SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
Innovation and information 
technology for learning
ความหมายของเทคโนโลยี สื่อการศึกษา 
และเปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการ 
ศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
ความหมายของเทคโนโลยี สื่อการศึกษา 
เทคโนโลยี หมายถึง การนาแนวคิด เทคนิค หลักการ กระบวนการ 
ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อให้ระบบงานนัน้ดีขึน้ มี 
ประสิทธิภาพมากขึน้ และเพื่อแก้ปัญหาในงานนัน้ๆ 
สื่อการศึกษา หมายถึง วัสดุที่เสนอเนือ้หาสาระความรู้แก่ผู้รับสื่อ ช่วย 
อานวยความสะดวกในการให้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สื่อ อาจเป็นสื่อที่ 
ให้สารสนเทศในตัวเอง หรือ อาจเป็นเครื่องมือ อุปกรณ์ในการนาเสนอ การ 
เรียนการสอนในชัน้เรียน การบริการสารสนเทศในห้องสมุด ศูนย์ 
สารสนเทศ เป็นต้น
พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษา 
เราสามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลาดังนีคื้อ 
1.) ยุคแรกจนถึง ค.ศ.1700 
พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาในยุคนีล้่าช้ามาก การจัดการเรียนการสอนอยู่ 
ในกลุ่มคนเล็กๆการสื่อสารยังไม่เจริญ เทคโนโลยีการศึกษาของกลุ่มโซฟิสต์ เป็นกลุ่ม 
ครูผู้สอนชาวกรีก ได้ออกทาการสอนความรู้ต่างๆให้กับชนรุ่นเยาว์ ได้รับการยอมรับว่าเป็น 
ผู้ที่มีความฉลาดปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการขนานนามว่า 
เป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรก 
2.) พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ค.ศ.1700-1900 (พ.ศ.2243- 
พ.ศ.2443) ก่อนปี ค.ศ.1800 
ในยุคนีพั้ฒนาการทางการศึกษาเจริญยิ่งขึน้กว่าในยุคแรกๆ โดยมีเทคโนโลยี 
การศึกษาแบบต่างๆจากบุคคลสาคัญๆ ดังนี้
1. เทคโนโลยีการศึกษาของแลนตาสเตอร์ Joseph Lancaster (1778- 
1838) ได้ริเริ่มการสอนระบบพี่เลีย้ง (Monitor System) อนัยังผลให้เขา 
ประสบความสาเร็จในการจัดการศึกษาในยุคนัน้ วิธีการของเขาก็คือ การจัดสภาพ 
ห้องเรียนและดาเนินการสอนแบบประหยัด รวมถึงการจัดระบบเนือ้หาวิชาที่เรียนโดย 
พิจารณาถึงระดับชัน้ 
2. เทคโนโลยีการศึกษาของเปสตาลอสซีกระบวนการสอนโดยการเพิ่มความรู้สึกต่อ 
ความรู้ในเรื่องความเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กนัน้ เป็นสิ่งจาเป็นที่สุด นอกจากนัน้ 
เปสตาลอสซี ยังคานึงถึงเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลอันจะมีผลต่อการเรียนรู้ของ 
ผู้เรียนด้วย 
3. เทคโนโลยีทางการศึกษาของฟรอเบล การควบคุมพัฒนาการต่างๆ โดยให้ผู้เรียนได้ 
สัมผัสกับชีวิตจริงในฐานะที่เขาเป็นส่วนหนงึ่ของสังคมด้วยองค์ประกอบพืน้ฐานในการให้ 
การศึกษาแก่เด็ก 
4. เทคโนโลยีการศึกษาของแฮร์บาร์ท ชีใ้ห้เห็นแนวทางในการสร้างความคิดรวบยอดใหม่ 
จากความคิดรวบยอดเดิม เน้นเรื่องจริยธรรม (Moral) โดยถือว่าเป็นพืน้ฐานสาคัญ
3.) เทคโนโลยีการศึกษา ค.ศ.1900-ปัจจุบัน (พ.ศ.2443-ปัจจุบัน) เทคโนโลยีทางการ 
ศึกษายุคนีพั้ฒนาขึน้จากทัง้สองยุคแรก โดยมีเทคโนโลยีการศึกษาแบบต่างๆจากบุคคลสาคัญ 
ดังนี้ 
1. เทคโนโลยีการศึกษาของธอร์นไดค์ ผู้ให้กาเนิดทฤษฎีแห่งการเรียนรู้ ซงึ่เป็นที่ยอมรับกัน 
อย่างแพร่หลายทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ มีชื่อว่า ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง 
(Connectionism Theory) จากการที่ธอร์นไดค์ ได้ศึกษาเรื่อง การเรียนรู้ของสัตว์ 
และต่อมาได้กลายมาเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ทวั่ไปโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์นัน้ เป็นที่รู้จัก 
กันดีในนามทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยง ในเรื่องนี้ 
2. เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้มีความสาคัญต่อระบบการศึกษาของสหรัฐอเมริกาเป็น 
อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แนวความคิดในการแก้ปัญหา (Problem-Solving) 
3. เทคโนโลยีการศึกษามอนเตสซอรี ผู้บุกเบิกเกี่ยวกับการสอนแบบ Nourishing 
สาเร็จการศึกษาทางการแพทย์จากมหาวิทยาลัยโรม
พัฒนาการทางเทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบัน และแนวโน้มใน 
อนาคต 
ตลอดระยะเวลาประมาณ 2 ศตวรรษ นับแต่ปี ค.ศ.1960 เป็น 
ต้นมา สื่อการศึกษาบางประเภท ได้ถูกนามาใช้กับงานการศึกษามากขึน้ ผล 
จากการค้นคว้าทดลองของนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์บวกกับแนวความคิดของ 
นักการศึกษา ก่อให้เกิดความก้าวหน้าใหม่ๆ ทางเครื่องมือทางการศึกษาขึน้ 
เช่น ทางด้านการใช้โทรทัศน์เพื่อการศึกษามวลชน การใช้โทรศัพท์ในลักษณะ 
วงจรปิดเพื่อเรียนเป็นกลุ่ม การใช้เทคโนโลยีวีดิโอเทป ซงึ่กลุ่มผู้เรียนเป้าหมาย 
แคบลง ๆ การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ มาพ่วงกับความคิดและการพัฒนาการ 
สอนในลักษณะใหม่ เช่น การเรียนด้วย
องค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยี 
ทางการศึกษามีความสาคัญต่อการจัด 
การศึกษาในยุคปัจจุบันอย่างรร
1. การออกแบบ (Design) แสดงให้เห็นถึงกรอบหรือโครงร่างที่แสดงหลักการและ 
ทฤษฎีพืน้ฐานต่างๆในการออกแบบงานเทคโนโลยีการศึกษามี 4 ด้าน คือ 
-การออกแบบระบบการสอน เป็นการกาหนดระบบการสอนทัง้หมด 
-การออกแบบสาร เป็นการวางแผนจัดการสารที่จะให้ผู้เรียน รับรู้ ใส่ใจ และเรียกสาร 
กลับมาใช้ได้เมื่อต้องการ 
-กลยุทธ์การสอน เป็นการระบุการเลือก ลาดับเหตุการณ์และกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับ 
บทเรียน 
-คุณลักษณะของผู้เรียน สิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึงพนื้ฐานประสบการณ์เดิมของผู้เรียน 
ความแตกต่างของผู้เรียน 
2. การพัฒนา (Development) การสร้างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อต่างๆ 
-เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ และภาพนิ่งต่างๆ 
-เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ เช่น วีดีทัศน์ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นต้น ข้อดีคือให้ความเป็น 
สภาพจริง บริบทในการเรียนรู้ เน้นครูในการถ่ายทอดความรู้เนือ้หา 
-เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์เป็นฐานในการเรียนการ 
สอน
3. การใช้ (Utilization) การนาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ 
ต้องคานึงถึงความง่ายในการใช้งานระหว่างผู้เรียนและสื่อการเรียนการสอนหรือ 
ระบบที่เกี่ยวข้อง 
4. การจัดการ (Management) เป็นการบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ 
5. การประเมิน (Evaluation) การประเมินเพื่อปรับปรุง เน้นกระบวนการ 
และผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เห็นถึงประสิทธิText ภาพ in ตลhere 
อดทัง้คุณภาพของสื่อที่ออกแบบ 
ขึน้มา
Educational Technology 
Your text 
in here 
Your text 
in here 
และ 
Instructional Technology 
มีความเหมือน ความแตกต่าง 
หรือสัมพันธ์กันอย่างรร
ความแตกต่างของเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการสอน Educational 
Technology และ Instructional Technology ในวงการสาขาวิชานี้ได้เรียกทัง้ 
Educational Technology และ Instructional Technology ซึ่ง 
Barbara และ Rita (1994) ได้กล่าวไว้ 2 ประการ คือ 
(1)Barbara และ Rita (1994) ได้ให้ความหมายของคาว่า “เทคโนโลยีการสอน” 
(Instructional Technology) หมายถึงทฤษฎีและการปฏิบัติในขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับการ 
ออกแบบ การพัฒนาการใช้การจัดการและประเมินผลของกระบวนการและแหล่งการเรียนสาหรับการเรียนรู้ 
ดังจะเห็นความสัมพันธ์ของขอบข่ายทัง้ 5 ได้แก่การออกแบบ (Design)การพัฒนา 
(Development) การใช้ (Utilization) การจัดการ (Management) และการประเมิน 
(Evaluation) 
-ครอบคลุมถึงการปฏิบัติ 
-อธิบายองค์ประกอบของเทคโนโลยีในการศึกษาได้อย่างชัดเจน 
(2) Educational Technology เทคโนโลยีการศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ซึ่งเกี่ยวข้อง 
กับการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ของมนุษย์ในทุกลักษณะ เทคโนโลยีการศึกษามีความหมายรวมถึง 
การเรียนรู้ผ่านสื่อสารมวลชน สนับสนุนแบบการสอนและระบบการจัดการ มีความหมายโดยทวั่ไปที่ใช้กับ 
โรงเรียน หรือระบบการศึกษา
ความแตกต่างและความสัมพันธ์ 
-คาว่า Instructional นัน้ ไม่เพียงแต่สอดคล้องกับระบบการศึกษาเท่านัน้ 
แต่ยัง 
รวมถึงสถานการณ์การฝึกอบรมได้เช่นกัน -Knirk และ Gustafson 
(1986) ได้กล่าว 
ว่า "Instructional" เกี่ยวข้อง กับปัญหาด้านการเรียนการสอน ในขณะที่ 
“Educational” เป็นคาที่มีความหมายกว้างๆ รวมลักษณะต่างๆไว้ 
ด้วยกัน เหตุผล 
ของการใช้คา Educational Technology เพราะว่า Instruction 
หรือการเรียนการ 
สอน เป็นส่วนประกอบหนึ่งของ Educational Technology ดังนัน้ คา 
นีจึ้งช่วยขยาย 
ขอบเขตของส าขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาให้กว้างขว า งยิ่งขึ้น แล ะ 
"Educational" 
มีความหมายครอบคลุมไปถึงการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ทัง้บ้าน 
โรงเรียน ที่ทางาน แต่ Instructional มุ่งเน้นแต่เพียงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 
เท่านัน้ จากแนวคิดที่ว่า Instructional Technology เป็นส่วนหนงึ่ ของ
การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทาง 
การศึกษามาใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ 
ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรมรด้ 
อย่างรร?
60% 
ด้านการออกแบบการสอน 
-ทฤษฎีในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมได้รับความนิยมมากขึน้ โดยเฉพาะ ทฤษฎีประมวล 
สารสนเทศ (InformationProcessing) ได้เข้ามามีบทบาทในช่วงนีก้็ 
จะเน้นการออกแบบที่เชื่อมโยงถึงกระบวนการทางพุทธิปัญญาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน 
สามารถประมวลผลสารสนเทศที่ได้รับเข้าไปเก็บไว้อย่างเป็นระบบในหน่วยความจา 
(Memory) และสารมารถเรียกกลับมาใช้ได้โดยไม่ลืม 
-ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) กาลังได้รับความสนใจจากนัก 
การศึกษาอย่างกว้างขวาง แนวคิดพืน้ฐานของทฤษฎีนี้คือ ความรู้ไม่สามารถ 
ส่งผ่านไปสู่ผู้เรียนได้ แต่ผู้เรียนต้องสร้างความรู้ขึน้ด้วยตนเองในบริบทของสังคม
ด้านสื่อการสอน 
การใช้สื่อต่าง ๆ ที่เพิ่มมากขึน้ หลากหลายรูปแบบ โดยขึน้อยู่กับผู้สอนและ 
ผู้เรียน เช่น สื่อ Power point , E-learning 
ด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 
ใช้เพื่อการสอนและสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน (Learning 
process)
สมาชิก 
1.นางสาวนัทธ์ชนัน ศรีโพนทัน 563050534-5 
2.นางสาววัชรี ขันธะหัตถ์ 563050540-0 
3.นายจักรกริช สบายใจ 563050525-6 
สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ ชัน้ปีที่ 2
Thank you! 
Contact Address: 
Prof. Somchai Doe 
Tel: 
Email: 
www.kku.ac.th

More Related Content

What's hot

เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)siri123001
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณSchool
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานMs's BeLl
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารsinarack
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารAomJi Math-ed
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 

What's hot (17)

เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณ
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Similar to Chapter15630505256

งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieThamonwan Kottapan
 
Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Cholthicha JaNg
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieAnn Pawinee
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieKanatip Sriwarom
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 

Similar to Chapter15630505256 (20)

เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Technologies and education media 1
Technologies and education media 1
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 

Chapter15630505256

  • 3. ความหมายของเทคโนโลยี สื่อการศึกษา เทคโนโลยี หมายถึง การนาแนวคิด เทคนิค หลักการ กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อให้ระบบงานนัน้ดีขึน้ มี ประสิทธิภาพมากขึน้ และเพื่อแก้ปัญหาในงานนัน้ๆ สื่อการศึกษา หมายถึง วัสดุที่เสนอเนือ้หาสาระความรู้แก่ผู้รับสื่อ ช่วย อานวยความสะดวกในการให้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สื่อ อาจเป็นสื่อที่ ให้สารสนเทศในตัวเอง หรือ อาจเป็นเครื่องมือ อุปกรณ์ในการนาเสนอ การ เรียนการสอนในชัน้เรียน การบริการสารสนเทศในห้องสมุด ศูนย์ สารสนเทศ เป็นต้น
  • 4. พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษา เราสามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลาดังนีคื้อ 1.) ยุคแรกจนถึง ค.ศ.1700 พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาในยุคนีล้่าช้ามาก การจัดการเรียนการสอนอยู่ ในกลุ่มคนเล็กๆการสื่อสารยังไม่เจริญ เทคโนโลยีการศึกษาของกลุ่มโซฟิสต์ เป็นกลุ่ม ครูผู้สอนชาวกรีก ได้ออกทาการสอนความรู้ต่างๆให้กับชนรุ่นเยาว์ ได้รับการยอมรับว่าเป็น ผู้ที่มีความฉลาดปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการขนานนามว่า เป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรก 2.) พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ค.ศ.1700-1900 (พ.ศ.2243- พ.ศ.2443) ก่อนปี ค.ศ.1800 ในยุคนีพั้ฒนาการทางการศึกษาเจริญยิ่งขึน้กว่าในยุคแรกๆ โดยมีเทคโนโลยี การศึกษาแบบต่างๆจากบุคคลสาคัญๆ ดังนี้
  • 5. 1. เทคโนโลยีการศึกษาของแลนตาสเตอร์ Joseph Lancaster (1778- 1838) ได้ริเริ่มการสอนระบบพี่เลีย้ง (Monitor System) อนัยังผลให้เขา ประสบความสาเร็จในการจัดการศึกษาในยุคนัน้ วิธีการของเขาก็คือ การจัดสภาพ ห้องเรียนและดาเนินการสอนแบบประหยัด รวมถึงการจัดระบบเนือ้หาวิชาที่เรียนโดย พิจารณาถึงระดับชัน้ 2. เทคโนโลยีการศึกษาของเปสตาลอสซีกระบวนการสอนโดยการเพิ่มความรู้สึกต่อ ความรู้ในเรื่องความเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กนัน้ เป็นสิ่งจาเป็นที่สุด นอกจากนัน้ เปสตาลอสซี ยังคานึงถึงเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลอันจะมีผลต่อการเรียนรู้ของ ผู้เรียนด้วย 3. เทคโนโลยีทางการศึกษาของฟรอเบล การควบคุมพัฒนาการต่างๆ โดยให้ผู้เรียนได้ สัมผัสกับชีวิตจริงในฐานะที่เขาเป็นส่วนหนงึ่ของสังคมด้วยองค์ประกอบพืน้ฐานในการให้ การศึกษาแก่เด็ก 4. เทคโนโลยีการศึกษาของแฮร์บาร์ท ชีใ้ห้เห็นแนวทางในการสร้างความคิดรวบยอดใหม่ จากความคิดรวบยอดเดิม เน้นเรื่องจริยธรรม (Moral) โดยถือว่าเป็นพืน้ฐานสาคัญ
  • 6. 3.) เทคโนโลยีการศึกษา ค.ศ.1900-ปัจจุบัน (พ.ศ.2443-ปัจจุบัน) เทคโนโลยีทางการ ศึกษายุคนีพั้ฒนาขึน้จากทัง้สองยุคแรก โดยมีเทคโนโลยีการศึกษาแบบต่างๆจากบุคคลสาคัญ ดังนี้ 1. เทคโนโลยีการศึกษาของธอร์นไดค์ ผู้ให้กาเนิดทฤษฎีแห่งการเรียนรู้ ซงึ่เป็นที่ยอมรับกัน อย่างแพร่หลายทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ มีชื่อว่า ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory) จากการที่ธอร์นไดค์ ได้ศึกษาเรื่อง การเรียนรู้ของสัตว์ และต่อมาได้กลายมาเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ทวั่ไปโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์นัน้ เป็นที่รู้จัก กันดีในนามทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยง ในเรื่องนี้ 2. เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้มีความสาคัญต่อระบบการศึกษาของสหรัฐอเมริกาเป็น อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แนวความคิดในการแก้ปัญหา (Problem-Solving) 3. เทคโนโลยีการศึกษามอนเตสซอรี ผู้บุกเบิกเกี่ยวกับการสอนแบบ Nourishing สาเร็จการศึกษาทางการแพทย์จากมหาวิทยาลัยโรม
  • 7. พัฒนาการทางเทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบัน และแนวโน้มใน อนาคต ตลอดระยะเวลาประมาณ 2 ศตวรรษ นับแต่ปี ค.ศ.1960 เป็น ต้นมา สื่อการศึกษาบางประเภท ได้ถูกนามาใช้กับงานการศึกษามากขึน้ ผล จากการค้นคว้าทดลองของนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์บวกกับแนวความคิดของ นักการศึกษา ก่อให้เกิดความก้าวหน้าใหม่ๆ ทางเครื่องมือทางการศึกษาขึน้ เช่น ทางด้านการใช้โทรทัศน์เพื่อการศึกษามวลชน การใช้โทรศัพท์ในลักษณะ วงจรปิดเพื่อเรียนเป็นกลุ่ม การใช้เทคโนโลยีวีดิโอเทป ซงึ่กลุ่มผู้เรียนเป้าหมาย แคบลง ๆ การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ มาพ่วงกับความคิดและการพัฒนาการ สอนในลักษณะใหม่ เช่น การเรียนด้วย
  • 9. 1. การออกแบบ (Design) แสดงให้เห็นถึงกรอบหรือโครงร่างที่แสดงหลักการและ ทฤษฎีพืน้ฐานต่างๆในการออกแบบงานเทคโนโลยีการศึกษามี 4 ด้าน คือ -การออกแบบระบบการสอน เป็นการกาหนดระบบการสอนทัง้หมด -การออกแบบสาร เป็นการวางแผนจัดการสารที่จะให้ผู้เรียน รับรู้ ใส่ใจ และเรียกสาร กลับมาใช้ได้เมื่อต้องการ -กลยุทธ์การสอน เป็นการระบุการเลือก ลาดับเหตุการณ์และกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับ บทเรียน -คุณลักษณะของผู้เรียน สิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึงพนื้ฐานประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ความแตกต่างของผู้เรียน 2. การพัฒนา (Development) การสร้างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อต่างๆ -เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ และภาพนิ่งต่างๆ -เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ เช่น วีดีทัศน์ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นต้น ข้อดีคือให้ความเป็น สภาพจริง บริบทในการเรียนรู้ เน้นครูในการถ่ายทอดความรู้เนือ้หา -เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์เป็นฐานในการเรียนการ สอน
  • 10. 3. การใช้ (Utilization) การนาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องคานึงถึงความง่ายในการใช้งานระหว่างผู้เรียนและสื่อการเรียนการสอนหรือ ระบบที่เกี่ยวข้อง 4. การจัดการ (Management) เป็นการบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ 5. การประเมิน (Evaluation) การประเมินเพื่อปรับปรุง เน้นกระบวนการ และผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เห็นถึงประสิทธิText ภาพ in ตลhere อดทัง้คุณภาพของสื่อที่ออกแบบ ขึน้มา
  • 11. Educational Technology Your text in here Your text in here และ Instructional Technology มีความเหมือน ความแตกต่าง หรือสัมพันธ์กันอย่างรร
  • 12. ความแตกต่างของเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการสอน Educational Technology และ Instructional Technology ในวงการสาขาวิชานี้ได้เรียกทัง้ Educational Technology และ Instructional Technology ซึ่ง Barbara และ Rita (1994) ได้กล่าวไว้ 2 ประการ คือ (1)Barbara และ Rita (1994) ได้ให้ความหมายของคาว่า “เทคโนโลยีการสอน” (Instructional Technology) หมายถึงทฤษฎีและการปฏิบัติในขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับการ ออกแบบ การพัฒนาการใช้การจัดการและประเมินผลของกระบวนการและแหล่งการเรียนสาหรับการเรียนรู้ ดังจะเห็นความสัมพันธ์ของขอบข่ายทัง้ 5 ได้แก่การออกแบบ (Design)การพัฒนา (Development) การใช้ (Utilization) การจัดการ (Management) และการประเมิน (Evaluation) -ครอบคลุมถึงการปฏิบัติ -อธิบายองค์ประกอบของเทคโนโลยีในการศึกษาได้อย่างชัดเจน (2) Educational Technology เทคโนโลยีการศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ซึ่งเกี่ยวข้อง กับการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ของมนุษย์ในทุกลักษณะ เทคโนโลยีการศึกษามีความหมายรวมถึง การเรียนรู้ผ่านสื่อสารมวลชน สนับสนุนแบบการสอนและระบบการจัดการ มีความหมายโดยทวั่ไปที่ใช้กับ โรงเรียน หรือระบบการศึกษา
  • 13. ความแตกต่างและความสัมพันธ์ -คาว่า Instructional นัน้ ไม่เพียงแต่สอดคล้องกับระบบการศึกษาเท่านัน้ แต่ยัง รวมถึงสถานการณ์การฝึกอบรมได้เช่นกัน -Knirk และ Gustafson (1986) ได้กล่าว ว่า "Instructional" เกี่ยวข้อง กับปัญหาด้านการเรียนการสอน ในขณะที่ “Educational” เป็นคาที่มีความหมายกว้างๆ รวมลักษณะต่างๆไว้ ด้วยกัน เหตุผล ของการใช้คา Educational Technology เพราะว่า Instruction หรือการเรียนการ สอน เป็นส่วนประกอบหนึ่งของ Educational Technology ดังนัน้ คา นีจึ้งช่วยขยาย ขอบเขตของส าขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาให้กว้างขว า งยิ่งขึ้น แล ะ "Educational" มีความหมายครอบคลุมไปถึงการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ทัง้บ้าน โรงเรียน ที่ทางาน แต่ Instructional มุ่งเน้นแต่เพียงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เท่านัน้ จากแนวคิดที่ว่า Instructional Technology เป็นส่วนหนงึ่ ของ
  • 15. 60% ด้านการออกแบบการสอน -ทฤษฎีในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมได้รับความนิยมมากขึน้ โดยเฉพาะ ทฤษฎีประมวล สารสนเทศ (InformationProcessing) ได้เข้ามามีบทบาทในช่วงนีก้็ จะเน้นการออกแบบที่เชื่อมโยงถึงกระบวนการทางพุทธิปัญญาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถประมวลผลสารสนเทศที่ได้รับเข้าไปเก็บไว้อย่างเป็นระบบในหน่วยความจา (Memory) และสารมารถเรียกกลับมาใช้ได้โดยไม่ลืม -ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) กาลังได้รับความสนใจจากนัก การศึกษาอย่างกว้างขวาง แนวคิดพืน้ฐานของทฤษฎีนี้คือ ความรู้ไม่สามารถ ส่งผ่านไปสู่ผู้เรียนได้ แต่ผู้เรียนต้องสร้างความรู้ขึน้ด้วยตนเองในบริบทของสังคม
  • 16. ด้านสื่อการสอน การใช้สื่อต่าง ๆ ที่เพิ่มมากขึน้ หลากหลายรูปแบบ โดยขึน้อยู่กับผู้สอนและ ผู้เรียน เช่น สื่อ Power point , E-learning ด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ใช้เพื่อการสอนและสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน (Learning process)
  • 17. สมาชิก 1.นางสาวนัทธ์ชนัน ศรีโพนทัน 563050534-5 2.นางสาววัชรี ขันธะหัตถ์ 563050540-0 3.นายจักรกริช สบายใจ 563050525-6 สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ ชัน้ปีที่ 2
  • 18. Thank you! Contact Address: Prof. Somchai Doe Tel: Email: www.kku.ac.th