได้ แต่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจใน
การใช้ Google Form ด้วย โดยการสร้างงานแบบทดสอบสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่งานของชั้นเรียน
2. คลิกสร้าง
3. คลิกงานแบบทดสอบ
4. กาหนดชื่อแบบทดสอบ คาแนะนา คะแนน ครบกาหนด หัวข้อ และแนบไฟล์เพิ่ม (ถ้ามี)
5. คลิกที่ Blank Quiz เพื่อสร้างข้อคาถามและเฉลยคาตอบ
6. คลิกมอบหมาย
21
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การใช้ Google Form สร้างแบบทดสอบ
การใช้ Google Form สร้างแบบทดสอบ มีวิธีการใช้งานเบื้องต้นเหมือนกับการสร้างแบบสอบถาม
ทั่วไป แต่จะมีการตั้งค่าบางคาสั่ง ทาให้แบบฟอร์มสามารถประมวลผลคะแนนได้ โดยมีส่วนประกอบดังนี้
กาหนดชื่อแบบฟอร์มหรือชื่อแบบทดสอบ
กาหนดคาอธิบายแบบฟอร์ม
เลือกรูปแบบของการตอบแบบฟอร์มหรือแบบทดสอบ
กาหนดโจทย์หรือข้อคาถาม
กาหนดตัวเลือกหรือคคาตอบ
การเฉลยคาตอบ
ทาสาเนาข้อคาถาม
ลบข้อคาถาม
กาหนดบังคับให้ตอบข้อคาถาม
ตัวเลือกเพิ่มเตอมของข้อคาถาม
เพิ่มคาถาม / นาเข้าคาถาม / เพิ่มชื่อและรายละเอียด / เพิ่มรูปภาพ / เพิ่มวิดีโอ / เพิ่มส่วน
เลือกธีม / แสดงผล / ตั้งค่าเพิ่มเติม
ส่งเพื่อแชร์ไปใช้งานกับปลายทางอื่น
การเฉลยคาตอบ
เมื่อครูกาหนดโจทย์และตัวเลือกแล้ว ครูผู้สอนจะต้องทาการเฉลย และกาหนดคะแนนให้กับแต่ละ
ข้อของคาถาม สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ใส่คาถามและตัวเลือกให้เรียบร้อย
2. คลิกเฉลยคาตอบ
22
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
3. กาหนดคะแนน
4. กาหนดคาตอบที่ถูกต้อง
การสร้างคาถาม
ระหว่างเนื้อหา ผู้สอนอาจต้องการทบทวนบทเรียนโดยการตั้งคาถาม เพื่อให้ผู้เรียนพิมพ์คาตอบ
แล้วส่งคาตอบได้ ซึ่งการสร้างคาถามในลักษณะนี้ จะเป็นการโพสต์คาถามครั้งละ 1 ข้อเท่านั้น สามารถทา
ได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่งานของชั้นเรียน
2. คลิกสร้าง
3. คลิกงานแบบทดสอบ
23
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
4. กาหนดคาถาม คาแนะนา คะแนน ครบกาหนด หัวข้อ และไฟล์แนบเพิ่มเติมได้ (ถ้ามี)
5. เลือกประเภทของคาถาม มี 2 แบบ ได้แก่ คาตอบสั้น กับปรนัย
6. คลิกถาม
การสร้างเนื้อหา
การโพสต์ในหน้าสตรีม เหมาะกับการใช้ประกาศทั่วไป ถึงแม้ว่าจะใช้โพสต์เนื้อหาได้ แต่การสร้าง
เนื้อหาด้วยคาสั่งการสร้างเนื้อหา จะทาให้ดูเด่นกว่าโพสต์ทั่วไป และผู้เรียนสามารถแยกออก และเข้าถึง
เนื้อหาได้สะดวกกว่า สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่งานของชั้นเรียน
2. คลิกสร้าง
3. คลิกเนื้อหา
24
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
4. กาหนดชื่อเนื้อหา คาอธิบาย หัวข้อ และไฟล์แนบเพิ่มเติมได้ (ถ้ามี)
5. คลิกโพสต์
การใช้โพสต์ซ้า
โพสต์ทั่วไปที่โพสต์ในสตรีมไม่สามารถนามาโพสต์ซ้าได้ แต่โพสต์ที่เกิดจากงานในชั้นเรียนสามารถ
นามาโพสต์ซ้าได้ สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่งานของชั้นเรียน
2. คลิกสร้าง
3. คลิกใช้โพสต์ซ้า
4. คลิกเลือกชั้นเรียน
25
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
5. เลือกโพสต์ที่ต้องการ
6. คลิกใช้ซ้า
7. แก้ไขข้อมูลโพสต์ได้ตามต้องการ
8. คลิกโพสต์
26
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การตั้งชื่อหัวข้อ
เมื่อในชั้นเรียนมีการมอบหมายงานมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในส่วนของงาน แบบทดสอบ เนื้อหา และ
คาถาม อาจใช้หัวข้อในการแบ่งส่วนของงาน เพื่อให้เข้าถึงงานได้ง่ายและเป็นระเบียบมากขึ้น สามารถทาได้
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่งานของชั้นเรียน
2. คลิกสร้าง
3. คลิกหัวข้อ
4. กาหนดชื่อหัวข้อ
5. คลิกเพิ่ม
การแก้ไขงานของชั้นเรียน
ในกรณีที่โพสต์สร้างงานที่ได้รับมอบหมายไปแล้ว ครูผู้สอนต้องการที่จะแก้ไขหรือเพิ่มเติมข้อมูล
สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่งานของชั้นเรียน
2. คลิกจุดสามจุด ที่งานที่ต้องการแก้ไข
3. คลิกแก้ไข
27
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
4. แก้ไขข้อมูลตามต้องการ
5. คลิกบันทึก
การลบงานของชั้นเรียนที่โพสต์แล้ว
ในกรณีที่โพสต์สร้างงานที่ได้รับมอบหมายไปแล้ว ครูผู้สอนต้องการที่จะลบงาน สามารถทาได้โดยมี
ขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่งานของชั้นเรียน
2. คลิกจุดสามจุด ที่งานที่ต้องการแก้ไข
3. คลิกลบ
28
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การเข้าถึงการบ้านของนักเรียน
เมื่อมีการมอบหมายงานหรือการบ้านให้กับนักเรียน นักเรียนมีหน้าที่ทางานที่ได้รับมอบหมายส่ง
ตามโพสต์ ครูผู้สอนสามารถเข้าไปดูการส่งการบ้านของนักเรียนได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่งานของชั้นเรียน
2. คลิกที่งาน
3. คลิกดูงาน
4. โปรแกรมจะแสดงจานวนนักเรียน และรายงานสถานะการส่งการบ้านของนักเรียน
29
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การตรวจให้คะแนนและส่งคืนงาน
การตรวจให้คะแนนและส่งคืนงาน ครูผู้สอนจะต้องเข้าถึงการบ้านของนักเรียนก่อน เมื่อเข้ามาแล้ว
โปรแกรมจะแสดงจานวนนักเรียนและแสดงสถานะการส่งงานของนักเรียน ครูผู้สอนสามารถคลิกดูการส่ง
งานเป็นรายบุคคลได้ เมื่อดูงานแล้วสามารถตรวจให้คะแนนและส่งคืนงานได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ใส่คะแนน
2. คลิกส่งคืน
3. แสดงความคิดเห็นให้กับงานของนักเรียน
4. คลิกส่งคืน
การแก้ไขคะแนน
เมื่อมีการตรวจให้คะแนนและส่งคืนงานของนักเรียนไปแล้ว แต่ต้องการแก้ไขคะแนน ครูผู้สอน
จะต้องเข้าถึงการบ้านของนักเรียนก่อน จึงจะสามารถแก้ไขคะแนนได้ สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ใส่คะแนนที่ต้องการแก้ไข
2. คลิกส่งคืน
30
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
3. แสดงความคิดเห็นให้กับงานของนักเรียน
4. คลิกส่งคืน
การดูสมุดคะแนนทั้งหมดของนักเรียนทุกคน
ครูผู้สอนสามารถดูสมุดคะแนนทั้งหมดของนักเรียนทุกคนได้ โดยการคลิกที่คะแนน โปรแกรมจะ
แสดงนักเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายทั้งหมด พร้อมทั้งแสดงสถานะและคะแนนของนักเรียนทุกคน
การส่งออกคะแนนเป็นไฟล์ Spread Sheet
ครูผู้สอนสามารถส่งออกคะแนนเป็นไฟล์ Spread Sheet ได้ โดยในชีตจะรวบรวมคะแนนทุกงาน
ของนักเรียนที่ส่งในรูปแบบตาราง ครูผู้สอนจะต้องเข้าถึงการบ้านของนักเรียนก่อน จึงจะสามารถส่งออก
คะแนนเป็นไฟล์ Spread Sheet ได้ สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่การตั้งค่า
2. คลิกคัดลอกคะแนนทั้งหมดไปที่ Google ชีต
31
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
3. จะปรากฏ Google Sheet ที่แสดงคะแนนทั้งหมด และคานวณคะแนนเฉลี่ยให้ด้วย
การใช้งานสาหรับนักเรียน
การใช้งาน Google Classroom สาหรับนักเรียนจะมีมุมมองแตกต่างจากของครู แต่ก็สามารถใช้
งานได้งาน นักเรียนสามารถเข้าร่วมชั้นเรียน ติดต่อสื่อสารกับครู แสดงความคิดเห็น ส่งงานที่ได้รับ
มอบหมาย และแก้ไขงานที่ได้รับมอบหมายได้
การเข้าร่วมชั้นเรียน
การเข้าร่วมชั้นเรียนทางอีเมล
นักเรียนที่ได้รับคาเชิญจากครูทางอีเมล จะต้องไปตรวจสอบอีเมลและคลิกเข้าร่วม จึงจะสามารถ
เข้ามาเรียน และร่วมกิจกรรมต่างๆ กับครูได้
32
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การเข้าร่วมชั้นเรียนด้วยรหัสของชั้นเรียน
เมื่อครูแจ้งรหัสของชั้นเรียนแล้ว นักเรียนจะต้องลงชื่อเข้าใช้ด้วยบัญชีอีเมลของ Gmail แล้วให้ไปที่
classroom.google.com จะเข้าสู่หน้าแดชบอร์ดของ Google Classroom และสามารถเข้าร่วมชั้นเรียน
ได้ด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกสร้างหรือเข้าร่วมชั้นเรียน คลิกเข้าร่วมชั้นเรียน
2. ใส่รหัสของชั้นเรียน
3. คลิกเข้าร่วม
การถอนตัวออกจากห้องเรียน
หากนักเรียนมีการถอนรายวิชา แต่ผู้สอนไม่ได้ลบ
นักเรียนออกจากชั้นเรียน นักเรียนสามารถถอนตัวออกจาก
ห้องเรียนได้ด้วยตนเอง โดยการคลิกที่จุดสามจุด แล้ว
คลิกยกเลิกการลงทะเบียน
การดูการบ้าน
นักเรียนสามารถดูงานที่ได้รับมอบหมายทั้งหมดจากงานของชั้นเรียน และคลิกในแต่ละงานเพื่อดู
รายละเอียดของงานได้ การดูการบ้านสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่งานของชั้นเรียน
2. คลิกที่งานเพื่อดูรายละเอียดเบื้องต้น
3. คลิกดูงานเพื่อดูรายละเอียดทั้งหมด
33
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การส่งการบ้าน
เมื่อนักเรียนเข้ามาในส่วนของงานของชั้นเรียนและคลิกดูงานแล้ว จะเข้าสู่หน้ารายละเอียดทั้งหมด
ของงาน นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น เพิ่มหรือสร้าง และทาเครื่องหมายว่าเสร็จสิ้นได้ การส่ง
การบ้านสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเพิ่มหรือสร้าง
2. เลือกการส่งงาน เช่น จาก Google Drive ลิงก์ ไฟล์ หรือสร้างเอกสารใหม่ (ตัวอย่างเลือกไฟล์)
3. คลิกเลือกไฟล์จากอุปกรณ์
4. เลือกไฟล์ที่ต้องการ
5. คลิก Open
6. คลิกอัพโหลด
7. คลิกส่ง
34
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
8. จะปรากฏข้อความยืนยัน ให้คลิกส่ง
9. โปรแกรมจะแสดงสถานะว่าส่งแล้ว
การทาเครื่องหมายเสร็จสิ้นจากการทาการบ้าน
การส่งการบ้านที่มีไฟล์แนบให้คลิกเพิ่มหรือสร้าง แล้วคลิกส่งตามปกติ แต่ในกรณีเป็นงานที่ได้รับ
มอบหมายแต่ไม่มีการแนบไฟล์ส่ง ให้ทาเครื่องหมายว่าเสร็จสิ้นแทน สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกทาเครื่องหมายว่าเสร็จสิ้น
2. จะปรากฏข้อความยืนยัน ให้คลิกทาเครื่องหมายว่าเสร็จสิ้น
35
วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การแก้ไขการบ้านหลังจากการทาเครื่องหมายว่าเสร็จแล้ว
งานที่ส่งหรือทาเครื่องหมายว่าเสร็จแล้ว หากกระทาหลังจากครบกาหนดส่งจะขึ้นสถานะว่าล่าช้า
หากยังไม่ถึงกาหนดส่ง แล้วส่งงานไปแล้วให้ยกเลิกการส่ง และเพิ่มหรือสร้างใหม่และส่งใหม่อีกครั้งก่อน
กาหนดส่ง โดยการแก้ไขการบ้านหลังจากการทาเครื่องหมายว่าเสร็จแล้วสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. เข้าไปดูงานที่ต้องการยกเลิกการส่ง
2. คลิกยกเลิกการส่ง
3. จะปรากฏข้อความยืนยัน ให้คลิกยกเลิกการส่ง
การดูงานที่ส่งคืน
งานที่ได้รับมอบหมายถึงส่งแล้ว และได้รับการตรวจและให้คะแนนจากครูผู้สอนแล้ว จะไม่สามารถ
ยกเลิกการส่งงานได้ แต่สามารถเข้าไปดูคะแนนและความคิดเห็นจากครูผู้สอนได้ และสามารถส่งงาน
เพิ่มเติมได้อีกด้วย
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยการตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทการออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สื่อการเรียนรู้ สร้างได้ สร้างง่าย ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate 9
สื่อการเรียนรู้ สร้างได้ สร้างง่าย ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate 9สื่อการเรียนรู้ สร้างได้ สร้างง่าย ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate 9
สื่อการเรียนรู้ สร้างได้ สร้างง่าย ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate 9Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยการตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
StoryTelling
StoryTellingStoryTelling
StoryTelling
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทการออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
สื่อการเรียนรู้ สร้างได้ สร้างง่าย ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate 9
สื่อการเรียนรู้ สร้างได้ สร้างง่าย ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate 9สื่อการเรียนรู้ สร้างได้ สร้างง่าย ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate 9
สื่อการเรียนรู้ สร้างได้ สร้างง่าย ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate 9
 
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 

Similar to การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom

คู่มือการใช้งาน Google classroom
คู่มือการใช้งาน Google classroomคู่มือการใช้งาน Google classroom
คู่มือการใช้งาน Google classroomssuser06f087
 
Class dojo ห้องเรียนมีความสุข
Class dojo ห้องเรียนมีความสุขClass dojo ห้องเรียนมีความสุข
Class dojo ห้องเรียนมีความสุขSupaporn Su
 
Flipped classroom
Flipped classroomFlipped classroom
Flipped classroomwaa edad
 
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234Monne Khamnuansak
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ callแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ callWanida Keawprompakdee
 
B slim จะทำ call
B slim  จะทำ callB slim  จะทำ call
B slim จะทำ callAiwilovekao
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5jittraphorn
 
Reading list (wichien 58032447) week 6
Reading list (wichien 58032447) week 6Reading list (wichien 58032447) week 6
Reading list (wichien 58032447) week 6wichien wongwan
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9benty2443
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9nattawad147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9wanneemayss
 

Similar to การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom (20)

Research
ResearchResearch
Research
 
คู่มือการใช้งาน Google classroom
คู่มือการใช้งาน Google classroomคู่มือการใช้งาน Google classroom
คู่มือการใช้งาน Google classroom
 
Class dojo ห้องเรียนมีความสุข
Class dojo ห้องเรียนมีความสุขClass dojo ห้องเรียนมีความสุข
Class dojo ห้องเรียนมีความสุข
 
Class DOJO
Class DOJOClass DOJO
Class DOJO
 
Flipped classroom
Flipped classroomFlipped classroom
Flipped classroom
 
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ callแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
 
B slim จะทำ call
B slim  จะทำ callB slim  จะทำ call
B slim จะทำ call
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Reading list (wichien 58032447) week 6
Reading list (wichien 58032447) week 6Reading list (wichien 58032447) week 6
Reading list (wichien 58032447) week 6
 
Maejo 620711 n4
Maejo 620711 n4Maejo 620711 n4
Maejo 620711 n4
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 

การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom

  • 2.
  • 3. 1 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom สารบัญ เรื่อง หน้า รู้จักกับ Google Classroom 1 การเข้าใช้งาน Google Classroom 1 การสร้างชั้นเรียน 2 หน้าจอการทางานของ Google Classroom 4 การตั้งค่าชั้นเรียน 5 การจัดการชั้นเรียน 6 การเชิญครูเข้าร่วมชั้นเรียน 11 การเชิญนักเรียนเข้าร่วมชั้นเรียน 12 การส่งอีเมลถึงครูผู้สอนร่วมชั้นเรียน 14 การส่งอีเมลถึงนักเรียน 15 การนาครูออกจากชั้นเรียน 17 การนานักเรียนออกจากชั้นเรียน 17 การจัดการเนื้อหาในชั้นเรียน 18 การใช้งานสาหรับนักเรียน 31
  • 4.
  • 5. 1 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom รู้จักกับ Google Classroom Google Classroom เป็นแอพพลิเคชั่นสาหรับการจัดการห้องเรียนบนคลาวด์ เป็นบริการของ Google Apps for Education ที่ใช้งานได้ฟรี โดยผสานความสามารถของ Google Drive, Google Docs, Google Sheets, Google Slides, Google Froms, Gmail และอีกหลากหลายแอพพลิเคชั่นเข้าด้วยกัน ทาให้การเรียนการสอนเป็นไปได้อย่างสะดวกสบายมากขึ้นทั้งผู้สอนและผู้เรียน เนื่องจากใช้งานได้ง่าย ประหยัดเวลา การจัดเก็บงานเป็นระเบียบ มีระบบการสื่อสาร ประหยัดค่าใช้จ่าย และมีความปลอดภัย การเข้าใช้งาน Google Classroom การเข้าใช้งาน Google Classroom สามารถทาได้ง่าย เพียงผู้ใช้ทั้งผู้สอนและผู้เรียนมีบัญชีอีเมล ของ Google เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว สามารถใช้งานได้ผ่านการคลิกเมาส์และเพิ่มข้อมูล โดยไม่จาเป็นต้องมี ความรู้ด้านการเขียนโค้ด โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่เว็บไซต์ edu.google.com 2. คลิก ProductClassroom
  • 6. 2 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 3. คลิก Go to Classroom 4. ลงชื่อเข้าใช้ด้วย Gmail 5. จะเข้าสู่หน้า Dashboard ของ Google Classroom การสร้างชั้นเรียน เมื่อเข้าสู่หน้า Dashboard ของ Google Classroom แล้ว สาหรับการใช้งานครั้งแรกจะแสดง หน้าว่างเปล่า เนื่องจากยังไม่มีการสร้างรายวิชา สามารถสร้างชั้นเรียนได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
  • 7. 3 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 1. คลิกสร้างหรือเข้าร่วมชั้นเรียน คลิกสร้างชั้นเรียน 2. คลิก  ฉันอ่านและเข้าใจประกาศข้างต้นแล้ว 3. คลิกทาต่อ 4. ใส่รายละเอียดห้องเรียน 5. คลิกสร้าง
  • 8. 4 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom หน้าจอการทางานของ Google Classroom หน้าแดชบอร์ด หากต้องการกลับสู่หน้าแดชบอร์ด สามารถทาได้โดยการคลิก จะแสดงแถบด้านข้าง แล้ว สามารถเลือกชั้นเรียนเพื่อดูชั้นเรียนทั้งหมด หรือคลิกปฏิทินเพื่อนดูงานที่มอบหมาย หรือคลิกชั้นเรียนที่เก็บ เพื่อดูชั้นเรียนที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว หรือคลิกการตั้งค่าเพื่อตั้งค่ารูปโปรไฟล์และการแจ้งเตือน หน้ารายวิชา หน้าจอการทางานของ Google Classroom จะเป็นลักษณะของ Timeline โดยมีองค์ประกอบ เป็นส่วนต่างๆ ดังนี้
  • 9. 5 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom แสดงชื่อรายวิชา ชั้นเรียน และรหัสชั้นเรียน แสดงเรื่อง ห้องเรียน และคาอธิบายรายวิชา การจัดการรูปแบบ Theme ของห้องเรียน การแจ้งเตือนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นเร็วๆ นี้ ส่วนสาหรับประกาศ และมอบหมายงาน การตั้งค่าชั้นเรียน ผู้สอนสามารถตั้งค่าชั้นเรียน ใส่รายละเอียดของชั้นเรียน หรือแก้ไขรายละเอียดของชั้นเรียนได้ เช่น ชื่อชั้นเรียน คาอธิบายชั้นเรียน ชั้นเรียน ห้องเรียน เรื่อง และรหัสของชั้นเรียน สามารถทาได้โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. คลิกที่การตั้งค่า 2. ใส่รายละเอียดของห้องเรียนและทั่วไป 3. คลิกบันทึก
  • 10. 6 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การจัดการชั้นเรียน การปรับแต่งรูปแบบธีมห้องเรียน ผู้สอนสามารถปรับแต่งรูปแบบธีมห้องเรียนได้ เพื่อให้เกิดความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละรายวิชาที่ สร้างขึ้น โดยมี 2 รูปแบบ ได้แก่ การเลือกธีมและการอัพโหลดรูปภาพ การเลือกธีม 1. คลิกเลือกธีม 2. เลือกหมวดหมู่ของธีม 3. คลิกเลือกธีมที่ต้องการ 4. คลิกเลือืกธีมของชั้นเรียน
  • 11. 7 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การอัพโหลดรูปภาพ 1. คลิกอัปโหลดรูปภาพ 2. คลิกเลือกรูปภาพจากคอมพิวเตอร์ของคุณ 3. เลือกรูปภาพที่ต้องการ 4. คลิก Open 5. ครอบตัดภาพตามต้องการ 6. คลิกเลือกธีมของชั้นเรียน
  • 12. 8 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 7. จะได้รูปภาพหน้าปกของชั้นเรียน การเปลี่ยนชื่อชั้นเรียน 1. คลิกที่การตั้งค่า 2. แก้ไขชื่อชั้นเรียน 3. คลิกบันทึก การคัดลอกห้องเรียน หากผู้สอนมีจานวนกลุ่มเรียนในรายวิชาเดียวกันหลายกลุ่ม ผู้สอนสามารถคคัดลอกห้องเรียนแล้ว ไปแก้ไขบางข้อมูล ทาให้ประหยัดเวลามากขึ้น สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
  • 13. 9 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 1. ไปที่หน้าแดชบอร์ด แล้วคลิกที่จุดสามจุด ในรายวิชานั้น แล้วคลิกคัดลอก 2. แก้ไขข้อมูลชั้นเรียน 3. คลิกคัดลอก 4. จะปรากฏชั้นเรียนที่คัดลอก การจัดเก็บชั้นเรียน เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา ผู้สอนอาจต้องการเก็บชั้นเรียนไว้ โดยที่เนื้อหาและงานที่ได้รับมอบหมาย ในชั้นเรียนยังคงอยู่ และยังคงเข้าถึงไฟล์งานต่างๆ ได้ แต่ชั้นเรียนจะถูกย้ายไปยังพื้นที่จัดเก็บห้องเรียน เพื่อให้ในหน้าแดชบอร์ดแสดงผลเฉพาะชั้นเรียนที่ใช้งานอยู่ ชั้นเรียนที่ถูกจัดเก็บจะไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้ จนกว่าจะกู้คืนชั้นเรียน โดยการจัดเก็บชั้นเรียนสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่หน้าแดชบอร์ด แล้วคลิกที่จุดสามจุด ในรายวิชานั้น แล้วคลิกเก็บ 2. คลิกเก็บ
  • 14. 10 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การดูชั้นเรียนที่เก็บ การดูชั้นเรียนที่เก็บสามารถทาได้โดยคลิกที่ แล้วไปที่ชั้นเรียนที่เก็บ โปรแกรมจะแสดงเฉพาะ รายวิชาที่จัดเก็บ การกู้คืนชั้นเรียนที่เก็บ เมื่อเข้ามาที่ชั้นเรียนที่เก็บแล้ว โปรแกรมจะแสดงเฉพาะรายวิชาที่จัดเก็บ หากต้องการนากลับไปใช้ งาน สามารถทาได้โดยคลิกที่จุดสามจุด ในรายวิชานั้น แล้วคลิกกู้คืน การลบชั้นเรียนที่เก็บ เมื่อเข้ามาที่ชั้นเรียนที่เก็บแล้ว โปรแกรมจะแสดงเฉพาะรายวิชาที่จัดเก็บ หากต้องการลบชั้นเรียน ที่ไม่ใช้แล้ว สามารถทาได้โดยคลิกที่จุดสามจุด ในรายวิชานั้น แล้วคลิกลบ เมื่อลบชั้นเรียนแล้ว จะไม่ สามารถเข้าถึงโพสต์และความคิดเห็นของชั้นเรียนได้อีก แต่ยังสามารถเข้าถึงเอกสารของชั้นเรียนจาก Google Drive ได้
  • 15. 11 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การเชิญครูเข้าร่วมชั้นเรียน การเชิญครู ในชั้นเรียนสามารถมีครูผู้สอนมากกว่า 1 คนได้ โดยครูที่มาร่วมชั้นเรียนสามารถจัดการห้องเรียน และช่วยตรวจการบ้านได้ โดยการเชิญครูเข้าร่วมชั้นเรียนมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกผู้คน 2. คลิกเชิญครู 3. ใส่อีเมลของครูที่ต้องการเชิญ 4. คลิกเพิ่มผู้รับ 5. คลิกเชิญ การตอบรับคาเชิญ ครูที่ได้รับคาเชิญจะต้องไปตรวจสอบอีเมล และคลิกเข้าร่วม จึงจะสามารถเข้ามาสอนร่วมกันได้ และนักเรียนก็จะเห็นว่ามีครูมาสอนร่วมด้วย
  • 16. 12 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การเชิญนักเรียนเข้าร่วมชั้นเรียน ครูสามารถเชิญนักเรียนเข้าร่วมชั้นเรียนได้ 2 วิธี ได้แก่ การเชิญด้วยอีเมลของนักเรียน และให้ นักเรียนเข้าร่วมชั้นเรียนด้วยตนเองด้วยรหัสชั้นเรียน การเชิญนักเรียนด้วยอีเมล 1. คลิกผู้คน 2. คลิกเชิญนักเรียน 3. ใส่อีเมลของนักเรียนที่ต้องการเชิญ 4. คลิกเพิ่มผู้รับ 5. คลิกเชิญ การตอบรับคาเชิญจากอีเมล นักเรียนที่ได้รับคาเชิญจะต้องไปตรวจสอบอีเมล และ คลิกเข้าร่วม จึงจะสามารถเข้ามาเรียน และร่วมกิจกรรมต่างๆ กับครูได้
  • 17. 13 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การให้นักเรียนเข้าร่วมชั้นเรียนด้วยตนเอง หากมีนักเรียนจานวนมาก ครูไม่สามารถเชิญนักเรียนโดยใช้อีเมลได้ จึงควรใช้วิธีให้นักเรียนเข้าร่วม ชั้นเรียนด้วยตนเอง โดยครูจะต้องทราบและแจ้งรหัสของชั้นเรียนให้กับนักเรียน 1. คลิกการตั้งค่า 2. ไปที่ทั่วไป ให้คลิกรหัสของชั้นเรียนคลิกแสดง หรือคัดลอกแล้วส่งให้ผู้เรียนก็ได้ 3. โปรแกรมจะแสดงรหัสของชั้นเรียน การเข้าร่วมชั้นเรียนด้วยตนเอง เมื่อนักเรียนลงชื่อเข้าใช้ด้วยบัญชีอีเมลของ Gmail แล้ว ให้ไปที่ classroom.google.com จะเข้า สู่หน้าแดชบอร์ดของ Google Classroom และสามารถเข้าร่วมชั้นเรียนได้ด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกสร้างหรือเข้าร่วมชั้นเรียน คลิกเข้าร่วมชั้นเรียน 2. ใส่รหัสของชั้นเรียน 3. คลิกเข้าร่วม
  • 18. 14 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การส่งอีเมลถึงครูผู้สอนร่วมชั้นเรียน ในบางกรณีอาจจาเป็นต้องส่งข้อมูลที่เป็นความลับ ผู้สอนสามารถส่งอีเมลถึงครูผู้สอนร่วมชั้นเรียน ได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกผู้คน 2. คลิกที่จุดสามจุด ที่ครูที่ต้องการส่งอีเมล 3. คลิกอีเมล 4. ใส่รายละเอียดของการส่งอีเมล 5. คลิกส่ง
  • 19. 15 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การส่งอีเมลถึงนักเรียน การส่งอีเมลถึงนักเรียนเป็นรายบุคคล ในบางกรณีอาจจาเป็นต้องส่งข้อมูลที่เป็นความลับ ผู้สอนสามารถส่งอีเมลถึงนักเรียนได้ โดยมี ขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกผู้คน 2. คลิกที่จุดสามจุด ที่นักเรียนที่ต้องการส่งอีเมล 3. คลิกส่งอีเมลถึงนักเรียน 4. ใส่รายละเอียดของการส่งอีเมล 5. คลิกส่ง
  • 20. 16 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การส่งอีเมลถึงนักเรียนครั้งละมากกว่า 1 คน หากผู้สอนมีความจาเป็นต้องส่งข้อมูลไปทางอีเมลของผู้เรียนครั้งละมากกว่า 1 คน สามารถทาได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกผู้คน 2. เลือก  นักเรียนที่ต้องการส่งอีเมล 3. คลิกการดาเนินการอีเมล 4. ใส่รายละเอียดของการส่งอีเมล 5. คลิกส่ง
  • 21. 17 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การนาครูออกจากชั้นเรียน ในกรณีมีการเปลี่ยนตัวครูผู้สอนร่วม ครูผู้สอนหลักสามารถนาครูผู้สอนร่วมออกจากห้องเรียนได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่ผู้คน 2. คลิกที่จุดสามจุด ที่ครูผู้สอนร่วมที่ต้องการเอาออก 3. คลิกลบ 4. จะปรากฏข้อความยืนยัน ให้คลิกลบ การนานักเรียนออกจากชั้นเรียน ในกรณีที่ผู้เรียนถอนรายวิชา ครูผู้สอนอาจจาเป็นต้องนานักเรียนออกจากชั้นเรียน สามารถทาได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่ผู้คน 2. เลือก  นักเรียนที่ต้องการลบ 3. คลิกการดาเนินการลบ
  • 22. 18 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 4. จะปรากฏข้อความยืนยัน ให้คลิกลบ การจัดการเนื้อหาในชั้นเรียน Google Classroom จะแสดงผลเป็น Timeline เรียกว่าสตรีม ที่ช่วยให้ครูผู้สอนสามารถโพสต์ ข้อมูลเกี่ยวกับรายชวิชา เช่น เนื้อหา (Content) ประกาศ (Announcement) และการมอบหมายงาน (Assignment) และสามารถร่วมกันแสดงความคิดเห็น (Comment) เสมือนสื่อสังคมออนไลน์อย่าง Facebook การประกาศ การประกาศ จะคล้ายๆ กับการโพสต์สถานะใน Facebook แต่สามารถแนบไฟล์จากคอมพิวเตอร์ แนบไฟล์จาก Google Drive วิดีโอจาก YouTube และการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังหน้าเว็บอื่น ได้อีกด้วย โดยการประกาศสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ใส่ข้อมูลที่ต้องการประกาศ 2. แนบข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี) 3. คลิกโพสต์ (สามารถกาหนดเวลาและบันทึกฉบับร่างได้)
  • 23. 19 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การมอบหมายงาน ในการเรียนตลอดรายวิชา ครูผู้สอนสามารถมอบหมายงานหรือการบ้านได้ นักเรียนจะต้องทางาน ที่ได้รับมอบหมายและส่งผ่าน Google Classroom เมื่อครูผู้สอนสร้างงานแล้ว นักเรียนทุกคนในชั้นเรียน จะได้รับการแจ้งเตือนทางอีเมล และจะเห็นงานในสตรีมของขั้นเรียน โดยขั้นตอนการสร้างงานมีดังนี้ 1. ไปที่งานของชั้นเรียน 2. คลิกสร้าง 3. คลิกงาน 4. กาหนดชื่องาน คาแนะนา คะแนน วันกาหนดส่ง หัวข้อ และแนบไฟล์เพิ่ม (ถ้ามี) 5. คลิกมอบหมาย
  • 24. 20 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การสร้างงานแบบทดสอบ การสร้างงานแบบทดสอบ หากผู้สอนต้องการเก็บคะแนนจากแบบทดสอบก็สามารถทาได้ แต่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจใน การใช้ Google Form ด้วย โดยการสร้างงานแบบทดสอบสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่งานของชั้นเรียน 2. คลิกสร้าง 3. คลิกงานแบบทดสอบ 4. กาหนดชื่อแบบทดสอบ คาแนะนา คะแนน ครบกาหนด หัวข้อ และแนบไฟล์เพิ่ม (ถ้ามี) 5. คลิกที่ Blank Quiz เพื่อสร้างข้อคาถามและเฉลยคาตอบ 6. คลิกมอบหมาย
  • 25. 21 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การใช้ Google Form สร้างแบบทดสอบ การใช้ Google Form สร้างแบบทดสอบ มีวิธีการใช้งานเบื้องต้นเหมือนกับการสร้างแบบสอบถาม ทั่วไป แต่จะมีการตั้งค่าบางคาสั่ง ทาให้แบบฟอร์มสามารถประมวลผลคะแนนได้ โดยมีส่วนประกอบดังนี้ กาหนดชื่อแบบฟอร์มหรือชื่อแบบทดสอบ กาหนดคาอธิบายแบบฟอร์ม เลือกรูปแบบของการตอบแบบฟอร์มหรือแบบทดสอบ กาหนดโจทย์หรือข้อคาถาม กาหนดตัวเลือกหรือคคาตอบ การเฉลยคาตอบ ทาสาเนาข้อคาถาม ลบข้อคาถาม กาหนดบังคับให้ตอบข้อคาถาม ตัวเลือกเพิ่มเตอมของข้อคาถาม เพิ่มคาถาม / นาเข้าคาถาม / เพิ่มชื่อและรายละเอียด / เพิ่มรูปภาพ / เพิ่มวิดีโอ / เพิ่มส่วน เลือกธีม / แสดงผล / ตั้งค่าเพิ่มเติม ส่งเพื่อแชร์ไปใช้งานกับปลายทางอื่น การเฉลยคาตอบ เมื่อครูกาหนดโจทย์และตัวเลือกแล้ว ครูผู้สอนจะต้องทาการเฉลย และกาหนดคะแนนให้กับแต่ละ ข้อของคาถาม สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ใส่คาถามและตัวเลือกให้เรียบร้อย 2. คลิกเฉลยคาตอบ
  • 26. 22 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 3. กาหนดคะแนน 4. กาหนดคาตอบที่ถูกต้อง การสร้างคาถาม ระหว่างเนื้อหา ผู้สอนอาจต้องการทบทวนบทเรียนโดยการตั้งคาถาม เพื่อให้ผู้เรียนพิมพ์คาตอบ แล้วส่งคาตอบได้ ซึ่งการสร้างคาถามในลักษณะนี้ จะเป็นการโพสต์คาถามครั้งละ 1 ข้อเท่านั้น สามารถทา ได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่งานของชั้นเรียน 2. คลิกสร้าง 3. คลิกงานแบบทดสอบ
  • 27. 23 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 4. กาหนดคาถาม คาแนะนา คะแนน ครบกาหนด หัวข้อ และไฟล์แนบเพิ่มเติมได้ (ถ้ามี) 5. เลือกประเภทของคาถาม มี 2 แบบ ได้แก่ คาตอบสั้น กับปรนัย 6. คลิกถาม การสร้างเนื้อหา การโพสต์ในหน้าสตรีม เหมาะกับการใช้ประกาศทั่วไป ถึงแม้ว่าจะใช้โพสต์เนื้อหาได้ แต่การสร้าง เนื้อหาด้วยคาสั่งการสร้างเนื้อหา จะทาให้ดูเด่นกว่าโพสต์ทั่วไป และผู้เรียนสามารถแยกออก และเข้าถึง เนื้อหาได้สะดวกกว่า สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่งานของชั้นเรียน 2. คลิกสร้าง 3. คลิกเนื้อหา
  • 28. 24 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 4. กาหนดชื่อเนื้อหา คาอธิบาย หัวข้อ และไฟล์แนบเพิ่มเติมได้ (ถ้ามี) 5. คลิกโพสต์ การใช้โพสต์ซ้า โพสต์ทั่วไปที่โพสต์ในสตรีมไม่สามารถนามาโพสต์ซ้าได้ แต่โพสต์ที่เกิดจากงานในชั้นเรียนสามารถ นามาโพสต์ซ้าได้ สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่งานของชั้นเรียน 2. คลิกสร้าง 3. คลิกใช้โพสต์ซ้า 4. คลิกเลือกชั้นเรียน
  • 29. 25 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 5. เลือกโพสต์ที่ต้องการ 6. คลิกใช้ซ้า 7. แก้ไขข้อมูลโพสต์ได้ตามต้องการ 8. คลิกโพสต์
  • 30. 26 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การตั้งชื่อหัวข้อ เมื่อในชั้นเรียนมีการมอบหมายงานมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในส่วนของงาน แบบทดสอบ เนื้อหา และ คาถาม อาจใช้หัวข้อในการแบ่งส่วนของงาน เพื่อให้เข้าถึงงานได้ง่ายและเป็นระเบียบมากขึ้น สามารถทาได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่งานของชั้นเรียน 2. คลิกสร้าง 3. คลิกหัวข้อ 4. กาหนดชื่อหัวข้อ 5. คลิกเพิ่ม การแก้ไขงานของชั้นเรียน ในกรณีที่โพสต์สร้างงานที่ได้รับมอบหมายไปแล้ว ครูผู้สอนต้องการที่จะแก้ไขหรือเพิ่มเติมข้อมูล สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่งานของชั้นเรียน 2. คลิกจุดสามจุด ที่งานที่ต้องการแก้ไข 3. คลิกแก้ไข
  • 31. 27 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 4. แก้ไขข้อมูลตามต้องการ 5. คลิกบันทึก การลบงานของชั้นเรียนที่โพสต์แล้ว ในกรณีที่โพสต์สร้างงานที่ได้รับมอบหมายไปแล้ว ครูผู้สอนต้องการที่จะลบงาน สามารถทาได้โดยมี ขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่งานของชั้นเรียน 2. คลิกจุดสามจุด ที่งานที่ต้องการแก้ไข 3. คลิกลบ
  • 32. 28 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การเข้าถึงการบ้านของนักเรียน เมื่อมีการมอบหมายงานหรือการบ้านให้กับนักเรียน นักเรียนมีหน้าที่ทางานที่ได้รับมอบหมายส่ง ตามโพสต์ ครูผู้สอนสามารถเข้าไปดูการส่งการบ้านของนักเรียนได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่งานของชั้นเรียน 2. คลิกที่งาน 3. คลิกดูงาน 4. โปรแกรมจะแสดงจานวนนักเรียน และรายงานสถานะการส่งการบ้านของนักเรียน
  • 33. 29 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การตรวจให้คะแนนและส่งคืนงาน การตรวจให้คะแนนและส่งคืนงาน ครูผู้สอนจะต้องเข้าถึงการบ้านของนักเรียนก่อน เมื่อเข้ามาแล้ว โปรแกรมจะแสดงจานวนนักเรียนและแสดงสถานะการส่งงานของนักเรียน ครูผู้สอนสามารถคลิกดูการส่ง งานเป็นรายบุคคลได้ เมื่อดูงานแล้วสามารถตรวจให้คะแนนและส่งคืนงานได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ใส่คะแนน 2. คลิกส่งคืน 3. แสดงความคิดเห็นให้กับงานของนักเรียน 4. คลิกส่งคืน การแก้ไขคะแนน เมื่อมีการตรวจให้คะแนนและส่งคืนงานของนักเรียนไปแล้ว แต่ต้องการแก้ไขคะแนน ครูผู้สอน จะต้องเข้าถึงการบ้านของนักเรียนก่อน จึงจะสามารถแก้ไขคะแนนได้ สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ใส่คะแนนที่ต้องการแก้ไข 2. คลิกส่งคืน
  • 34. 30 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 3. แสดงความคิดเห็นให้กับงานของนักเรียน 4. คลิกส่งคืน การดูสมุดคะแนนทั้งหมดของนักเรียนทุกคน ครูผู้สอนสามารถดูสมุดคะแนนทั้งหมดของนักเรียนทุกคนได้ โดยการคลิกที่คะแนน โปรแกรมจะ แสดงนักเรียนและงานที่ได้รับมอบหมายทั้งหมด พร้อมทั้งแสดงสถานะและคะแนนของนักเรียนทุกคน การส่งออกคะแนนเป็นไฟล์ Spread Sheet ครูผู้สอนสามารถส่งออกคะแนนเป็นไฟล์ Spread Sheet ได้ โดยในชีตจะรวบรวมคะแนนทุกงาน ของนักเรียนที่ส่งในรูปแบบตาราง ครูผู้สอนจะต้องเข้าถึงการบ้านของนักเรียนก่อน จึงจะสามารถส่งออก คะแนนเป็นไฟล์ Spread Sheet ได้ สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกที่การตั้งค่า 2. คลิกคัดลอกคะแนนทั้งหมดไปที่ Google ชีต
  • 35. 31 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 3. จะปรากฏ Google Sheet ที่แสดงคะแนนทั้งหมด และคานวณคะแนนเฉลี่ยให้ด้วย การใช้งานสาหรับนักเรียน การใช้งาน Google Classroom สาหรับนักเรียนจะมีมุมมองแตกต่างจากของครู แต่ก็สามารถใช้ งานได้งาน นักเรียนสามารถเข้าร่วมชั้นเรียน ติดต่อสื่อสารกับครู แสดงความคิดเห็น ส่งงานที่ได้รับ มอบหมาย และแก้ไขงานที่ได้รับมอบหมายได้ การเข้าร่วมชั้นเรียน การเข้าร่วมชั้นเรียนทางอีเมล นักเรียนที่ได้รับคาเชิญจากครูทางอีเมล จะต้องไปตรวจสอบอีเมลและคลิกเข้าร่วม จึงจะสามารถ เข้ามาเรียน และร่วมกิจกรรมต่างๆ กับครูได้
  • 36. 32 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การเข้าร่วมชั้นเรียนด้วยรหัสของชั้นเรียน เมื่อครูแจ้งรหัสของชั้นเรียนแล้ว นักเรียนจะต้องลงชื่อเข้าใช้ด้วยบัญชีอีเมลของ Gmail แล้วให้ไปที่ classroom.google.com จะเข้าสู่หน้าแดชบอร์ดของ Google Classroom และสามารถเข้าร่วมชั้นเรียน ได้ด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกสร้างหรือเข้าร่วมชั้นเรียน คลิกเข้าร่วมชั้นเรียน 2. ใส่รหัสของชั้นเรียน 3. คลิกเข้าร่วม การถอนตัวออกจากห้องเรียน หากนักเรียนมีการถอนรายวิชา แต่ผู้สอนไม่ได้ลบ นักเรียนออกจากชั้นเรียน นักเรียนสามารถถอนตัวออกจาก ห้องเรียนได้ด้วยตนเอง โดยการคลิกที่จุดสามจุด แล้ว คลิกยกเลิกการลงทะเบียน การดูการบ้าน นักเรียนสามารถดูงานที่ได้รับมอบหมายทั้งหมดจากงานของชั้นเรียน และคลิกในแต่ละงานเพื่อดู รายละเอียดของงานได้ การดูการบ้านสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่งานของชั้นเรียน 2. คลิกที่งานเพื่อดูรายละเอียดเบื้องต้น 3. คลิกดูงานเพื่อดูรายละเอียดทั้งหมด
  • 37. 33 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การส่งการบ้าน เมื่อนักเรียนเข้ามาในส่วนของงานของชั้นเรียนและคลิกดูงานแล้ว จะเข้าสู่หน้ารายละเอียดทั้งหมด ของงาน นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น เพิ่มหรือสร้าง และทาเครื่องหมายว่าเสร็จสิ้นได้ การส่ง การบ้านสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเพิ่มหรือสร้าง 2. เลือกการส่งงาน เช่น จาก Google Drive ลิงก์ ไฟล์ หรือสร้างเอกสารใหม่ (ตัวอย่างเลือกไฟล์) 3. คลิกเลือกไฟล์จากอุปกรณ์ 4. เลือกไฟล์ที่ต้องการ 5. คลิก Open 6. คลิกอัพโหลด 7. คลิกส่ง
  • 38. 34 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom 8. จะปรากฏข้อความยืนยัน ให้คลิกส่ง 9. โปรแกรมจะแสดงสถานะว่าส่งแล้ว การทาเครื่องหมายเสร็จสิ้นจากการทาการบ้าน การส่งการบ้านที่มีไฟล์แนบให้คลิกเพิ่มหรือสร้าง แล้วคลิกส่งตามปกติ แต่ในกรณีเป็นงานที่ได้รับ มอบหมายแต่ไม่มีการแนบไฟล์ส่ง ให้ทาเครื่องหมายว่าเสร็จสิ้นแทน สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกทาเครื่องหมายว่าเสร็จสิ้น 2. จะปรากฏข้อความยืนยัน ให้คลิกทาเครื่องหมายว่าเสร็จสิ้น
  • 39. 35 วิทยากร : อาจารย์กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย | TouchPoint.in.th | facebook.com/TouchPoint.in.th การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom การแก้ไขการบ้านหลังจากการทาเครื่องหมายว่าเสร็จแล้ว งานที่ส่งหรือทาเครื่องหมายว่าเสร็จแล้ว หากกระทาหลังจากครบกาหนดส่งจะขึ้นสถานะว่าล่าช้า หากยังไม่ถึงกาหนดส่ง แล้วส่งงานไปแล้วให้ยกเลิกการส่ง และเพิ่มหรือสร้างใหม่และส่งใหม่อีกครั้งก่อน กาหนดส่ง โดยการแก้ไขการบ้านหลังจากการทาเครื่องหมายว่าเสร็จแล้วสามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. เข้าไปดูงานที่ต้องการยกเลิกการส่ง 2. คลิกยกเลิกการส่ง 3. จะปรากฏข้อความยืนยัน ให้คลิกยกเลิกการส่ง การดูงานที่ส่งคืน งานที่ได้รับมอบหมายถึงส่งแล้ว และได้รับการตรวจและให้คะแนนจากครูผู้สอนแล้ว จะไม่สามารถ ยกเลิกการส่งงานได้ แต่สามารถเข้าไปดูคะแนนและความคิดเห็นจากครูผู้สอนได้ และสามารถส่งงาน เพิ่มเติมได้อีกด้วย