SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
การวิจ ัย เชิง สำา รวจ
                            (Survey Research)
       “การวิจ ัย ” หมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อตอบ
คำาถาม หรือ ปัญหาที่มีอยู่อย่างเป็นระบบ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
โดยมีการกำาหนดคำาถามวิจัย ซึ่งอาจได้มาจากการศึกษาเอกสารและ/
หรือประสบการณ์ตรง มีการวางแผนการวิจัย หรือเขียนโครงการวิจัย
สร้างเครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูลใน
การวิจัย รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเขียนรายงานการวิจัย
ประเภทของการวิจ ัย
       การวิจัยที่ใช้ในวงการศึกษามีอยู่หลายประเภทสำาหรับการวิจัยที่
เหมาะสมกับการเรียนการสอนในรายวิชาโครงการ ผู้เขียนขอเสนอแนะ
ไว้เพียง 3 ประเภท คือ การวิจัยเชิงสำารวจ การวิจัยเชิงทดลอง และ
การวิจัยและพัฒนา
การวิจ ัย เชิง สำา รวจ
       การวิจัยเชิงสำารวจ เป็นการวิจัยที่เน้นการศึกษารวบรวมข้อมูล
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันการดำาเนินการวิจัยไม่มีการสร้างสถานการณ์
เพื่อศึกษาผลที่ตามมาแต่เป็นการค้นหาข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ต่างๆ
ที่เกิดขึ้นอยู่แล้ว นักวิจัยไม่สามารถกำาหนดค่าของตัวแปรต้นได้ตามใจ
ชอบ เช่น ผู้วิจัย ต้องการสำารวจความคิดเห็นของนักเรียน/นักศึกษาต่อ
การให้บริการทางด้านการเรียนการสอนของวิทยาลัย และต้องการ
ศึกษาว่าเพศชายและเพศหญิงจะมีความคิดเห็นต่างกันหรือไม่ ในกรณี
นี้ตัวแปรต้นคือเพศ และค่าของตัวแปรต้นคือ ชายและหญิง จะเห็นได้ว่า
ค่าของตัวแปรต้นเป็นสิ่งที่เป็นอยู่แล้ว นักวิจัยไม่สามารถกำาหนดได้เอง
ว่าต้องการให้ค่าของตัวแปรเพศเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่เพศชายหรือเพศ
หญิง
ความหมายของการสำา รวจ (Definition of the Survey)
       เป็นเทคนิคทางด้านระเบียบวิธี (methodological technique)
อย่างหนึ่งของการวิจัย ที่ใช้เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบจากประชากรหรือ
กลุ่มตัวอย่าง โดยใช้การสัมภาษณ์หรือใช้แบบสอบถามชนิด
self-administered questionnaire Survey มีความคล้ายคลึงกับ
การออกแบบวิจัยเชิงเตรียมทดลอง (preexperimental design)
ที่Campbell และ Stanley ให้ความหมายว่าเป็น “one-shot case
study” คือ เป็นการเก็บข้อมูลในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง (at one
point in time)
       - ไม่มีการเก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นอยู่ก่อน(no “before”
observations are made)
รายละเอีย ดของรูป แบบการวิจ ัย เชิง สำา รวจ

                                                                       3
ตามเกณฑ์ของ Denzin ซึ่งได้แบ่งประเภทของ Survey
Design โดยใช้เกณฑ์ของ Experimental Design เป็นเกณฑ์ โดย
อ้างว่ายุทธวิธีทางระเบียบวิธี (methodological strategy) ของการ
สำารวจจะต้องเกี่ยวข้องกับการสุ่มตัวอย่างเป็นอย่างมาก โดยอ้างถึงตัว
แบบของการทดลอง (classical experimental model) มี 4 องค์
ประกอบ คือ
1. นักวิจัยควบคุมเงื่อนไขของการกระทำา (control by the
investigator over the treatment conditions)
2. การศึกษาซำ้า (repeated observations)
3. การสร้างกลุ่มเปรียบเทียบ (construction of two or more
comparison group experimental and control)
4. การใช้กระบวนการสุ่มตัวอย่างเป็นเทคนิคในการกำาหนดกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุม (the use of randomization as a technique
for assignment of objects to experimental and control
groups)

ขั้น ตอนการวิจ ัย เชิง สำา รวจ
       การวิจัยเชิงสำารวจ หรือ การวิจัยโดยการสำารวจ เป็นวิธีการวิจัยที่
ใช้กันแพร่หลายมากที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการวิจัยสาขา
สังคมศาสตร์ ปัจจุบันการวิจัยทางสังคมวิทยา รัฐประศาสนศาสตร์
จิตวิทยา การบริหารธุรกิจ สาธารณสุขศาสตร์ ภูมิศาสตร์
ประชากรศาสตร์ ฯลฯ ในประเทศไทยอาศัยการสำารวจเป็นเครื่องมือที่
สำาคัญในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยทำาการสุ่มตัวอย่างจำานวนหนึ่งมา
จากประชากรเป้าหมายที่ต้องการศึกษาแล้วนำาผลที่ได้จากการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างนี้อ้างอิงหรือประมาณค่าไปยังประชากรทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง
ดังนั้น ในการวิจัยเชิงสำารวจจึงมีรายละเอียดปลีกย่อยในขั้นตอนของ
การวิจัยแตกต่างจากการวิจัยในแบบอื่นๆ อยู่บ้าง
Denzin ได้เสนอขั้นตอนของการวิจัยเชิงสำารวจไว้ 9 ขั้นตอน คือ
1. การกำา หนดรูป แบบของปัญ หาที่จ ะศึก ษาเป็น การกำา หนด
ปัญ หาที่จ ะศึก ษา ศึกษาจากใครลักษณะการศึกษาเป็นแบบพรรณนา
หรือเป็นการอธิบายและทำานายรวมไปถึงสมมติฐานที่ต้องการจะทดสอบ
ด้วย เป็นการกล่าวถึงลักษณะทั่วไปของปัญหา
2. กำา หนดปัญ หาเฉพาะการวิจ ัย แปลความหมายของแนวความคิด
ในปัญหาที่จะศึกษาให้เป็นตัวแปรที่สามารถวัดได้และระบุถึงกลุ่ม
ตัวอย่างที่จะใช้เป็นหน่วยในการศึกษา
3. การเลือ กรูป แบบของการสำา รวจ เลือ กให้ต รงกับ จุด มุ่ง หมาย
ของการวิจ ัย

                                                                          3
4. สร้า งเครื่อ งมือ ในการวิจ ัย
5. กำา หนดรูป แบบในการวิเ คราะห์ข ้อ มูล เลือกตัวแปรอิสระ
ตัวแปรตาม และตัวแปรคุมขึ้นมาพร้อมทั้งระบุมาตราหรือดัชนีของแต่ละ
ตัวแปรไว้ให้พร้อม
6. กำา หนดการเข้า ตารางข้อ มูล การจัดเตรียมรูปแบบการวิเคราะห์
ในตอนนี้เป็นการเตรียมลงรหัสให้กับประเด็นปัญหาและข้อคำาถามใน
แบบสอบถามเพื่อให้ง่ายต่อการแปลงข้อมูลไปสู่การวิเคราะห์ซึ่งอาจจะ
ใช้บัตรคอมพิวเตอร์หรือใช้รูปแบบการวิเคราะห์ตาราง
7. การเตรีย มการสำา หรับ ผู้ส ัม ภาษณ์แ ละผู้ถ ูก สัม ภาษณ์ ก่อนที่
นักวิจัยจะลงไปปฏิบัติงานในสนาม ผู้สัมภาษณ์ซึ่งเป็นนักวิจัยผู้ช่วยจะ
ต้องได้รับการฝึกอบรมและชี้แนะถึงที่ตั้งของพื้นที่การวิจัยและมีการ
กำาหนดผู้ถูกสัมภาษณ์ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างจากประชากรโดยชี้แนะให้
เห็นถึงถิ่นที่อยู่ของกลุ่มคนเหล่านี้ซึ่งอาจจะใช้แผนที่เป็นเครื่องช่วย
อำานวยความสะดวก


8. การวิเ คราะห์ผ ลของข้อ มูล ที่อ อกมาในกระบวนการ
วิเ คราะห์ข ้อ มูล นัก วิจ ัย ต้อ งมุ่ง ค้น หาคำา ตอบประเด็น ปัญ หาที่จ ะ
เกิด ขึ้น คือ
   - กลุ่มตัวอย่างที่ได้ศึกษาจริงนั้นมีลักษณะรายละเอียดต่างๆ เหมือน
กับกลุ่มตัวอย่างที่ได้มุ่งหวังไว้หรือไม่           ถ้านักวิจัยได้ใช้ตัวแบบ
การสุ่มตัวอย่างทางสถิติจะต้องมีการประเมินว่า กลุ่มตัวอย่างที่ได้มามี
ความเป็นตัวแทนได้มากน้อยแค่ไหน โดยเปรียบเทียบกับแบบแผนตอน
ต้นที่ได้วางไว้และกับลักษณะของประชากรส่วนใหญ่
   - อัตราการปฏิเสธ (Refusals rate) ที่จะตอบคำาถามที่เกิดขึ้นจะต้อง
นำามาคิดคำานวณด้วยเพราะถือเป็นประเด็นสำาคัญของการวิจัยซึ่งจะต้อง
มีการตรวจสอบว่าเกิดจากอคติของกลุ่มตัวอย่าง(sample bias) หรือ
ไม่
9. การทดสอบสมมติฐ าน ในขั้นนี้นักวิจัยจะต้องสร้างรูปแบบการ
วิเคราะห์หลายตัวแปรขึ้นมาเพื่อดูลักษณะความแปรผันร่วมระหว่าง
ตัวแปร จัดลำาดับก่อนหลัง ความสัมพันธ์ของตัวแปรและเมื่อกระบวนการ
วิเคราะห์สิ้นสุดลง นักวิจัยจะต้องกลับไปพิจารณาดูว่าข้อมูลที่ได้เหล่านี้
สามารถอย่างเพียงพอหรือไม่ ที่จะทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้และผลที่ได้
ออกมาสนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานอย่างไรบ้าง Denzin ได้กล่าว
ว่า ขั้นตอนเหล่านี้เป็นลักษณะความคิดเพื่อให้ข้อเสนอแนะว่าการวิจัย
เชิงสำารวจจะแก้ปัญหา 4 ประการ ที่นักวิจัยทางด้านนี้ต้องเผชิญหน้า
อยู่ตลอดเวลา คือ

                                                                             3
1. การปฏิสัมพันธ์
     2. เวลา
     3. ตัวแบบการสุ่มตัวอย่าง
     4. หน่วยของการวิเคราะห์
     ความสัมพันธ์ระหว่างการสุ่มตัวอย่างกับการวิจัยเชิงสำารวจเนื่องจาก
การสำารวจเป็นการเลือกตัวแทนของประชากรที่เราต้องการศึกษาขึ้นมา
จำานวนหนึ่งเพื่อทำาการศึกษาโดยมีเป้าหมายเพื่อนำาเอาลักษณะข้อมูลที่
ได้จากกลุ่มตัวอย่างอ้างอิงไปถึงลักษณะของประชากรที่เป็นหน่วยของ
การศึกษาและเนื่องจากจุดเริ่มต้นของการสำารวจเกี่ยวข้องกับข้อตกลง
เบื้องต้นเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมาจากประชากรที่ทำาการศึกษา ดังนั้น
การคัดเลือกตัวแบบการสุ่มตัวอย่างจึงเป็นสิ่งจำาเป็นที่จะต้องกระทำาก่อน
การออกแบบการศึกษาว่าจะศึกษาประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างแบบไหน
และด้วยเหตุนี้จึงทำาให้การสำารวจข้อมูลต้องอาศัยทฤษฏีทาง
คณิตศาสตร์สถิติ เกี่ยวกับความน่าจะเป็นและการแจกแจงของตัวแปร
สุ่มประกอบในการวางแผนการสำารวจและการประมาณผล
การเก็บ รวบรวมข้อ มูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มีเทคนิคแตกต่างกัน ซึ่งมี 2 วิธี
คือ
    1. การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Data)
    2. การรวบรวมข้อมูลจากสนาม (Field Data)
    ในการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร เป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีความ
สำาคัญเป็นอันดับแรกของการวิจัย โดยเฉพาะการใช้เอกสารและสิ่งพิมพ์
เพื่อวิเคราะห์ปัญหาการวิจัยนั้น ย่อมทำาให้ได้รับประโยชน์อย่างน้อยถึง
3 ประการ ประการแรก ผู้วิจัยย่อมมองเห็นภาพของปัญหาที่จะวิจัยได้
ชัดเจนยิ่งขึ้น หลังจากที่ได้อ่านเอกสารและสิ่งพิมพ์ที่มีประเด็นสัมพันธ์
กับปัญหาที่จะวิจัยอย่างถี่ถ้วน ประการที่สองผู้วิจัยจะได้ทราบว่าปัญหา
ที่จะวิจัยนั้น ได้มีผหนึ่งผู้ใดทำาไวก่อนแล้วหรือยัง หรือมีผู้ใดได้วิจัย
                     ู้
ประเด็นบางส่วนของปัญหาที่จะวิจัยไว้บ้างแล้วหรือเปล่า และประการ
สุดท้าย ผู้วิจัยจะได้มีความเข้าใจอย่างกว้างขวางที่จะเลือกใช้วิธีวิจัยที่
เหมาะสมและตั้งแนววิเคราะห์ที่ถูกต้อง เพื่อการวิจัยปัญหาของตนส่วน
การรวบรวมข้อมูลสนามนั้น ในการวิจัยถือว่าข้อมูลสนาม (Field
Data) เป็นข้อมูลที่มีคุณค่ามากและเป็นข้อมูลปฐมภูมิ เพราะผู้วิจัยจะ
ต้องใช้วิธีการรวบรวมจากแหล่งต้นตอของข้อมูล และยังอาจจะมีโอกาส
ได้พบปะซักถามข้อเท็จจริงจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรงอีกด้วย การรวบรวม
ข้อมูลสนามที่สำาคัญและใช้กันทั่วไปมี 3 วิธี คือ การสังเกต
(Observation) การส่งแบบสอบถาม (Questionnaire) และการ
สัมภาษณ์(Interview)

                                                                           3
ในการวิจัยเชิงสำารวจ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วมีความสัมพันธ์กับข้อมูลสนาม
(field data) มากที่สุดนั้น มีวิธีการเก็บข้อมูลที่นิยมใช้กันอยู่ 4 วิธี คือ
    1. ใช้แบบสอบถาม ที่ผู้สัมภาษณ์ดำาเนินการสอบถามเอง
    2. การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์
    3. การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์
    4. แบบสอบถามที่ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ตอบเอง
จากวิธีการทั้ง 4 ข้างต้นนี้ เมื่อจำาแนกตามลักษณะความสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้เก็บข้อมูลและผู้ให้ข้อมูลสามารถแยกออกได้เป็น 2 วิธีใหญ่ ๆ คือ
1. สัม ภาษณ์จ ากบุค คลโดยตรง โดยผู้วิจัยหรือพนักงานสัมภาษณ์
อ่านปัญหาจากแบบสอบถามที่
ได้จัดเตรียมไว้แล้วให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ฟังบางครั้งอาจจะใช้วิธีการ
สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์แต่ก็มีข้อจำากัดมาก
คือ ไม่สามารถสอบถามข้อมูลได้มาก โดยทั่วๆ ไป ไม่ควรเกิน 20 นาที
2. ส่ง แบบสอบถามไปให้ผ ู้ถ ูก วิจ ัย ตอบ ซึ่งถือว่าเป็นการประหยัด
มาก แต่มีข้อจำากัดตรงที่ไม่
สามารถใช้กับกลุ่มบุคคลบางประเภทได้ เช่น คนที่มีการศึกษาในระดับ
ตำ่า หรือไม่มีการศึกษา ซึ่งแม้ว่า
สามารถจะอ่านแบบสอบถามได้ ก็อาจจะทำาให้มีการตีความผิดพลาดได้
การใช้แ บบสอบถาม
       แบบสอบถาม หมายถึง คำาถามหรือชุดของคำาถามที่เราคิดขึ้น
เพื่อเตรียมไว้ไปถามผู้ที่ทราบข้อมูลตามที่เราต้องการทราบ อาจจะถาม
เอง ให้คนอื่นไปถาม หรือส่งแบบสอบถามไปให้กรอกตามแบบฟอร์ม
คำาถามที่กำาหนดให้ แล้วนำาคำาตอบที่ได้มาวิเคราะห์แปลความหมายต่อ
ไปแบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้
รวบรวมข้อมูลซึ่งตามปกติใช้กันมากในการวิจัยภาคสนาม เช่น การ
สำารวจหรือสำามะโน และการวิจัยอย่างอื่นๆ ที่ผู้วิจัยจะต้องเข้าไป
เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือสิ่งแวดล้อมที่จะทำาการวิจัย แบบสอบถามนับว่า
เป็นเครื่องมือที่มีความสำาคัญอย่างยิ่ง ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์
เพราะใช้บันทึกข่าวสาร ความรู้สึกนึกคิดและทัศนคติ (attitude) ของ
ประชากรโดยตรง

ข้อ ดีข องแบบสอบถาม
1. ค่าลงทุนน้อยกว่า เมื่อเทียบกับการสัมภาษณ์ เพราะแบบสอบถาม
ลงทุนด้วยค่าพิมพ์และส่งไปยังผู้รับ           ส่วนการสัมภาษณ์ต้อง
ออกไปสัมภาษณ์ทีละคน ย่อมเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากกว่า
2. การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ จะไปถึงผู้รับแน่นอนกว่า การออก
ไปสัมภาษณ์ซึ่งผู้ตอบอาจไม่อยู่บ้าน ไม่ว่าง หรือไม่ยินดีพบผู้สัมภาษณ์

                                                                             3
3. การส่งแบบสอบถามไปให้คนจำานวนมาก ย่อมสะดวกกว่าการ
สัมภาษณ์มากนัก
4. แบบสอบถามจะไปถึงมือผู้รับได้ทุกแห่งในโลกที่มีการไปรษณีย์
5. แบบสอบถามที่ดี ผู้ตอบจะตอบอย่างสะดวกใจมากกว่าการสัมภาษณ์
6. ถ้าสร้างแบบสอบถามให้ดีแล้ว การวิเคราะห์ข้อมูลทำาได้ง่ายกว่าการ
สัมภาษณ์
7. สามารถควบคุมให้แบบสอบถามถึงมือผู้รับได้ในเวลาไล่เลี่ยกัน จึง
ทำาให้การตอบ (ถ้าตอบทันที) ได้แสดงถึงความคิดเห็นของสภาวการณ์
ในเวลาที่ใกล้เคียงกันได้ เป็นการควบคุมการตอบได้แบบหนึ่ง
8. ผูตอบต้องตอบข้อความที่เหมือนกัน และแบบฟอร์มเดียวกัน เป็นการ
      ้
ควบคุมสภาวะที่คล้ายกัน ทำาให้สรุปผลได้ดีกว่าการสัมภาษณ์
ข้อ เสีย ของแบบสอบถาม
1. มักจะได้แบบสอบถามกลับคืนจำานวนน้อย
2. ความเที่ยง (reliability) และความตรง (validity) ของ
แบบสอบถามได้รับการตรวจสอบลำาบากจึงมักจะไม่นิยมหา
3. โดยปกติแบบสอบถามควรมีขนาดสั้นกะทัดรัด ดังนั้นจึงมีข้อคำาถาม
ได้จำานวนจำากัด
4. คนบางคนมีความลำาเอียงต่อการตอบแบบสอบถาม เนื่องจากได้รับ
บ่อยเหลือเกิน หรือมีประสบการณ์เกี่ยวกับแบบสอบถามที่ไม่ดีมาก่อนจึง
ทำาให้ไม่อยากตอบ
5. เป็นการเก็บข้อมูลที่ไม่ต้องใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวเหมือนกับการ
สัมภาษณ์ซึ่งผู้ถามและผู้ตอบมีปฏิกิริยาโต้ตอบกัน แบบสอบถามให้
ปฏิกิริยาโต้ตอบทางเดียว
6. แบบสอบถามใช้ได้เฉพาะบุคคลที่อ่านหนังสืออกเท่านั้น
7. แบบสอบถามที่ได้รับคืนมานั้น ผู้วิเคราะห์ไม่สามารถทราบได้ว่าใคร
เป็นผู้ตอบแบบสอบถามนั้น
8. ผูตอบบางคนไม่เห็นความสำาคัญก็อาจโยนแบบสอบถามทิ้ง โดยไม่
        ้
พิจารณาให้รอบคอบ
ข้อ พิจ ารณาในการเขีย นแบบสอบถาม
ในการเขียนแบบสอบถามมีองค์ประกอบที่จะต้องพิจารณา 4 ประเด็น
คือ
   1. ชนิดของคำาถาม
   2. รูปแบบของคำาถาม
   3. เนื้อหาของคำาถาม
   4. การจัดลำาดับของคำาถาม
   คำาถามในแบบสอบถามในลักษณะทั่วไป ส่วนใหญ่อาจแบ่งออกได้
เป็น 2 อย่าง คือ คำาถามปิดกับคำาถามเปิด (Open and closed end

                                                                    3
question) คำาถามปิด คือ คำาถามที่ผู้ร่างได้ร่างคำาถามไว้ก่อนแล้วและ
ให้ตอบตามที่กำาหนดไว้เป็นส่วนใหญ่เท่านั้น โดยให้โอกาสผู้ตอบมี
โอกาสมีอิสระเลือกตอบได้น้อยส่วนคำาถามเปิด คือ คำาถามที่เปิดโอกาส
ให้ผู้ตอบๆ ได้อย่างอิสรเสรีเต็มที่ คำาถามทั้งสองชนิดใช้ควบคู่กันไป
ส่วนใหญ่ใช้คำาถามปิดก่อนแล้วตามเก็บประเด็นความรูสึกด้วยคำาถาม
เปิด ไว้ท้ายข้อของคำาถามปิด
หรือของท้ายเรื่อง
ข้อ ดีข องแบบสอบถาม คือ
    1. ผู้วิจัยต้องการทราบ ความคิดเห็นของผู้ตอบอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะ
เรื่องที่ซับซ้อน ไม่สามารถร่างคำาถามให้ตอบเป็นข้อย่อยๆ ได้
    2. ช่วยผู้วิจัย เมื่อความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ของผู้วิจัยมีจำากัด
    3. ยังมีข้อความอะไรที่เหลือตกค้าง ยังไม่ได้ตอบ ผูตอบจะได้ตอบมา
                                                             ้
ได้ ไม่ตกค้างหรือไม่ได้รับการบรรจุอยู่ในบบสอบถาม
    4. ช่วยให้ได้คำาตอบในรายละเอียด ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับความรู้สึก
ความจูงใจที่ซ่อนอยู่
    5. ถ้าคำาถามกำาหนดไว้ตายตัวมาก ผูตอบไม่มีโอกาสได้แสดงความ
                                             ้
คิดเห็นตัวเองเพิ่มเติม จะได้เพิ่มเติมตามที่ต้องการ ทำาให้ได้ข้อเท็จจริง
เพิ่มขึ้น
ข้อ เสีย ของคำา ถามเปิด
1. การเปิดโอกาสให้ผู้ตอบ ตอบได้โดยเสรี อาจทำาให้ได้คำาตอบไม่ตรง
กับความต้องการ ของเรื่องที่ต้องการวิจัยได้ หรือมีส่วนตรงจุดหมาย
น้อย เพราะผู้ตอบไม่เข้าใจเรื่องหรือตอบนอกเรื่องที่ต้องการจะวิจัย
2. อาจจะทำาให้ได้คำาตอบออกนอกลู่นอกทาง ซึ่งอาจไม่เกี่ยวกับเนื้อหา
เลย
3. ลำาบากในการรวบรวมและวิเคราะห์ เพราะจะต้องนำามาลงรหัสแยก
ประเภทซึ่งทำาให้ลำาบากมากและเสียเวลา เพราะแต่ละคนตอบตามความ
รู้สึกนึกคิดของตนเอง ไม่มีกรอบหรือขอบเขตที่กำาหนดให้
4. ผู้ลงรหัสจะต้องมีความชำานาญ จะต้องมีการอบรมมาก่อน มิฉะนั้น
อาจจะจับกลุ่มของคำาตอบไม่ถูก จะทำาให้ความหมายเปลี่ยนแปลง หรือ
เปลี่ยนคุณค่า หรืออาจทำาให้เปลี่ยนความมุ่งหมายไป
ข้อ ดีข องคำา ถามปิด
    1. โดยที่ได้กำาหนดคำาถามไว้แบบเดียวกัน เป็นมาตรฐาน จึงทำาให้ได้
คำาตอบที่มีลักษณะเป็นมาตรฐานเดียวกัน
    2. สะดวกหรือง่ายต่อการปฏิบัติในการรวบรวมเก็บข้อมูล
    3. รวดเร็ว ประหยัด
    4. สะดวกในการวิเคราะห์ ลงรหัส และใช้กับเครื่องจักรกลในการ
คำานวณ

                                                                          3
5. ทำาให้ได้รายละเอียดไม่หลงลืม
  6. ได้คำาตอบตรงกับวัตถุประสงค์
  7. ใช้ได้ดีกับคำาถามที่ไม่ซับซ้อน หรือที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง
ข้อ เสีย ของคำา ถามปิด
  1. ผูตอบไม่มีโอกาสได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่
        ้
  2. อาจจะทำาให้การวิจัยไม่ได้ข้อเท็จจริงครบเพราะผู้วิจัยตั้งคำาถามไว้
ครอบคลุมไม่หมด
  3. ถ้าคำาถามไม่ชัด ผูตอบอาจตีความหมายต่างกัน และคำาตอบผิด
                       ้
พลาดได้

การสัม ภาษณ์
       การสัม ภาษณ์ (Interview) เป็นวิธีการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่งของ
นักสังคมศาสตร์เป็นการสนทนาระหว่างนักวิจัยกับผู้ให้ข้อมูล
(information) เพื่อวัตถุประสงค์ของการเก็บข้อมูลวิธีการสัมภาษณ์ที่
นำามาใช้กันมากที่สุด ในการวิจัยเชิงสำารวจ คือ รูปแบบการสัมภาษณ์
หรือตารางการสัมภาษณ์ (Interview schedule)
ซึ่งเป็นการสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้างโดยใช้รูปแบบของ
แบบสอบถาม(Questionnaire) ที่นักวิจัยได้กำาหนดหัวข้อปัญหาไว้
เรียบร้อยแล้ว นักวิจัยหรือพนักงานสัมภาษณ์ ถามนำาในปัญหา แล้ว
บันทึกคำาตอบที่ผู้ถูกสัมภาษณ์ตอบออกมา ลงในตารางการสัมภาษณ์
การวางแผนวิธ ีก ารสำา รวจ
       การวางแผนการสำารวจแบบย้อนกลับเป็นการวางแผนที่ท้าทายนัก
วิจัยมากกว่าในความเป็นจริงการวางแผนควรจะเริ่มจากผลสุดท้ายที่
ต้องการแล้วย้อนไปจนถึงจุดตั้งต้นทำาให้ทราบว่าต้องการข้อมูลอะไร
บ้างและจะนำาไปใช้อะไรได้บ้าง การวางแผนสามารถโยงไปถึงการ
วิเคราะห์และตารางวิเคราะห์ที่ตรงตามความต้องการ ชนิดของตัวแปร
กลุ่มตัวอย่าง รวมทั้งการให้รหัสแก่ตัวแปรแต่ละตัว กลุ่มตัวอย่างที่
ครอบคลุมประชากรที่เกี่ยวข้องและรวมถึงพนักงานสัมภาษณ์และผู้
นิเทศงานสนามความสำาคัญและขั้นตอนหลักของการวางแผน 2
ประเภทในวิธีการสำารวจสุ่มตัวอย่าง คือ
1. การวางแผนด้า นวิช าการ ได้แก่ ขอบเขตของการสำารวจ เลือก
แบบแผนการสำารวจรวมถึงเนื้อหาของ
การศึกษาทั้งหมด
2. การวางแผนขั้น ตอนการปฏิบ ัต ิ เพื่อ ให้ง านสำา รวจบรรลุเ ป้า
หมายที่ต ้อ งการ
การเตรียมการวางแผน ขอบเขต แบบแผน และเนื้อหาของการศึกษา


                                                                         3
1. ให้จดประสงค์ที่จัดเจนของการศึกษา จุดสำาคัญอย่างที่ควรพิจารณา
         ุ
ในขณะเริ่มการศึกษาด้วย
การสำารวจสุ่มตัวอย่าง
1.1 ปัญหาเบื้องต้นของการศึกษา ขั้นตอนในการวางแผนเพื่อการ
ศึกษาจำาเป็นต้องเริ่มด้วยการระบุปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาอย่าง
ชัดเจน บ่อยครั้งทีเดียวที่ปัญหาซึ่งเป็นสิ่งที่กระตุ้นให้ทำาการศึกษาได้ถูก
ดัดแปลงไปหรือมีคำาถามอื่นที่เข้ามาเพิ่ม ด้วยเหตุนี้เรื่องเวลาในการทำา
วิจัยจึงเข้ามามีส่วนในการวางแผนการศึกษา
1.2 ลักษณะทั่วไปของข้อมูลที่ต้องการ
1.3 คำาถามเฉพาะบางอย่างซึ่งจะตอบโต้โดยวิธีการสำารวจสุ่มตัวอย่าง
เท่านั้นทั้งสามประการนี้เป็นขั้นตอนหลักของการกำาหนดวัตถุประสงค์
ของการสำารวจสุ่มตัวอย่างและจะต้องพิจารณาไปพร้อม ๆ กัน
2. การตีความหมายแนวความคิดหรือคำาต่างๆเมื่อกำาหนดจุดมุ่งหมาย
ทั่วไปและจุดมุ่งหมายเฉพาะของการสำารวจแล้วผู้ศึกษาจะพบว่ายังมีคำา
ต่างๆ ที่จะต้องกำาหนดความหมายคำานิยามอีกมาก คำาเหล่านี้มักจะเป็นที่
เข้าใจในความหมายทั่วๆ ไป แต่มักจะไม่ชัดเจนและไม่มีรายละเอียดพอ
สำาหรับการวิจัย ในบางคำาเป็นคำาที่ใช้อยู่เสมอ เช่น เพศ อายุ ระดับการ
ศึกษา แต่ในทุกการสำารวจจะต้องให้นิยามของคำาเหล่านี้ไว้ด้วย
3. คำานิยามที่ใช้ในการปฏิบัติงานจริง มีความหมายในการเก็บข้อมูล
และวัดได้ เช่น นิยามของคำาว่าว่างงาน
4. การเลือกหัวข้อทีต้องการเก็บข้อมูล เพื่อให้ได้แนวทางว่าข้อมูลใด
                       ่
บ้างที่ควรเก็บรวบรวมมา
5. การเตรียมแผนแบบของการสำารวจ เมื่อมีวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ที่ชัดเจนและมีเหตุผลสมควรและ                    ได้กำาหนดแบบของข้อมูล
ที่ต้องการ ผู้วิจัยต้องมุ่งความสนใจไปยังแผนแบบของการศึกษาแผน
แบบของการศึกษาที่ดีจะได้มาจากวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนของการศึกษา
หรือเป็นการประนีประนอมของวัตถุประสงค์ทั้งหมดกับข้อกำาหนดต่าง ๆ
เช่น เวลา ค่าใช้จ่าย
แบบแผนการสำา รวจ
       วัต ถุป ระสงค์ข องการวิจ ัย แผนแบบที่ใช้ในการสำารวจในแต่ละ
วัตถุประสงค์อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลที่
ต้องการจากการสำารวจนั้นๆ
1. การค้นคว้าสำารวจ (Exporation)
2. การศึกษาแบบพรรณา (Description) จุดมุ่งหมายของการศึกษา
แบบนี้ก็เพื่อให้ได้ผลการวัดที่เป็นบรรทัดฐานของปรากฏการณ์ที่
ต้องการ เช่น ความนิยมต่อพรรคการเมือง การสำารวจค้นหากับการ
ศึกษาแบบพรรณนาจะเหมือนกันมากในทางปฏิบัติ แตกต่างกันที่ความ

                                                                            3
ตั้งใจและการนำาข้อมูลที่ได้มาใช้ การวิจัยพรรณนาโดยสรุปจะสามารถ
นำาไปสู่การวิจัยเพื่อวัตถุประสงค์อื่นได้
3. การวิจัยเพื่อค้นหาสาเหตุ (Causal Explanation)
4. การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis testing) เป็นจุดมุ่งหมายที่ใช้
มากเพื่ออธิบายสาเหตุดังกล่าว สมมติฐานคือสิ่งที่ต้องพิสูจน์ได้ด้วย
ข้อมูลที่รวบรวมมาได้ สมมติฐานส่วนมากจะตั้งใจในลักษณะของตัวแปร
สองตัวหรือมากกว่าที่จะเป็นเหตุเป็นผลแก่กัน ข้อความของสมมติฐานจะ
มีคุณค่ามากในการวางแผนการวิจัยและการร่างแผนแบบของการ
สำารวจ ข้อดีคือจะเป็นกรอบบังคับให้นักวิจัยเข้าใจชัดเจนขึ้นถึงสิ่งที่
ต้องการจะศึกษา
5. การประเมินผล (Evaluation) การสำารวจสุ่มตัวอย่างได้ถูกนำามาใช้
มากขึ้นหรือนำาไปใช้ร่วมกับวิธีอื่นๆ ในการประเมินผลโครงการต่างๆ
6. การคาดการณ์หรือพยากรณ์เหตุการณ์ (Prediction) วัตถุประสงค์
ทั่วไปของการวิจัยสำารวจแบบนี้ก็คือ                    การหาข้อมูล
เบื้องต้นเพื่อคาดการณ์เกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต วิธีคาดการณ์ที่ใช้
มากอีกวิธีคือ การสำารวจข้อมูลปัจจุบันแล้วพยากรณ์ข้อมูลเหล่านั้น
สำาหรับปีต่อๆ ไป


                         **************

ตัว อย่า ง งานวิจัยเชิงสำารวจ
เรื่อ ง การสำารวจทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการสวมใส่กางเกงเอว
ตำ่าของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ
วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
 ผู้วิจัย สมหญิง ไวยศิลา

ความเป็นมาหรือความสำาคัญของปัญหา
       ในปัจจุบันนี้แฟชั่นการแต่งตัวเป็นที่นิยมของประชาชนและวัยรุ่น
ทั่วไปโดยไม่คำานึงถึงวัฒนธรรม
ประเพณีของไทยมุ่งเน้นแต่ค่านิยมที่ผิด ๆ แต่งตัวตามแฟชั่นไม่ดูฐานะ
ของตัวเองขอให้สวยก่อนเป็นพอ และมักแต่งตัวตามแฟชั่นของต่าง
ประเทศทำาให้เกิดปัญหาขึ้นหลายอย่างตามมา เช่น จะทำาให้เกิด
ปัญหาข่มขืนขึ้นเยอะมากในสังคมไทยเพราะในการแต่งตัวในสมัยนี้มัก
แต่งตัวโป้ล้อตาผู้ชาย และประชาชนทั่วไปชอบแต่งตัวล่อแหลมเกินไป
หรือการสวมใส่กางเกงเอวตำ่าก็ล่อแหลมแล้วยังทำาให้เป็นโรคตามมา
ด้วย

                                                                       3
ปัจจุบันในต่างประเทศเขาต้องออกกฎหมายห้ามสวมใส่กางเกง
เอวตำ่าเพราะว่าการใส่กางเกงเองตำ่านั้นมองดูแล้วมันไม่ได้เท่ห์หรือ
สวยงามที่เราคิดเลยสักนิดเดียวมีแต่ทำาให้คนอื่นมองเราในแง่ที่ไม่มดี
ตามไปด้วย ผิดกับในสมัยก่อนใส่สั้นก็ไม่ได้พ่อแม่ด่าว่าให้ แถมด่าใน
ที่เสียๆหายๆอีกต่างหาก
         ฉะนั้นการศึกษาทัศนคติของประชาชนเกี่ยวกับการสวมใส่
กางเกงเอวตำ่าสามารถนำาข้อมูลไปปรับใช้เป็นแนวทางแก้ปัญหาเกี่ยวกับ
การสวมใส่กางเกงเอวตำ่าเพื่อสร้างจิตสำานึกให้กับผู้สวมใส่กางเกงเอวตำ่า
เพื่อความปลอดภัยกับตัวของประชาชนเองและไม่เป็นปัญหาให้กับสังคม
อีกต่อไป
วัต ถุป ระสงค์
1. เพื่อศึกษาทัศนคติความต้องการของนักศึกษาเกี่ยวกับการใส่กางเกง
เอวตำ่า
2. เพื่อศึกษาทัศนคติความเชื่อของนักศึกษาเกี่ยวกับการใส่กางเกงเอว
ตำ่า
3. เพื่อศึกษาทัศนคติการยอมรับของสังคมของนักศึกษาเกี่ยวกับการใส่
กางเกงเอวตำ่า
4. เพื่อศึกษาทัศนคติความนิยมของนักศึกษาเกี่ยวกับการใส่กางเกงเอว
ตำ่า
สมมติฐ านการวิจ ัย
     1. เพศ อายุ ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีอิทธิพลต่อการสวมใส่
        กางเกงเอวตำ่าแตกต่างกัน
     2. อาชีพและรายได้มีผลกระทบต่อการเลือกสวมใส่กางเกงเอวตำ่า
        แตกต่างกัน
     3. ความนิยมและความต้องการมีผลกระทบต่อการสวมใส่กางเกงเอว
        ตำ่าแตกต่างกัน
     4. ราคาและความหลากหลายในการให้บริการในการสวมใส่กางเกง
        เอวตำ่าแตกต่างกัน




ระเบีย บวิธ ีก ารวิจ ัย
 - วิจัยเชิงสำารวจ

ประชากร/กลุ่ม ตัว อย่า ง


                                                                        3
ประชากร นักศึกษาที่กำาลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย
     อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
กลุ่มตัวอย่าง โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นตัวแทนของนักศึกษาทั้งหมด
ในขอบเขตการวิจัยจำานวน
50 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
       เป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 3 ตอน
       ตอนที่ 1 แบบสอบถามที่เกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวบุคคล ได้แก่ เพศ
อายุ ระดับการศึกษา คณะที่ศึกษาอยู่ รายได้ส่วนบุคคลต่อเดือน และ
สถานภาพ ซึ่งแบบสอบถามเป็นลักษณะเลือกตอบจำานวน 6 ข้อ
       ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติของผู้ตอบแบบสอบถาม
ซึ่งแบบสอบถามเป็นลักษณะเลือกตอบ จำานวน 7 ข้อ
       ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นในด้านต่าง ๆ เกี่ยว
กับการสวมใส่กางเกงเอวตำ่าซึ่งแบบสอบถามเป็นลักษณะมาตราส่วน
ประเมินค่า จำานวน 7 ข้อ

การวิเคราะห์ข้อมูล
     สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน




                           บรรณานุก รม
บุญเรียง ขจรศิลป์. วิธ ีก ารวิจ ัย ทางการศึก ษา . (พิมพ์ครั้งที่ 4).
กรุงเทพฯ : หจก.พีเ.อ็น.การพิมพ์,2543.


                                                                       3
มานพ จิตต์ภูษา. การวิจ ัย เชิง สำา รวจเบื้อ งต้น . มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์,2525.
เยาวรัตน์ ปรปักขามและคณะ. วิธ ีว ิจ ัย สำา รวจ . กรุงเทพฯ : ห้างหุ้น
ส่วนจำากัดพิทักษ์,2523.
สมหญิง ไวยศิลา. การสำา รวจทัศ นคติข องนัก ศึก ษาเกี่ย วกับ การ
สวมใส่ก างเกงเอวตำ่า ของนัก ศึก ษา
     มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ . ภาคนิพ นธ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย
     อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์,2548.




                                                                       3

More Related Content

What's hot

๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
NU
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
Kannika Kerdsiri
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
Bigbic Thanyarat
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
NU
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
nurmedia
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Stylesแบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
tassanee chaicharoen
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Chantana Papattha
 

What's hot (20)

การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Stylesแบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
แบบสำรวจรูปแบบการเรียนรู้( Learning Styles
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 

Similar to การวิจัยเชิงสำรวจ

44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
bow4903
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
ฟ้าหลังฝน สดใสเสมอ
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
GolFy Faint Smile
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
Wareerut Hunter
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
yutict
 

Similar to การวิจัยเชิงสำรวจ (20)

ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
 
maisooree
maisooreemaisooree
maisooree
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
Research student chapter 3
Research student chapter 3Research student chapter 3
Research student chapter 3
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action Research
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
03 Hyps-FrameW.pptx
03 Hyps-FrameW.pptx03 Hyps-FrameW.pptx
03 Hyps-FrameW.pptx
 
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
Research1
Research1Research1
Research1
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 

การวิจัยเชิงสำรวจ

  • 1. การวิจ ัย เชิง สำา รวจ (Survey Research) “การวิจ ัย ” หมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อตอบ คำาถาม หรือ ปัญหาที่มีอยู่อย่างเป็นระบบ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน โดยมีการกำาหนดคำาถามวิจัย ซึ่งอาจได้มาจากการศึกษาเอกสารและ/ หรือประสบการณ์ตรง มีการวางแผนการวิจัย หรือเขียนโครงการวิจัย สร้างเครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูลใน การวิจัย รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเขียนรายงานการวิจัย ประเภทของการวิจ ัย การวิจัยที่ใช้ในวงการศึกษามีอยู่หลายประเภทสำาหรับการวิจัยที่ เหมาะสมกับการเรียนการสอนในรายวิชาโครงการ ผู้เขียนขอเสนอแนะ ไว้เพียง 3 ประเภท คือ การวิจัยเชิงสำารวจ การวิจัยเชิงทดลอง และ การวิจัยและพัฒนา การวิจ ัย เชิง สำา รวจ การวิจัยเชิงสำารวจ เป็นการวิจัยที่เน้นการศึกษารวบรวมข้อมูล ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันการดำาเนินการวิจัยไม่มีการสร้างสถานการณ์ เพื่อศึกษาผลที่ตามมาแต่เป็นการค้นหาข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอยู่แล้ว นักวิจัยไม่สามารถกำาหนดค่าของตัวแปรต้นได้ตามใจ ชอบ เช่น ผู้วิจัย ต้องการสำารวจความคิดเห็นของนักเรียน/นักศึกษาต่อ การให้บริการทางด้านการเรียนการสอนของวิทยาลัย และต้องการ ศึกษาว่าเพศชายและเพศหญิงจะมีความคิดเห็นต่างกันหรือไม่ ในกรณี นี้ตัวแปรต้นคือเพศ และค่าของตัวแปรต้นคือ ชายและหญิง จะเห็นได้ว่า ค่าของตัวแปรต้นเป็นสิ่งที่เป็นอยู่แล้ว นักวิจัยไม่สามารถกำาหนดได้เอง ว่าต้องการให้ค่าของตัวแปรเพศเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่เพศชายหรือเพศ หญิง ความหมายของการสำา รวจ (Definition of the Survey) เป็นเทคนิคทางด้านระเบียบวิธี (methodological technique) อย่างหนึ่งของการวิจัย ที่ใช้เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบจากประชากรหรือ กลุ่มตัวอย่าง โดยใช้การสัมภาษณ์หรือใช้แบบสอบถามชนิด self-administered questionnaire Survey มีความคล้ายคลึงกับ การออกแบบวิจัยเชิงเตรียมทดลอง (preexperimental design) ที่Campbell และ Stanley ให้ความหมายว่าเป็น “one-shot case study” คือ เป็นการเก็บข้อมูลในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง (at one point in time) - ไม่มีการเก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นอยู่ก่อน(no “before” observations are made) รายละเอีย ดของรูป แบบการวิจ ัย เชิง สำา รวจ 3
  • 2. ตามเกณฑ์ของ Denzin ซึ่งได้แบ่งประเภทของ Survey Design โดยใช้เกณฑ์ของ Experimental Design เป็นเกณฑ์ โดย อ้างว่ายุทธวิธีทางระเบียบวิธี (methodological strategy) ของการ สำารวจจะต้องเกี่ยวข้องกับการสุ่มตัวอย่างเป็นอย่างมาก โดยอ้างถึงตัว แบบของการทดลอง (classical experimental model) มี 4 องค์ ประกอบ คือ 1. นักวิจัยควบคุมเงื่อนไขของการกระทำา (control by the investigator over the treatment conditions) 2. การศึกษาซำ้า (repeated observations) 3. การสร้างกลุ่มเปรียบเทียบ (construction of two or more comparison group experimental and control) 4. การใช้กระบวนการสุ่มตัวอย่างเป็นเทคนิคในการกำาหนดกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม (the use of randomization as a technique for assignment of objects to experimental and control groups) ขั้น ตอนการวิจ ัย เชิง สำา รวจ การวิจัยเชิงสำารวจ หรือ การวิจัยโดยการสำารวจ เป็นวิธีการวิจัยที่ ใช้กันแพร่หลายมากที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการวิจัยสาขา สังคมศาสตร์ ปัจจุบันการวิจัยทางสังคมวิทยา รัฐประศาสนศาสตร์ จิตวิทยา การบริหารธุรกิจ สาธารณสุขศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ ในประเทศไทยอาศัยการสำารวจเป็นเครื่องมือที่ สำาคัญในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยทำาการสุ่มตัวอย่างจำานวนหนึ่งมา จากประชากรเป้าหมายที่ต้องการศึกษาแล้วนำาผลที่ได้จากการศึกษา กลุ่มตัวอย่างนี้อ้างอิงหรือประมาณค่าไปยังประชากรทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง ดังนั้น ในการวิจัยเชิงสำารวจจึงมีรายละเอียดปลีกย่อยในขั้นตอนของ การวิจัยแตกต่างจากการวิจัยในแบบอื่นๆ อยู่บ้าง Denzin ได้เสนอขั้นตอนของการวิจัยเชิงสำารวจไว้ 9 ขั้นตอน คือ 1. การกำา หนดรูป แบบของปัญ หาที่จ ะศึก ษาเป็น การกำา หนด ปัญ หาที่จ ะศึก ษา ศึกษาจากใครลักษณะการศึกษาเป็นแบบพรรณนา หรือเป็นการอธิบายและทำานายรวมไปถึงสมมติฐานที่ต้องการจะทดสอบ ด้วย เป็นการกล่าวถึงลักษณะทั่วไปของปัญหา 2. กำา หนดปัญ หาเฉพาะการวิจ ัย แปลความหมายของแนวความคิด ในปัญหาที่จะศึกษาให้เป็นตัวแปรที่สามารถวัดได้และระบุถึงกลุ่ม ตัวอย่างที่จะใช้เป็นหน่วยในการศึกษา 3. การเลือ กรูป แบบของการสำา รวจ เลือ กให้ต รงกับ จุด มุ่ง หมาย ของการวิจ ัย 3
  • 3. 4. สร้า งเครื่อ งมือ ในการวิจ ัย 5. กำา หนดรูป แบบในการวิเ คราะห์ข ้อ มูล เลือกตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม และตัวแปรคุมขึ้นมาพร้อมทั้งระบุมาตราหรือดัชนีของแต่ละ ตัวแปรไว้ให้พร้อม 6. กำา หนดการเข้า ตารางข้อ มูล การจัดเตรียมรูปแบบการวิเคราะห์ ในตอนนี้เป็นการเตรียมลงรหัสให้กับประเด็นปัญหาและข้อคำาถามใน แบบสอบถามเพื่อให้ง่ายต่อการแปลงข้อมูลไปสู่การวิเคราะห์ซึ่งอาจจะ ใช้บัตรคอมพิวเตอร์หรือใช้รูปแบบการวิเคราะห์ตาราง 7. การเตรีย มการสำา หรับ ผู้ส ัม ภาษณ์แ ละผู้ถ ูก สัม ภาษณ์ ก่อนที่ นักวิจัยจะลงไปปฏิบัติงานในสนาม ผู้สัมภาษณ์ซึ่งเป็นนักวิจัยผู้ช่วยจะ ต้องได้รับการฝึกอบรมและชี้แนะถึงที่ตั้งของพื้นที่การวิจัยและมีการ กำาหนดผู้ถูกสัมภาษณ์ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างจากประชากรโดยชี้แนะให้ เห็นถึงถิ่นที่อยู่ของกลุ่มคนเหล่านี้ซึ่งอาจจะใช้แผนที่เป็นเครื่องช่วย อำานวยความสะดวก 8. การวิเ คราะห์ผ ลของข้อ มูล ที่อ อกมาในกระบวนการ วิเ คราะห์ข ้อ มูล นัก วิจ ัย ต้อ งมุ่ง ค้น หาคำา ตอบประเด็น ปัญ หาที่จ ะ เกิด ขึ้น คือ - กลุ่มตัวอย่างที่ได้ศึกษาจริงนั้นมีลักษณะรายละเอียดต่างๆ เหมือน กับกลุ่มตัวอย่างที่ได้มุ่งหวังไว้หรือไม่ ถ้านักวิจัยได้ใช้ตัวแบบ การสุ่มตัวอย่างทางสถิติจะต้องมีการประเมินว่า กลุ่มตัวอย่างที่ได้มามี ความเป็นตัวแทนได้มากน้อยแค่ไหน โดยเปรียบเทียบกับแบบแผนตอน ต้นที่ได้วางไว้และกับลักษณะของประชากรส่วนใหญ่ - อัตราการปฏิเสธ (Refusals rate) ที่จะตอบคำาถามที่เกิดขึ้นจะต้อง นำามาคิดคำานวณด้วยเพราะถือเป็นประเด็นสำาคัญของการวิจัยซึ่งจะต้อง มีการตรวจสอบว่าเกิดจากอคติของกลุ่มตัวอย่าง(sample bias) หรือ ไม่ 9. การทดสอบสมมติฐ าน ในขั้นนี้นักวิจัยจะต้องสร้างรูปแบบการ วิเคราะห์หลายตัวแปรขึ้นมาเพื่อดูลักษณะความแปรผันร่วมระหว่าง ตัวแปร จัดลำาดับก่อนหลัง ความสัมพันธ์ของตัวแปรและเมื่อกระบวนการ วิเคราะห์สิ้นสุดลง นักวิจัยจะต้องกลับไปพิจารณาดูว่าข้อมูลที่ได้เหล่านี้ สามารถอย่างเพียงพอหรือไม่ ที่จะทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้และผลที่ได้ ออกมาสนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานอย่างไรบ้าง Denzin ได้กล่าว ว่า ขั้นตอนเหล่านี้เป็นลักษณะความคิดเพื่อให้ข้อเสนอแนะว่าการวิจัย เชิงสำารวจจะแก้ปัญหา 4 ประการ ที่นักวิจัยทางด้านนี้ต้องเผชิญหน้า อยู่ตลอดเวลา คือ 3
  • 4. 1. การปฏิสัมพันธ์ 2. เวลา 3. ตัวแบบการสุ่มตัวอย่าง 4. หน่วยของการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างการสุ่มตัวอย่างกับการวิจัยเชิงสำารวจเนื่องจาก การสำารวจเป็นการเลือกตัวแทนของประชากรที่เราต้องการศึกษาขึ้นมา จำานวนหนึ่งเพื่อทำาการศึกษาโดยมีเป้าหมายเพื่อนำาเอาลักษณะข้อมูลที่ ได้จากกลุ่มตัวอย่างอ้างอิงไปถึงลักษณะของประชากรที่เป็นหน่วยของ การศึกษาและเนื่องจากจุดเริ่มต้นของการสำารวจเกี่ยวข้องกับข้อตกลง เบื้องต้นเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมาจากประชากรที่ทำาการศึกษา ดังนั้น การคัดเลือกตัวแบบการสุ่มตัวอย่างจึงเป็นสิ่งจำาเป็นที่จะต้องกระทำาก่อน การออกแบบการศึกษาว่าจะศึกษาประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างแบบไหน และด้วยเหตุนี้จึงทำาให้การสำารวจข้อมูลต้องอาศัยทฤษฏีทาง คณิตศาสตร์สถิติ เกี่ยวกับความน่าจะเป็นและการแจกแจงของตัวแปร สุ่มประกอบในการวางแผนการสำารวจและการประมาณผล การเก็บ รวบรวมข้อ มูล การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มีเทคนิคแตกต่างกัน ซึ่งมี 2 วิธี คือ 1. การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Data) 2. การรวบรวมข้อมูลจากสนาม (Field Data) ในการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร เป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีความ สำาคัญเป็นอันดับแรกของการวิจัย โดยเฉพาะการใช้เอกสารและสิ่งพิมพ์ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาการวิจัยนั้น ย่อมทำาให้ได้รับประโยชน์อย่างน้อยถึง 3 ประการ ประการแรก ผู้วิจัยย่อมมองเห็นภาพของปัญหาที่จะวิจัยได้ ชัดเจนยิ่งขึ้น หลังจากที่ได้อ่านเอกสารและสิ่งพิมพ์ที่มีประเด็นสัมพันธ์ กับปัญหาที่จะวิจัยอย่างถี่ถ้วน ประการที่สองผู้วิจัยจะได้ทราบว่าปัญหา ที่จะวิจัยนั้น ได้มีผหนึ่งผู้ใดทำาไวก่อนแล้วหรือยัง หรือมีผู้ใดได้วิจัย ู้ ประเด็นบางส่วนของปัญหาที่จะวิจัยไว้บ้างแล้วหรือเปล่า และประการ สุดท้าย ผู้วิจัยจะได้มีความเข้าใจอย่างกว้างขวางที่จะเลือกใช้วิธีวิจัยที่ เหมาะสมและตั้งแนววิเคราะห์ที่ถูกต้อง เพื่อการวิจัยปัญหาของตนส่วน การรวบรวมข้อมูลสนามนั้น ในการวิจัยถือว่าข้อมูลสนาม (Field Data) เป็นข้อมูลที่มีคุณค่ามากและเป็นข้อมูลปฐมภูมิ เพราะผู้วิจัยจะ ต้องใช้วิธีการรวบรวมจากแหล่งต้นตอของข้อมูล และยังอาจจะมีโอกาส ได้พบปะซักถามข้อเท็จจริงจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรงอีกด้วย การรวบรวม ข้อมูลสนามที่สำาคัญและใช้กันทั่วไปมี 3 วิธี คือ การสังเกต (Observation) การส่งแบบสอบถาม (Questionnaire) และการ สัมภาษณ์(Interview) 3
  • 5. ในการวิจัยเชิงสำารวจ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วมีความสัมพันธ์กับข้อมูลสนาม (field data) มากที่สุดนั้น มีวิธีการเก็บข้อมูลที่นิยมใช้กันอยู่ 4 วิธี คือ 1. ใช้แบบสอบถาม ที่ผู้สัมภาษณ์ดำาเนินการสอบถามเอง 2. การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ 3. การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ 4. แบบสอบถามที่ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ตอบเอง จากวิธีการทั้ง 4 ข้างต้นนี้ เมื่อจำาแนกตามลักษณะความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้เก็บข้อมูลและผู้ให้ข้อมูลสามารถแยกออกได้เป็น 2 วิธีใหญ่ ๆ คือ 1. สัม ภาษณ์จ ากบุค คลโดยตรง โดยผู้วิจัยหรือพนักงานสัมภาษณ์ อ่านปัญหาจากแบบสอบถามที่ ได้จัดเตรียมไว้แล้วให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ฟังบางครั้งอาจจะใช้วิธีการ สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์แต่ก็มีข้อจำากัดมาก คือ ไม่สามารถสอบถามข้อมูลได้มาก โดยทั่วๆ ไป ไม่ควรเกิน 20 นาที 2. ส่ง แบบสอบถามไปให้ผ ู้ถ ูก วิจ ัย ตอบ ซึ่งถือว่าเป็นการประหยัด มาก แต่มีข้อจำากัดตรงที่ไม่ สามารถใช้กับกลุ่มบุคคลบางประเภทได้ เช่น คนที่มีการศึกษาในระดับ ตำ่า หรือไม่มีการศึกษา ซึ่งแม้ว่า สามารถจะอ่านแบบสอบถามได้ ก็อาจจะทำาให้มีการตีความผิดพลาดได้ การใช้แ บบสอบถาม แบบสอบถาม หมายถึง คำาถามหรือชุดของคำาถามที่เราคิดขึ้น เพื่อเตรียมไว้ไปถามผู้ที่ทราบข้อมูลตามที่เราต้องการทราบ อาจจะถาม เอง ให้คนอื่นไปถาม หรือส่งแบบสอบถามไปให้กรอกตามแบบฟอร์ม คำาถามที่กำาหนดให้ แล้วนำาคำาตอบที่ได้มาวิเคราะห์แปลความหมายต่อ ไปแบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ รวบรวมข้อมูลซึ่งตามปกติใช้กันมากในการวิจัยภาคสนาม เช่น การ สำารวจหรือสำามะโน และการวิจัยอย่างอื่นๆ ที่ผู้วิจัยจะต้องเข้าไป เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือสิ่งแวดล้อมที่จะทำาการวิจัย แบบสอบถามนับว่า เป็นเครื่องมือที่มีความสำาคัญอย่างยิ่ง ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เพราะใช้บันทึกข่าวสาร ความรู้สึกนึกคิดและทัศนคติ (attitude) ของ ประชากรโดยตรง ข้อ ดีข องแบบสอบถาม 1. ค่าลงทุนน้อยกว่า เมื่อเทียบกับการสัมภาษณ์ เพราะแบบสอบถาม ลงทุนด้วยค่าพิมพ์และส่งไปยังผู้รับ ส่วนการสัมภาษณ์ต้อง ออกไปสัมภาษณ์ทีละคน ย่อมเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากกว่า 2. การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ จะไปถึงผู้รับแน่นอนกว่า การออก ไปสัมภาษณ์ซึ่งผู้ตอบอาจไม่อยู่บ้าน ไม่ว่าง หรือไม่ยินดีพบผู้สัมภาษณ์ 3
  • 6. 3. การส่งแบบสอบถามไปให้คนจำานวนมาก ย่อมสะดวกกว่าการ สัมภาษณ์มากนัก 4. แบบสอบถามจะไปถึงมือผู้รับได้ทุกแห่งในโลกที่มีการไปรษณีย์ 5. แบบสอบถามที่ดี ผู้ตอบจะตอบอย่างสะดวกใจมากกว่าการสัมภาษณ์ 6. ถ้าสร้างแบบสอบถามให้ดีแล้ว การวิเคราะห์ข้อมูลทำาได้ง่ายกว่าการ สัมภาษณ์ 7. สามารถควบคุมให้แบบสอบถามถึงมือผู้รับได้ในเวลาไล่เลี่ยกัน จึง ทำาให้การตอบ (ถ้าตอบทันที) ได้แสดงถึงความคิดเห็นของสภาวการณ์ ในเวลาที่ใกล้เคียงกันได้ เป็นการควบคุมการตอบได้แบบหนึ่ง 8. ผูตอบต้องตอบข้อความที่เหมือนกัน และแบบฟอร์มเดียวกัน เป็นการ ้ ควบคุมสภาวะที่คล้ายกัน ทำาให้สรุปผลได้ดีกว่าการสัมภาษณ์ ข้อ เสีย ของแบบสอบถาม 1. มักจะได้แบบสอบถามกลับคืนจำานวนน้อย 2. ความเที่ยง (reliability) และความตรง (validity) ของ แบบสอบถามได้รับการตรวจสอบลำาบากจึงมักจะไม่นิยมหา 3. โดยปกติแบบสอบถามควรมีขนาดสั้นกะทัดรัด ดังนั้นจึงมีข้อคำาถาม ได้จำานวนจำากัด 4. คนบางคนมีความลำาเอียงต่อการตอบแบบสอบถาม เนื่องจากได้รับ บ่อยเหลือเกิน หรือมีประสบการณ์เกี่ยวกับแบบสอบถามที่ไม่ดีมาก่อนจึง ทำาให้ไม่อยากตอบ 5. เป็นการเก็บข้อมูลที่ไม่ต้องใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวเหมือนกับการ สัมภาษณ์ซึ่งผู้ถามและผู้ตอบมีปฏิกิริยาโต้ตอบกัน แบบสอบถามให้ ปฏิกิริยาโต้ตอบทางเดียว 6. แบบสอบถามใช้ได้เฉพาะบุคคลที่อ่านหนังสืออกเท่านั้น 7. แบบสอบถามที่ได้รับคืนมานั้น ผู้วิเคราะห์ไม่สามารถทราบได้ว่าใคร เป็นผู้ตอบแบบสอบถามนั้น 8. ผูตอบบางคนไม่เห็นความสำาคัญก็อาจโยนแบบสอบถามทิ้ง โดยไม่ ้ พิจารณาให้รอบคอบ ข้อ พิจ ารณาในการเขีย นแบบสอบถาม ในการเขียนแบบสอบถามมีองค์ประกอบที่จะต้องพิจารณา 4 ประเด็น คือ 1. ชนิดของคำาถาม 2. รูปแบบของคำาถาม 3. เนื้อหาของคำาถาม 4. การจัดลำาดับของคำาถาม คำาถามในแบบสอบถามในลักษณะทั่วไป ส่วนใหญ่อาจแบ่งออกได้ เป็น 2 อย่าง คือ คำาถามปิดกับคำาถามเปิด (Open and closed end 3
  • 7. question) คำาถามปิด คือ คำาถามที่ผู้ร่างได้ร่างคำาถามไว้ก่อนแล้วและ ให้ตอบตามที่กำาหนดไว้เป็นส่วนใหญ่เท่านั้น โดยให้โอกาสผู้ตอบมี โอกาสมีอิสระเลือกตอบได้น้อยส่วนคำาถามเปิด คือ คำาถามที่เปิดโอกาส ให้ผู้ตอบๆ ได้อย่างอิสรเสรีเต็มที่ คำาถามทั้งสองชนิดใช้ควบคู่กันไป ส่วนใหญ่ใช้คำาถามปิดก่อนแล้วตามเก็บประเด็นความรูสึกด้วยคำาถาม เปิด ไว้ท้ายข้อของคำาถามปิด หรือของท้ายเรื่อง ข้อ ดีข องแบบสอบถาม คือ 1. ผู้วิจัยต้องการทราบ ความคิดเห็นของผู้ตอบอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะ เรื่องที่ซับซ้อน ไม่สามารถร่างคำาถามให้ตอบเป็นข้อย่อยๆ ได้ 2. ช่วยผู้วิจัย เมื่อความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ของผู้วิจัยมีจำากัด 3. ยังมีข้อความอะไรที่เหลือตกค้าง ยังไม่ได้ตอบ ผูตอบจะได้ตอบมา ้ ได้ ไม่ตกค้างหรือไม่ได้รับการบรรจุอยู่ในบบสอบถาม 4. ช่วยให้ได้คำาตอบในรายละเอียด ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับความรู้สึก ความจูงใจที่ซ่อนอยู่ 5. ถ้าคำาถามกำาหนดไว้ตายตัวมาก ผูตอบไม่มีโอกาสได้แสดงความ ้ คิดเห็นตัวเองเพิ่มเติม จะได้เพิ่มเติมตามที่ต้องการ ทำาให้ได้ข้อเท็จจริง เพิ่มขึ้น ข้อ เสีย ของคำา ถามเปิด 1. การเปิดโอกาสให้ผู้ตอบ ตอบได้โดยเสรี อาจทำาให้ได้คำาตอบไม่ตรง กับความต้องการ ของเรื่องที่ต้องการวิจัยได้ หรือมีส่วนตรงจุดหมาย น้อย เพราะผู้ตอบไม่เข้าใจเรื่องหรือตอบนอกเรื่องที่ต้องการจะวิจัย 2. อาจจะทำาให้ได้คำาตอบออกนอกลู่นอกทาง ซึ่งอาจไม่เกี่ยวกับเนื้อหา เลย 3. ลำาบากในการรวบรวมและวิเคราะห์ เพราะจะต้องนำามาลงรหัสแยก ประเภทซึ่งทำาให้ลำาบากมากและเสียเวลา เพราะแต่ละคนตอบตามความ รู้สึกนึกคิดของตนเอง ไม่มีกรอบหรือขอบเขตที่กำาหนดให้ 4. ผู้ลงรหัสจะต้องมีความชำานาญ จะต้องมีการอบรมมาก่อน มิฉะนั้น อาจจะจับกลุ่มของคำาตอบไม่ถูก จะทำาให้ความหมายเปลี่ยนแปลง หรือ เปลี่ยนคุณค่า หรืออาจทำาให้เปลี่ยนความมุ่งหมายไป ข้อ ดีข องคำา ถามปิด 1. โดยที่ได้กำาหนดคำาถามไว้แบบเดียวกัน เป็นมาตรฐาน จึงทำาให้ได้ คำาตอบที่มีลักษณะเป็นมาตรฐานเดียวกัน 2. สะดวกหรือง่ายต่อการปฏิบัติในการรวบรวมเก็บข้อมูล 3. รวดเร็ว ประหยัด 4. สะดวกในการวิเคราะห์ ลงรหัส และใช้กับเครื่องจักรกลในการ คำานวณ 3
  • 8. 5. ทำาให้ได้รายละเอียดไม่หลงลืม 6. ได้คำาตอบตรงกับวัตถุประสงค์ 7. ใช้ได้ดีกับคำาถามที่ไม่ซับซ้อน หรือที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ข้อ เสีย ของคำา ถามปิด 1. ผูตอบไม่มีโอกาสได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ ้ 2. อาจจะทำาให้การวิจัยไม่ได้ข้อเท็จจริงครบเพราะผู้วิจัยตั้งคำาถามไว้ ครอบคลุมไม่หมด 3. ถ้าคำาถามไม่ชัด ผูตอบอาจตีความหมายต่างกัน และคำาตอบผิด ้ พลาดได้ การสัม ภาษณ์ การสัม ภาษณ์ (Interview) เป็นวิธีการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่งของ นักสังคมศาสตร์เป็นการสนทนาระหว่างนักวิจัยกับผู้ให้ข้อมูล (information) เพื่อวัตถุประสงค์ของการเก็บข้อมูลวิธีการสัมภาษณ์ที่ นำามาใช้กันมากที่สุด ในการวิจัยเชิงสำารวจ คือ รูปแบบการสัมภาษณ์ หรือตารางการสัมภาษณ์ (Interview schedule) ซึ่งเป็นการสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้างโดยใช้รูปแบบของ แบบสอบถาม(Questionnaire) ที่นักวิจัยได้กำาหนดหัวข้อปัญหาไว้ เรียบร้อยแล้ว นักวิจัยหรือพนักงานสัมภาษณ์ ถามนำาในปัญหา แล้ว บันทึกคำาตอบที่ผู้ถูกสัมภาษณ์ตอบออกมา ลงในตารางการสัมภาษณ์ การวางแผนวิธ ีก ารสำา รวจ การวางแผนการสำารวจแบบย้อนกลับเป็นการวางแผนที่ท้าทายนัก วิจัยมากกว่าในความเป็นจริงการวางแผนควรจะเริ่มจากผลสุดท้ายที่ ต้องการแล้วย้อนไปจนถึงจุดตั้งต้นทำาให้ทราบว่าต้องการข้อมูลอะไร บ้างและจะนำาไปใช้อะไรได้บ้าง การวางแผนสามารถโยงไปถึงการ วิเคราะห์และตารางวิเคราะห์ที่ตรงตามความต้องการ ชนิดของตัวแปร กลุ่มตัวอย่าง รวมทั้งการให้รหัสแก่ตัวแปรแต่ละตัว กลุ่มตัวอย่างที่ ครอบคลุมประชากรที่เกี่ยวข้องและรวมถึงพนักงานสัมภาษณ์และผู้ นิเทศงานสนามความสำาคัญและขั้นตอนหลักของการวางแผน 2 ประเภทในวิธีการสำารวจสุ่มตัวอย่าง คือ 1. การวางแผนด้า นวิช าการ ได้แก่ ขอบเขตของการสำารวจ เลือก แบบแผนการสำารวจรวมถึงเนื้อหาของ การศึกษาทั้งหมด 2. การวางแผนขั้น ตอนการปฏิบ ัต ิ เพื่อ ให้ง านสำา รวจบรรลุเ ป้า หมายที่ต ้อ งการ การเตรียมการวางแผน ขอบเขต แบบแผน และเนื้อหาของการศึกษา 3
  • 9. 1. ให้จดประสงค์ที่จัดเจนของการศึกษา จุดสำาคัญอย่างที่ควรพิจารณา ุ ในขณะเริ่มการศึกษาด้วย การสำารวจสุ่มตัวอย่าง 1.1 ปัญหาเบื้องต้นของการศึกษา ขั้นตอนในการวางแผนเพื่อการ ศึกษาจำาเป็นต้องเริ่มด้วยการระบุปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาอย่าง ชัดเจน บ่อยครั้งทีเดียวที่ปัญหาซึ่งเป็นสิ่งที่กระตุ้นให้ทำาการศึกษาได้ถูก ดัดแปลงไปหรือมีคำาถามอื่นที่เข้ามาเพิ่ม ด้วยเหตุนี้เรื่องเวลาในการทำา วิจัยจึงเข้ามามีส่วนในการวางแผนการศึกษา 1.2 ลักษณะทั่วไปของข้อมูลที่ต้องการ 1.3 คำาถามเฉพาะบางอย่างซึ่งจะตอบโต้โดยวิธีการสำารวจสุ่มตัวอย่าง เท่านั้นทั้งสามประการนี้เป็นขั้นตอนหลักของการกำาหนดวัตถุประสงค์ ของการสำารวจสุ่มตัวอย่างและจะต้องพิจารณาไปพร้อม ๆ กัน 2. การตีความหมายแนวความคิดหรือคำาต่างๆเมื่อกำาหนดจุดมุ่งหมาย ทั่วไปและจุดมุ่งหมายเฉพาะของการสำารวจแล้วผู้ศึกษาจะพบว่ายังมีคำา ต่างๆ ที่จะต้องกำาหนดความหมายคำานิยามอีกมาก คำาเหล่านี้มักจะเป็นที่ เข้าใจในความหมายทั่วๆ ไป แต่มักจะไม่ชัดเจนและไม่มีรายละเอียดพอ สำาหรับการวิจัย ในบางคำาเป็นคำาที่ใช้อยู่เสมอ เช่น เพศ อายุ ระดับการ ศึกษา แต่ในทุกการสำารวจจะต้องให้นิยามของคำาเหล่านี้ไว้ด้วย 3. คำานิยามที่ใช้ในการปฏิบัติงานจริง มีความหมายในการเก็บข้อมูล และวัดได้ เช่น นิยามของคำาว่าว่างงาน 4. การเลือกหัวข้อทีต้องการเก็บข้อมูล เพื่อให้ได้แนวทางว่าข้อมูลใด ่ บ้างที่ควรเก็บรวบรวมมา 5. การเตรียมแผนแบบของการสำารวจ เมื่อมีวัตถุประสงค์ของการศึกษา ที่ชัดเจนและมีเหตุผลสมควรและ ได้กำาหนดแบบของข้อมูล ที่ต้องการ ผู้วิจัยต้องมุ่งความสนใจไปยังแผนแบบของการศึกษาแผน แบบของการศึกษาที่ดีจะได้มาจากวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนของการศึกษา หรือเป็นการประนีประนอมของวัตถุประสงค์ทั้งหมดกับข้อกำาหนดต่าง ๆ เช่น เวลา ค่าใช้จ่าย แบบแผนการสำา รวจ วัต ถุป ระสงค์ข องการวิจ ัย แผนแบบที่ใช้ในการสำารวจในแต่ละ วัตถุประสงค์อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลที่ ต้องการจากการสำารวจนั้นๆ 1. การค้นคว้าสำารวจ (Exporation) 2. การศึกษาแบบพรรณา (Description) จุดมุ่งหมายของการศึกษา แบบนี้ก็เพื่อให้ได้ผลการวัดที่เป็นบรรทัดฐานของปรากฏการณ์ที่ ต้องการ เช่น ความนิยมต่อพรรคการเมือง การสำารวจค้นหากับการ ศึกษาแบบพรรณนาจะเหมือนกันมากในทางปฏิบัติ แตกต่างกันที่ความ 3
  • 10. ตั้งใจและการนำาข้อมูลที่ได้มาใช้ การวิจัยพรรณนาโดยสรุปจะสามารถ นำาไปสู่การวิจัยเพื่อวัตถุประสงค์อื่นได้ 3. การวิจัยเพื่อค้นหาสาเหตุ (Causal Explanation) 4. การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis testing) เป็นจุดมุ่งหมายที่ใช้ มากเพื่ออธิบายสาเหตุดังกล่าว สมมติฐานคือสิ่งที่ต้องพิสูจน์ได้ด้วย ข้อมูลที่รวบรวมมาได้ สมมติฐานส่วนมากจะตั้งใจในลักษณะของตัวแปร สองตัวหรือมากกว่าที่จะเป็นเหตุเป็นผลแก่กัน ข้อความของสมมติฐานจะ มีคุณค่ามากในการวางแผนการวิจัยและการร่างแผนแบบของการ สำารวจ ข้อดีคือจะเป็นกรอบบังคับให้นักวิจัยเข้าใจชัดเจนขึ้นถึงสิ่งที่ ต้องการจะศึกษา 5. การประเมินผล (Evaluation) การสำารวจสุ่มตัวอย่างได้ถูกนำามาใช้ มากขึ้นหรือนำาไปใช้ร่วมกับวิธีอื่นๆ ในการประเมินผลโครงการต่างๆ 6. การคาดการณ์หรือพยากรณ์เหตุการณ์ (Prediction) วัตถุประสงค์ ทั่วไปของการวิจัยสำารวจแบบนี้ก็คือ การหาข้อมูล เบื้องต้นเพื่อคาดการณ์เกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต วิธีคาดการณ์ที่ใช้ มากอีกวิธีคือ การสำารวจข้อมูลปัจจุบันแล้วพยากรณ์ข้อมูลเหล่านั้น สำาหรับปีต่อๆ ไป ************** ตัว อย่า ง งานวิจัยเชิงสำารวจ เรื่อ ง การสำารวจทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการสวมใส่กางเกงเอว ตำ่าของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผู้วิจัย สมหญิง ไวยศิลา ความเป็นมาหรือความสำาคัญของปัญหา ในปัจจุบันนี้แฟชั่นการแต่งตัวเป็นที่นิยมของประชาชนและวัยรุ่น ทั่วไปโดยไม่คำานึงถึงวัฒนธรรม ประเพณีของไทยมุ่งเน้นแต่ค่านิยมที่ผิด ๆ แต่งตัวตามแฟชั่นไม่ดูฐานะ ของตัวเองขอให้สวยก่อนเป็นพอ และมักแต่งตัวตามแฟชั่นของต่าง ประเทศทำาให้เกิดปัญหาขึ้นหลายอย่างตามมา เช่น จะทำาให้เกิด ปัญหาข่มขืนขึ้นเยอะมากในสังคมไทยเพราะในการแต่งตัวในสมัยนี้มัก แต่งตัวโป้ล้อตาผู้ชาย และประชาชนทั่วไปชอบแต่งตัวล่อแหลมเกินไป หรือการสวมใส่กางเกงเอวตำ่าก็ล่อแหลมแล้วยังทำาให้เป็นโรคตามมา ด้วย 3
  • 11. ปัจจุบันในต่างประเทศเขาต้องออกกฎหมายห้ามสวมใส่กางเกง เอวตำ่าเพราะว่าการใส่กางเกงเองตำ่านั้นมองดูแล้วมันไม่ได้เท่ห์หรือ สวยงามที่เราคิดเลยสักนิดเดียวมีแต่ทำาให้คนอื่นมองเราในแง่ที่ไม่มดี ตามไปด้วย ผิดกับในสมัยก่อนใส่สั้นก็ไม่ได้พ่อแม่ด่าว่าให้ แถมด่าใน ที่เสียๆหายๆอีกต่างหาก ฉะนั้นการศึกษาทัศนคติของประชาชนเกี่ยวกับการสวมใส่ กางเกงเอวตำ่าสามารถนำาข้อมูลไปปรับใช้เป็นแนวทางแก้ปัญหาเกี่ยวกับ การสวมใส่กางเกงเอวตำ่าเพื่อสร้างจิตสำานึกให้กับผู้สวมใส่กางเกงเอวตำ่า เพื่อความปลอดภัยกับตัวของประชาชนเองและไม่เป็นปัญหาให้กับสังคม อีกต่อไป วัต ถุป ระสงค์ 1. เพื่อศึกษาทัศนคติความต้องการของนักศึกษาเกี่ยวกับการใส่กางเกง เอวตำ่า 2. เพื่อศึกษาทัศนคติความเชื่อของนักศึกษาเกี่ยวกับการใส่กางเกงเอว ตำ่า 3. เพื่อศึกษาทัศนคติการยอมรับของสังคมของนักศึกษาเกี่ยวกับการใส่ กางเกงเอวตำ่า 4. เพื่อศึกษาทัศนคติความนิยมของนักศึกษาเกี่ยวกับการใส่กางเกงเอว ตำ่า สมมติฐ านการวิจ ัย 1. เพศ อายุ ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีอิทธิพลต่อการสวมใส่ กางเกงเอวตำ่าแตกต่างกัน 2. อาชีพและรายได้มีผลกระทบต่อการเลือกสวมใส่กางเกงเอวตำ่า แตกต่างกัน 3. ความนิยมและความต้องการมีผลกระทบต่อการสวมใส่กางเกงเอว ตำ่าแตกต่างกัน 4. ราคาและความหลากหลายในการให้บริการในการสวมใส่กางเกง เอวตำ่าแตกต่างกัน ระเบีย บวิธ ีก ารวิจ ัย - วิจัยเชิงสำารวจ ประชากร/กลุ่ม ตัว อย่า ง 3
  • 12. ประชากร นักศึกษาที่กำาลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ กลุ่มตัวอย่าง โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นตัวแทนของนักศึกษาทั้งหมด ในขอบเขตการวิจัยจำานวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 แบบสอบถามที่เกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา คณะที่ศึกษาอยู่ รายได้ส่วนบุคคลต่อเดือน และ สถานภาพ ซึ่งแบบสอบถามเป็นลักษณะเลือกตอบจำานวน 6 ข้อ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติของผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งแบบสอบถามเป็นลักษณะเลือกตอบ จำานวน 7 ข้อ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นในด้านต่าง ๆ เกี่ยว กับการสวมใส่กางเกงเอวตำ่าซึ่งแบบสอบถามเป็นลักษณะมาตราส่วน ประเมินค่า จำานวน 7 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน บรรณานุก รม บุญเรียง ขจรศิลป์. วิธ ีก ารวิจ ัย ทางการศึก ษา . (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : หจก.พีเ.อ็น.การพิมพ์,2543. 3
  • 13. มานพ จิตต์ภูษา. การวิจ ัย เชิง สำา รวจเบื้อ งต้น . มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์,2525. เยาวรัตน์ ปรปักขามและคณะ. วิธ ีว ิจ ัย สำา รวจ . กรุงเทพฯ : ห้างหุ้น ส่วนจำากัดพิทักษ์,2523. สมหญิง ไวยศิลา. การสำา รวจทัศ นคติข องนัก ศึก ษาเกี่ย วกับ การ สวมใส่ก างเกงเอวตำ่า ของนัก ศึก ษา มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ . ภาคนิพ นธ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์,2548. 3