SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
เอกสารเตรียมความพร้อม
   การทดสอบวัดความรู้ขั้นพื้นฐานระดับชาติ
   (Ordinary – National Educational Test: O-NET)
              สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

            วิชาคณิงตศาสตร์
                 เรื่อ สถิติ

ชื่อ–สกุล                                    ชั้น ม.6/    เลขที่




รวบรวมและเรียบเรียงโดย
                     นายนฤพนธ์ สายเสมา กศ.บ. (คณิตศาสตร์)
ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนโคกยางวิทยา อาเภอปราสาท
                สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 (สุรินทร์)
         สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์      ~2~         ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                              เรื่อง สถิติ

     สรุปเนื้อหาสาระสาคัญ เรือง สถิติ (สถิติ/ค่ากลาง)
                             ่
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์                  ~3~                         ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                          เรื่อง สถิติ
1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ (O-NET: ปี กศ.51/52)
  1.   สถิติเชิงพรรณนาคือสถิติของการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้นที่มุ่งอธิบายลักษณะกว้างๆ ของข้อมูล
  2.   ข้อมูลที่เป็นหมายเลขทีใช้เรียกสายรถโดยสารประจาทางเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ
                             ่
  3.   ข้อมูลปฐมภูมิคอข้อมูลที่ผู้ใช้เก็บรวบรวมจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
                        ื
  4.   ข้อมูลที่นักเรียนรวบรวมจากรายงานต่างๆ ที่ได้จากหน่วยงานราชการเป็นข้อมูลปฐมภูมิ
2. ในกรณีที่มีข้อมูลจานวนมาก การนาเสนอข้อมูลในรูปแบบใดต่อไปนี้ทาให้เห็นกระจายของ
   ข้อมูลได้ชัดเจนน้อยทีสุด (O-NET: ปี กศ.51/52)
                        ่
   1. ตารางแจกแจงความถี่                    2. แผนภาพต้น – ใบ
   3. ฮิสโทแกรม                             4. การแสดงค่าสังเกตทุกค่า
3. ข้อต่อไปนี้มีผลกระทบต่อความถูกต้องของการตัดสินใจโดยใช้สถิติ ยกเว้นข้อใด (O-NET:
   ปี กศ.51/52)
   1. ข้อมูล          2. สารสนเทศ           3. ข่าวสาร              4. ความเชื่อ
4. ครูสอนวิทยาศาสตร์มอบหมายให้นักเรียน 40 คน ทาโครงงานตามความสนใจ หลังจาก
   ตรวจรายงานโครงงานของทุกคนแล้ว ผลสรุปเป็นดังนี้
ผลการประเมิน จานวนโครงงาน
    ดีเยี่ยม                3
       ดี                  20
     พอใช้                 12
   ต้องแก้ไข                5
   ข้อมูลที่เก็บรวบรวม เพื่อให้ได้ผลสรุปข้างต้นเป็นข้อมูลชนิดใด (O-NET ปี กศ.52/53)
   1. ข้อมูลปฐมภูมิ เชิงปริมาณ              2. ข้อมูลทุติยภูมิ เชิงปริมาณ
   3. ข้อมูลปฐมภูมิ เชิงคุณภาพ              4. ข้อมูลทุติยภูมิ เชิงคุณภาพ
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์               ~4~                        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                       เรื่อง สถิติ
5. ในการใช้สถิติเพื่อการตัดสินใจและวางแผน สาหรับเรื่องที่จาเป็นต้องมีการใช้ข้อมูลและ
   สารสนเทศ ถ้าขาดข้อมูลและสารสนเทศดังกล่าว ผู้ตัดสินใจควรทาขั้นตอนใดก่อน (O-
   NET ปี กศ.52/53)
   1. เก็บรวบรวมข้อมูล                         2. เลือกวิธีวิเคราะห์ข้อมูล
   3. เลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล                4. กาหนดข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้
6. จานวนผู้ว่างงานทั่วประเทศในเดือนกันยายน ปี พ.ศ.2551 มีจานวนทั้งสิ้น 4.29 แสนคน
   ตารางเปรียบเทียบอัตราการว่างงานในเดือนกันยายน ปี พ.ศ.2550 กับปี พ.ศ.2551 เป็นดังนี้
                                               อัตราการว่างงานในเดือนกันยายน
             พื้นที่สารวจ               (จานวนผู้ว่างงานต่อจานวนผู้อยู่ในกาลังแรงงานคูณ 100)
                                            ปี พ.ศ.2550                   ปี พ.ศ.2551
   ภาคใต้                                        1.0                           1.0
   ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ                         0.9                           1.3
   ภาคเหนือ                                      1.5                           1.2
   ภาคกลาง (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร)                 1.3                           0.9
   กรุงเทพมหานคร                                 1.2                           1.2
   ทั่วประเทศ                                    1.2                           1.1
   พิจารณาข้อความต่อไปนี้
   ก. จานวนผู้ว่างงานในภาคใต้ในเดือนกันยายนของปี พ.ศ.2550 และของปี พ.ศ.2551 เท่ากัน
   ข. จานวนผู้อยู่ในกาลังแรงงานทั่วประเทศในเดือนกันยายน ปี พ.ศ.2551 มีประมาณ 39 ล้านคน
   ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET ปี กศ.52/53)
   1. ข้อ ก และข้อ ข 2. ข้อ ก เท่านั้น
   3. ข้อ ข เท่านั้น      4. ผิดทั้งข้อ ก และข้อ ข
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์            ~5~                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                     เรื่อง สถิติ
7. ข้อมูลชุดหนึ่ง มีบางส่วนถูกนาเสนอในตารางต่อไปนี้
 อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม ความถี่สัมพัทธ์
     2–6
    7 – 11                     11           0.2
    12 – 16                    14
    17 – 21         6                       0.3
    ช่วงคะแนนใดเป็นช่วงคะแนนที่มีความถี่สูงสุด (O-NET ปี กศ.52/53)
    1. 2 – 6          2. 7 – 11          3. 12 – 16           4. 17 – 21




8. ในการสารวจอายุของคนในหมู่บ้านแห่งหนึ่งเป็นดังนี้
อายุ (ปี) ความถี่ (คน) ความถี่สัมพัทธ์
 0 – 10       10
11 – 20       25
21 – 30       35
31 – 40                        x
41 – 50       40
51 – 60       20             0.10
61 – 70       15
71 – 80        3
81 – 90        2
ค่า x ในตารางแจกแจงความพี่สัมพัทธ์เท่ากับเท่าใด (O-NET ปี กศ.53/54)
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์              ~6~                        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                      เรื่อง สถิติ
9. การเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูลควรพิจารณาสิ่งต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด (O-NET: ปี กศ.51/52)
   1. ลักษณะของข้อมูล                     2. วิธีจัดเรียงข้อมูล
   3. จุดประสงค์ของการนาไปใช้             4. ข้อดีและข้อเสียของค่ากลางแต่ละชนิด
10. สาหรับข้อมูลเชิงปริมาณใดๆ ที่มีค่าสถิติต่อไปนี้ ค่าสถิติจะตรงกับค่าของข้อมูลค่าหนึ่ง
   เสมอ (O-NET ปี กศ.52/53)
   1. พิสัย             2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 3. มัธยฐาน           4. ฐานนิยม
11. ข้อมูลต่อไปนี้แสดงน้าหนักในหน่วยกิโลกรัม ของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง
            41, 88, 46, 42, 43, 49, 44, 45, 43, 95, 47, 48
   ค่ากลางในข้อใดเป็นค่าที่เหมาะสมที่จะเป็นตัวแทนของข้อมูลชุดนี้ (O-NET ปี กศ.52/53)
   1. มัธยฐาน                             2. ฐานนิยม
   3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต                    4. ค่าเฉลี่ยของค่าสูงสุดและค่าต่าสุด


12. ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 10, 12, 15, 13 และ 10 ข้อความในข้อใดต่อไปนี้เป็น
   เท็จ สาหรับข้อมูลชุดนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49)
   1. มัธยฐาน เท่ากับ 12                  2. ฐานนิยม เท่ากับ 12
   3. ฐานนิยาม น้อยกว่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เท่ากับ 12
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์             ~7~                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                     เรื่อง สถิติ
13. ถ้าข้อมูล 5 จานวน ซึ่งเรียงจากน้อยไปหามาก คือ x1, x2, x3, x4, x5 โดยมี x1 = 7
            ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ x และ ความแปรปรวนเท่ากับ 16
   ถ้ากาหนดตารางแสดงค่าของ xi – x ดังนี้
     i        xi – x
     1        7– x
     2           -3
     1           -1
     4            3
     5            6
   แล้ว ค่าของ x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49)
   1. 10                 2. 10.5          3. 12              4. 12.5


14. ผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนายคณิต ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เป็นดังนี้
รหัสวิชา      ค41101 ค41201 ค41102 ค41202
จานวนหน่วยกิต    1      1.5      1         1.5
เกรด            2.5      3      3.5         2


   เกรดเฉลี่ยของวิชาคณิตศาสตร์ของนายคณิตในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(O-NET: ปี กศ.49/50)
   1. 2.60             2. 2.65       3. 2.70              4. 2.75
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์              ~8~                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                      เรื่อง สถิติ
15. ความสัมพันธ์ระหว่างกาไร (y) และราคาทุน (x) ของสินค้าในร้านแห่งหนึ่งเป็นไปตาม
   สมการ y = 2x – 30 ถ้าราคาทุนของสินค้า 5 ชนิด คือ 31, 34, 35, 36 และ 39 บาท
   แล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของกาไรในการขายสินค้า 5 ชนิดนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี
   กศ.49/50)
   1. 25 บาท            2. 30 บาท      3. 35 บาท              4. 40 บาท




16. ตารางแจกแจกความถี่ แสดงจานวนนักเรียนในช่วงอายุต่างๆ ของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง
    เป็นดังนี้
 ช่วงอายุ (ปี) ความถี่ (คน)
     1–5                4
    6 – 10              9
   11 – 15              2
   16 – 20              5
    อายุเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50)
    1. 9 ปี               2. 9.5 ปี           3. 10 ปี             4. 10.5 ปี
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์               ~9~                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                       เรื่อง สถิติ
17. ในการสารวจน้าหนักตัวของนักเรียนในชั้นเรียนที่มีนักเรียน 30 คน เป็นดังนี้
 น้าหนัก (กก.) ความถี่สะสม (คน)
    30 – 49              10
    50 – 69              26
    70 – 89              30
   ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนักตัวของนักเรียนในชั้นเรียนนี้เท่ากับกี่กิโลกรัม (O-NET ปี กศ.
   53/54)




18. กาหนดให้ข้อมูลชุดหนึ่ง คือ 10, 3, x, 6, 6 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้มีค่า
   เท่ากับมัธยฐานแล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50)
   1. 3                 2. 4               3. 5                  4. 6
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์           ~ 10 ~                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                    เรื่อง สถิติ
19.ในการทดสอบความถนัดของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง มีตารางแจกแจงความถี่ของผลการสอบ ดังนี้
 ช่วงคะแนน ความถี่ (คน)
    0–4                4
    5–9                5
  10 – 14              x
   15 - 19             7
   ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ
   เท่ากับ 11 แล้ว นักเรียนที่สอบได้คะแนน
   ในช่วง 5 – 14 คะแนนจานวนคิดเป็นร้อยละ
   ของนักเรียนกลุ่มนี้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.50/51)
   1. 46.67%              2. 56.67%          3. 63.33%           4. 73.33%
20. จากการสอบถามเยาวชนจานวน 12 คน ว่าเคยฟังธรรมเทศนามาแล้วจานวนกี่ครั้ง
   ปรากฏผลดังแสดงในแผนภาพต่อไปนี้




  มัธยฐานของข้อมูลนี้คือข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.51/52)
  1. 3 ครั้ง           2. 3.25 ครั้ง 3. 3.5 ครั้ง          4. 4 ครั้ง
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์           ~ 11 ~                  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                    เรื่อง สถิติ
21. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนักของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่งเท่ากับ 48.01 กิโลกรม
   บริษัทนี้มีพนักงานชาย 43 คน และพนักงานหญิง 57 คน ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนัก
   ของพนักงานหญิงเท่ากับ 45 กิโลกรัม แล้ว น้าหนักของพนักงานชายทั้งหมดรวมเท่ากับ
   ข้อใดต่อไปนี้ (O-NET ปี กศ.52/53)
   1. 2,236 กิโลกรัม 2. 2,279 กิโลกรัม 3. 2,322 กิโลกรัม 4. 2,365 กิโลกรัม




22. แผนภาพต้น-ใบของข้อมูลชุดหนึ่งเป็นดังนี้
                             2 0 0 3 5 8
                             3 1 4 4 6 7
                             4 3 3 5 7
                             5 1 2 2 2
                             6 3 5
   พิจารณาข้อความต่อไปนี้
      ก. ข้อมูลชุดนี้ไม่มีฐานนิยม
      ข. มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 40
   ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET ปี กศ.53/54)
   1. ก. ถูก และ ข. ถูก
   2. ก. ถูก และ ข. ผิด
   3. ก. ผิด และ ข. ถูก
   4. ก. ผิด และ ข. ผิด
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์              ~ 12 ~                     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                       เรื่อง สถิติ
23. ชายคนหนึ่งตักปลาที่เลี้ยงไว้ในกระชัยเพื่อส่งขายจานวน 500 ตัว ซึ่งมีน้าหนักโดยเฉลี่ย
   ตัวละ 700 กรัม ในจานวนนี้เป็นปลาจากกระชังที่หนึ่ง 300 ตัว และจากกระชังที่สอง 200
   ตัว ถ้าปลาในกระชัยที่หนึ่งมีน้าหนักเฉลี่ยต่อตัวมากกว่าในกระชังที่สอง 50 กรัม แล้วเขาตัก
   ปลาจากกระชังที่สองมากี่กิโลกรัม (O-NET ปี กศ.53/54)




24. ถ้าในปี พ.ศ. 2547 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่งเท่ากับ 23 ปี
   ในปีต่อมาบริษัทได้รับพนักงานเพิ่มขึ้นอีก 20 คน ทาให้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุพนักงาน
   ในปี พ.ศ.2548 เท่ากับ 25 ปี และผลรวมของอายุของพนักงานเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2547
   อีก 652 ปี เมื่อสิ้นปี พ.ศ.2548 บริษัทแห่งนี้มีพนักงานทั้งหมดจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
   (O-NET: ปี กศ.48/49)
   1. 76 คน                2. 96 คน         3. 346 คน            4. 326 คน
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์               ~ 13 ~                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                        เรื่อง สถิติ
25. อายุเฉลี่ยของคนกลุ่มหนึ่งเท่ากับ 31 ปี ถ้าอายุเฉลี่ยของผู้หญิงในกลุ่มนี้เท่ากับ 35 ปี
   และอายุเฉลี่ยของผู้ชายในกลุ่มนี้เท่ากับ 25 ปี แล้ว อัตราส่วนระหว่างจานวนผู้หญิงต่อ
   จานวนผู้ชายในกลุ่มนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50)
   1. 2 : 3              2. 2 : 5           3. 3 : 2             4. 3 : 5




26. ในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกครั้งที่ 24 ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ มีการส่ง
   รายชื่อนักเรียนจากประเทศไทย 379 คน มีอายุเฉลี่ย 22 ปี ถ้ามีการถอนตัวนักกีฬาไทย
   ออก 4 คน ซึ่งมีอายุ 24, 25, 25 และ 27 ปี และมีการเพิ่มนักกีฬาไทยอีก 5 คนที่มีอายุ
   เฉลี่ย 17 ปีแล้ว อายุเฉลี่ยของนักกีฬาจากประเทศไทยจะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี
   กศ.50/51)
   1. 21.6 ปี             2. 21.7 ปี       3. 21.8 ปี         4. 21.9 ปี
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์          ~ 14 ~                   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                   เรื่อง สถิติ
27. ตารางแสดงน้าหนักของนักเรียนจานวน 50 คน เป็นดังนี้
 น้าหนัก (กก.) จานวน (คน)
   30 – 39             4
   40 – 49             5
   50 – 59            13
   60 – 69            17
   70 – 79             6
   80 – 89             5
    ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.48/49)
    1. นักเรียนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มีน้าหนัก 60 – 69 กิโลกรัม
    2. นักเรียนที่มีน้าหนักต่ากว่า 50 กิโลกรัม มี 9 คน
    3. นักเรียนที่มีน้าหนักในช่วง 50 – 59 มี 26%
    4. นักเรียนที่มีน้าหนักมากกว่า 80 กิโลกรัม มี 10%
28. กาหนดให้ตารางแจกแจงความถี่สะสมของคะแนนของนักเรียนห้องหนึ่งเป็นดังนี้
 ช่วงคะแนน ความถี่สะสม
  30 – 39         1
  40 – 49        11
  50 – 59        18
  60 – 69        20
  ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.49/50)
  1. นักเรียนที่ได้คะแนน 40 – 49 คะแนน มีจานวน 22%
  2. นักเรียนส่วนใหญ่ได้คะแนน 60 – 69 คะแนน
  3. นักเรียนที่ได้คะแนนมากกว่า 53 คะแนน มีจานวนน้อยกว่านักเรียนที่ได้คะแนน 40 –
     49 คะแนน
  4. นักเรียนที่ได้คะแนนน้อยกว่า 47 คะแนน มีจานวนน้อยกว่านักเรียนทีได้คะแนน
     มากกว่า 50 คะแนน
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์              ~ 15 ~                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                      เรื่อง สถิติ
29. ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 4 คน บุตร 2 คน มีนาหนักเท่ากันและมีน้าหนักน้อยกว่าบุตรอีก
                                             ้
   2 คน ถ้าน้าหนักของบุตรทั้ง 4 คน มีค่าฐานนิยม มัธยฐาน และพิสัยเท่ากับ 45, 47.5
   และ 7 กิโลกรัมตามลาดับ แล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนักของบุตรทั้ง 4 คน มีค่า
   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49)
   1. 46 กิโลกรัม        2. 47 กิโลกรัม 3. 48 กิโลกรัม      4. 49 กิโลกรัม




30. ถ้าน้าหนัก (คิดเป็นกิโลกรัม) ของนักเรียน 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน เขียนเป็นแผนภาพ
   ต้น-ใบ ได้ดังนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49)
 นักเรียนกลุ่มที่ 1       นักเรียนกลุ่มที่ 2
      8 6 4 3 4 9
      8 6 6 4 2 2 4
                      5 0
   ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.48/49)
   1. น้าหนักเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มที่ 2 มากกว่าน้าหนักเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มที่ 1
   2. ฐานนิยมจองน้าหนักของนักเรียนกลุ่มที่ 2 มากกว่าฐานนิยมของน้าหนักของนักเรียนกลุ่มที่ 1
   3. มัธยฐานจองน้าหนักของนักเรียนกลุ่มที่ 2 มากกว่ามัธยฐานของน้าหนักของนักเรียนกลุ่มที่ 1
   4. มัธยฐานจองน้าหนักของนักเรียนทั้งหมดมากกว่ามัธยฐานของน้าหนักของนักเรียนกลุ่มที่ 1
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์             ~ 16 ~                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                      เรื่อง สถิติ
31. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 4, 9, 2, 7, 6, 5, 4, 6, 3, 4 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET:
   ปี กศ.51/52)
   1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < ฐานนิยม < มัธยฐาน
   2. ฐานนิยม < มัธยฐาน < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
   3. ฐานนิยม < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < มัธยฐาน
   4. มัธยฐาน < ฐานนิยม < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต


32. กาหนดแผนภาพต้น – ใบ ของข้อมูลชุดหนึ่ง ดังนี้
             0 3 7 5
             1 6 4 3
             2 0 2 1 2
             3 0 1
   สาหรับข้อมูลชุดนี้ ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง (O-NET: ปี กศ.50/51)
   1. มัธยฐาน < ฐานนิยม < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
   2. มัธยฐาน < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < ฐานนิยม
   3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < ฐานนิยม < มัธยฐาน
   4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < มัธยฐาน < ฐานนิยม
33. ถ้าสุ่มหยิบตัวเลขหนึ่งตัวจากข้อมูลชุดใดๆ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 101 ตัว แล้ว ข้อใด
   ต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.50/51)
   1. ความน่าจะเป็นที่ตัวเลยที่สุ่มได้มีค่าน้อยกว่าค่ามัธยฐาน < 21
                                                                      1
   2. ความน่าจะเป็นที่ตัวเลยที่สุ่มได้มีค่าน้อยกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิต < 2
   3. ความน่าจะเป็นที่ตัวเลยที่สุ่มได้มีค่าน้อยกว่าค่ามัธยฐาน > 21
                                                                      1
   4. ความน่าจะเป็นที่ตัวเลยที่สุ่มได้มีค่าน้อยกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิต > 2
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์             ~ 17 ~                     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                      เรื่อง สถิติ
34. ส่วนสูงของพี่น้อง 2 คน มีพิสัยเท่ากับ 12 เซนติเมตร มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 171
   เซนติเมตร ข้อใดต่อไปนี้เป็นส่วนสูงของพี่หรือน้องคนใดคนหนึ่ง (O-NET: ปี กศ.51/52)
   1. 167 เซนติเมตร
   2. 172 เซนติเมตร
   3. 175 เซนติเมตร
   4. 177 เซนติเมตร
35. ความสูงในหน่วยเซนติเมตรของนักเรียนกลุ่มหนึ่งซึ่งมี 10 คน เป็นดังนี้
   155, 157, 158, 158, 160, 161, 161, 163, 165, 166
   ถ้ามีนักเรียนเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน ซึ่งมีความสูง 158 เซนติเมตร
   แล้วค่าสถิติใดต่อไปนี้ไม่เปลี่ยนแปลง (O-NET: ปี กศ.51/52)
   1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
   2. มัธยฐาน
   3. ฐานนิยม
   4. พิสัย
36. แผนภาพต้น – ใบของน้าหนักในหน่วยกรัมของไข่ไก่ 10 ฟอง เป็นดังนี้
                                          5 7 8
                                          6 7 8 9
                                          7 0 4 4 7
                                          8 1
   ข้อสรุปใดเป็นเท็จ (O-NET ปี กศ.52/53)
   1. ฐานนิยมของน้าหนักของไข่ไก่มีเพียงค่าเดียว
   2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานของน้าหนักของไข่ไก่มีค่าเท่ากัน
   3. มีไข่ไก่ 5 ฟองที่มีน้าหนักน้อยกกว่า 70 กรัม
   4. ไข่ไก่ที่มีน้าหนักสูงกว่าฐานนิยม มีจานวนมากกว่า ไข่ไก่ที่มีน้าหนักเท่ากับฐานนิยม
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์     ~ 18 ~               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                              เรื่อง สถิติ

  สรุปเนื้อหาสาระสาคัญ เรือง สถิติ
                          ่                  (การวัดตาแหน่ง/กระจาย)
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์            ~ 19 ~                   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                     เรื่อง สถิติ
37. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้ 10, 5, 6, 9, 12, 15, 8, 18 ค่าของ P80 ใกล้เคียงกับข้อใด
   ต่อไปนี้มากที่สุด (O-NET: ปี กศ.51/52)
   1. 15.1               2. 15.4          3. 15.7           4. 16.0




38. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่งแสดงด้วยแผนภาพต้น-ใบได้ดังนี้
         3 0 4 9
         4 0 7 7 8 8 8
         5 0 0 1 2 2 3 4 6 6 7 7 8 8 9
         6 0 2 3 3 6 8 9
         7 0 1
   เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ของคะแนนสอบนี้เท่ากับคะแนนเท่าใด (O-NET ปี กศ.53/54)
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์            ~ 20 ~                     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                     เรื่อง สถิติ
39. ข้อมูลชุดหนึ่ง ถ้าเรียงจากน้อยไปมากแล้ว ได้เป็นลากับเลขคณิตต่อไปนี้ 2, 5, 8, …, 92
   ควอไทล์ที่ 3 ของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.50/51)
   1. 68                 2. 69                3. 71               4. 72




40. คะแนนสอบของผู้เข้าสอบ 15 คน เป็นดังนี้
   45, 54, 59, 60, 62, 64, 65, 68, 70, 72, 73, 75, 76, 80, 81
   ถ้าเกณฑ์ในการสอบผ่าน คือ ต้องได้คะแนนไม่ต่ากว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 60 แล้ว ข้อใด
   ต่อไปนี้เป็นคะแนนต่าสุดของผู้ที่สอบผ่าน (O-NET: ปี กศ.50/51)
   1. 68 คะแนน
   2. 70 คะแนน
   3. 72 คะแนน
   4. 73 คะแนน
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์              ~ 21 ~                     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                       เรื่อง สถิติ
41. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 19 จานวนต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50)
   6 8 9 12 12 15 15 16 18 19 20 20 21 22 23 24 25 30 30
   ควอไทล์ที่ 3 มีค่าต่างตากเปอร์เซ็นไทล์ที่ 45 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50)
   1. 4
   2. 5
   3. 6
   4. 7




42. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 10 จานวน ประกอบด้วยจานวนต่อไปนี้
      4, 8, 8, 9, 14, 15, 18, 18, 22, 25
   ควอร์ไทล์ที่สามของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด (O-NET: ปี กศ.48/49 อัตนัย)
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์             ~ 22 ~                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                     เรื่อง สถิติ
43. เมื่อพิจารณาผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 39 คน พบว่า เปอร์เซ็นไทล์ที่
   25 ของคะแนนสอบเท่ากับ 35 คะแนน และมีนักเรียน 30 คน ได้คะแนนน้อยกว่าหรือ
   เท่ากับ 80 คะแนน ถ้ามีนักเรียนที่สอบได้ 35 คะแนนเพียงคนเดียว แล้ว จานวนนักเรียน
   ที่สอบได้คะแนนในช่วง 35 – 80 คะแนนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49)
   1. 18 คน            2. 19 คน           3. 20 คน          4. 21 คน




44. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 5 จานวน ถ้าควอไทล์ที่หนึ่ง ควอไทล์ที่สอง และควอไทล์ที่สาม เท่ากับ
   18, 25 และ 28 ตามลาดับแล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-
   NET: ปี กศ.49/50)
   1. 23.4              2. 23.7         3. 24.0                4. 24.3
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์             ~ 23 ~                     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                      เรื่อง สถิติ
45. นักเรียนกลุ่มหนึ่งจานวน 80 คน ซึ่งมี ลาเจียก ลาดวน และลาพู รวมอยู่ด้วย ปรากฏผล
   การสอบดังนี้
      ลาดวนได้คะแนนตรงกับควอไทล์ที่สาม
      ลาพูได้คะแนนตรงกับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50
      ลาเจียกได้คะแนนเป็นลาดับที่ 30 เมื่อเรียงคะแนนจากมากไปหาน้อย
   ข้อใดต่อไปนี้เป็นการเรียงรายชื่อของผู้ที่ได้คะแนนน้อยไปหาผู้ที่ได้คะแนนมาก (O-NET: ปี
   กศ.50/51)
   1. ลาพู ลาเจียก ลาดวน                      2. ลาพู ลาดวน ลาเจียก
   3. ลาเจียก ลาพู ลาดวน                      4. ลาเจียก ลาดวน ลาพู




46. จากการตรวจสอบลาดับที่ของคะแนนสอบของนาย ก และนาย ข ในวิชาคณิตศาสตร์ที่
   มีผู้เข้าสอบ 400 คน ปรากฏว่านาย ก สอบได้คะแนนอยู่ในตาแหน่งควอร์ไทล์ที่ 3 และ
   นาย ข สอบได้คะแนนอยู่ในตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 60 จานวนนักเรียนที่สอบได้คะแนน
   ระหว่างคะแนนของนาย ก และนาย ข มีประมาณกี่คน (O-NET ปี กศ.52/53)
   1. 15 คน                            2. 30 คน
   3. 45 คน                            4. 60 คน
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์           ~ 24 ~                        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                    เรื่อง สถิติ
47. จากแผนภาพกล่องของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน จาแนกตามเพศ เป็นดังนี้
                                             คะแนนสอบของนักเรียนหญิง
                                                      คะแนนสอบของนักเรียนชาย
         0                                               100
   ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.48/49)
   1. คะแนนสอบเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชายสูงกว่าคะแนนสอบเฉลี่ยวิชา
      คณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิง
   2. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชายมีการกระจายเบ้ขวา
   3. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิงมีการกระจายมากกว่าคะแนนสอบวิชา
      คณิตศาสตร์ของนักเรียนชาย
   4. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิงมีการกระจายเบ้ขวา
48. จากการทดสอบนักเรียนจานวน 100 คนใน 2 รายวิชา แต่ละรายวิชามีคะแนนเต็ม
   150 คะแนน ถ้าผลการทดสอบทั้งสองรายวิชา เขียนเป็นแผนภาพกล่องได้ดังนี้
                                                   คะแนนสอบรายวิชาที่ 1

                                            คะแนนสอบรายวิชาที่ 2

         0     20   40    60   80     100    120   140
  แล้ว ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.49/50)
  1. คะแนนสอบทั้งสองรายวิชามีการแจกแจงปกติเท่ากัน
  2. จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนไม่เกิน 80 คะแนนในรายวิชาที่ 1 มากกว่าจานวนนักเรียน
     ที่ได้คะแนนไม่เกิน 80 คะแนนในรายวิชาที่ 2
  3. คะแนนสูงสุดที่อยู่ในกลุ่ม 25% ต่าสุด ของผลการสอบรายวิชาที่ 1 น้อยกว่า คะแนน
     สูงสุดที่อยู่ในกลุ่ม 25% ต่าสุด ของผลการสอบรายวิชาที่ 2
  4. จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนระหว่าง 60 – 80 คะแนนในการสอบรายวิชาที่ 2 น้อยกว่า
     จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนในช่วงเดียวกัน ในการสอบรายวิชาที่ 1
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์            ~ 25 ~                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                     เรื่อง สถิติ
49. คะแนนสอบความรู้ทั่วไปของนักเรียน 200 คน นาเสนอโดยใช้แผนภาพกล่องดังนี้


                               ข้อใดเป็นเท็จ (O-NET ปี กศ.52/53)
   1. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 12 ถึง 16 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 16 ถึง 18
   คะแนน
   2. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 12 ถึง 18 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 18 ถึง 24
   คะแนน
   3. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 10 ถึง 12 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 18 ถึง 24
   คะแนน
   4. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 10 ถึง 16 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 16 ถึง 24
   คะแนน
50. เมื่อสองปีก่อน นักเรียนห้องหนึ่งมี 30 คน แบ่งออกได้เป็นสองกลุ่ม
   กลุ่มที่หนึ่งมี 10 คน ทุกคนมีอายุ 10 ปี และ
   กลุ่มที่สองมี 20 คน มีอายุเฉลี่ย 8.5 ปี
   ถ้าความแปรปรวนของอายุนักเรียนในกลุ่มที่สองเท่ากับ 0 แล้ว ในปัจจุบัน ความ
   แปรปรวนของอายุนักเรียนในห้องนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50)
   1. 12                 2. 23
                                               5
                                            3. 2              4. 8
                                                                 3
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์                            ~ 26 ~                          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                                 เรื่อง สถิติ
51. กาหนดให้ ข้อมูลชุดหนึ่งซึ่งประกอบด้วย x1, x2, …, x10 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ                      x
   และ ข้อมูลชุดที่สองประกอบด้วย y1, y2, …, y20 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ y
                    10             2            20             2
           โดยที่    ( xi  x )       = 160,    ( yi  y )       = 110 และ x =   y
                    i 1                        i 1
  ถ้านาข้อมูลทั้งสองชุดมารวมเป็นชุดเดียวกันแล้ว ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด
  ใหม่เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.50/51)
  1. 3                 2. 5               3. 7                4. 9




52. พนักงานโรงงานแห่งหนึ่งมีจานวน 1,000 คน ได้รับเงินเดือนเฉลี่ยคนละ 8,000 บาท มี
   ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1,000 ถ้าการกระจายของเงินเดือนพนักงานโรงงานแห่งนี้เป็น
   แบบปกติแล้ว ข้อสรุปใดต่อไปนี้ผิด (O-NET: ปี กศ.50/51)
   1. พนักงานจานวนน้อยกว่า 100 คน ได้รับเงินเดือนน้อยกว่า 6,000 บาท
   2. พนักงานอย่างมาก 930 คน ได้รับเงินเดือนมากกว่าหรือเท่ากับ 6,000 บาท
   3. พนักงานที่ได้รับเงินเดือนมากกว่า 10,000 บาท มีจานวนน้อยกว่า 70 คน
   4. ถ้าในปีต่อไปพนักงานได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นคนละ 400 บาท แล้ว ส่วนเบี่ยงเบน
      มาตรฐานของเงินเดือนพนักงานโรงงานนี้ยังคงเดิม
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์            ~ 27 ~                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                     เรื่อง สถิติ
53. ข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 20 มัธยฐานเท่ากับ 25 และฐานนิยมเท่ากับ
   30 ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.51/52)
   1. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็นการกระจายที่เบ้ทางซ้าย
   2. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็นการกระจายที่เบ้ทางขวา
   3. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็นการกระจายแบบสมมาตร
   4. ไม่สามารถระบุลักษณะการกระจายของข้อมูลได้




54. ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงลาดับจากน้อยไปมากดังนี้ 2 3 3 x 4 y 7
   ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 4 และ 4
                                                                           7
   ตามลาดับ แล้ว y – x มีค่าเท่าใด (O-NET ปี กศ.53/54)
ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์     ~ 28 ~       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                              เรื่อง สถิติ




   อย่าถามเลยว่า...โรงเรียนนี้มอบอะไรให้แก่ท่านบ้าง
  แต่จงถามว่า...ท่านได้มอบอะไรไว้ให้แก่โรงเรียนนี้บ้าง

ตั้งใจทาข้อสอบนะครับ...
เพราะอย่างน้อย...
นี่คือครั้งสุดท้ายที่ท่านจะตอบแทนโรงเรียน (และคุณครู)
ในฐานะนักเรียนโคกยางวิทยา

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรมO-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 

Viewers also liked

เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555ครู กรุณา
 
เอกสารทบทวนความรู้พื้นฐานเตรียมสอบ ม.ปลาย O-NET Edition 2
เอกสารทบทวนความรู้พื้นฐานเตรียมสอบ ม.ปลาย O-NET Edition 2  เอกสารทบทวนความรู้พื้นฐานเตรียมสอบ ม.ปลาย O-NET Edition 2
เอกสารทบทวนความรู้พื้นฐานเตรียมสอบ ม.ปลาย O-NET Edition 2 ครู กรุณา
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 krurutsamee
 
เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1Noir Black
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
O-NET ม.6-ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
O-NET ม.6-ความสัมพันธ์และฟังก์ชันO-NET ม.6-ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
O-NET ม.6-ความสัมพันธ์และฟังก์ชันคุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6jupjeep
 

Viewers also liked (20)

O-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติO-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
 
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็นO-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
 
รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6
รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6
รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6
 
O-NET ม.6- การให้เหตุผล
O-NET ม.6- การให้เหตุผลO-NET ม.6- การให้เหตุผล
O-NET ม.6- การให้เหตุผล
 
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชันแยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
 
Sttstc e
Sttstc eSttstc e
Sttstc e
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
 
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
 
Math onet49
Math onet49Math onet49
Math onet49
 
เอกสารทบทวนความรู้พื้นฐานเตรียมสอบ ม.ปลาย O-NET Edition 2
เอกสารทบทวนความรู้พื้นฐานเตรียมสอบ ม.ปลาย O-NET Edition 2  เอกสารทบทวนความรู้พื้นฐานเตรียมสอบ ม.ปลาย O-NET Edition 2
เอกสารทบทวนความรู้พื้นฐานเตรียมสอบ ม.ปลาย O-NET Edition 2
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6
 
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์381 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
 
เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1เฉลยMetrix1
เฉลยMetrix1
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
O-NET ม.6-เลขยกกำลัง (และราก)
O-NET ม.6-เลขยกกำลัง (และราก)O-NET ม.6-เลขยกกำลัง (และราก)
O-NET ม.6-เลขยกกำลัง (และราก)
 
O-NET ม.6-ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
O-NET ม.6-ความสัมพันธ์และฟังก์ชันO-NET ม.6-ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
O-NET ม.6-ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
O-NET ม.6-จำนวนจริง
O-NET ม.6-จำนวนจริงO-NET ม.6-จำนวนจริง
O-NET ม.6-จำนวนจริง
 
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
 

Similar to O-NET ม.6-สถิติ

07 120626231142-phpapp02
07 120626231142-phpapp0207 120626231142-phpapp02
07 120626231142-phpapp02Phong Korn
 
ข้อสอบท้ายหน่วย
ข้อสอบท้ายหน่วยข้อสอบท้ายหน่วย
ข้อสอบท้ายหน่วยToongneung SP
 
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkแยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkคุณครูพี่อั๋น
 
06 120626231139-phpapp01
06 120626231139-phpapp0106 120626231139-phpapp01
06 120626231139-phpapp01Krutom Nyschool
 
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...Kruthai Kidsdee
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1Narinpho
 
รูปแบบ ตัวอย่างข้อสอบ O-net ปีการศึกษา 2557.pdf
รูปแบบ ตัวอย่างข้อสอบ O-net ปีการศึกษา 2557.pdfรูปแบบ ตัวอย่างข้อสอบ O-net ปีการศึกษา 2557.pdf
รูปแบบ ตัวอย่างข้อสอบ O-net ปีการศึกษา 2557.pdfnoina0305
 
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeG tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeThanakrit Muangjun
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1cookie47
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6noonatzu
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1Manas Panjai
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1jutarattubtim
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1JunyapornTakumnoi
 

Similar to O-NET ม.6-สถิติ (20)

07 120626231142-phpapp02
07 120626231142-phpapp0207 120626231142-phpapp02
07 120626231142-phpapp02
 
ข้อสอบท้ายหน่วย
ข้อสอบท้ายหน่วยข้อสอบท้ายหน่วย
ข้อสอบท้ายหน่วย
 
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkแยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
 
07 120626231142-phpapp02
07 120626231142-phpapp0207 120626231142-phpapp02
07 120626231142-phpapp02
 
Statistics clip vidva
Statistics clip vidvaStatistics clip vidva
Statistics clip vidva
 
06 120626231139-phpapp01
06 120626231139-phpapp0106 120626231139-phpapp01
06 120626231139-phpapp01
 
คณิต
คณิต คณิต
คณิต
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1
 
รูปแบบ ตัวอย่างข้อสอบ O-net ปีการศึกษา 2557.pdf
รูปแบบ ตัวอย่างข้อสอบ O-net ปีการศึกษา 2557.pdfรูปแบบ ตัวอย่างข้อสอบ O-net ปีการศึกษา 2557.pdf
รูปแบบ ตัวอย่างข้อสอบ O-net ปีการศึกษา 2557.pdf
 
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeG tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 

More from คุณครูพี่อั๋น

การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูลการตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูลคุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้คุณครูพี่อั๋น
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้คุณครูพี่อั๋น
 
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งสองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งคุณครูพี่อั๋น
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 

More from คุณครูพี่อั๋น (20)

Tangram
TangramTangram
Tangram
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
 
02 roman numeral
02 roman numeral02 roman numeral
02 roman numeral
 
01 history of numbers and numerals
01 history of numbers and numerals01 history of numbers and numerals
01 history of numbers and numerals
 
เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2
 
เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1
 
I30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้าI30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้า
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูลการตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
Complex Number Practice
Complex Number PracticeComplex Number Practice
Complex Number Practice
 
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
 
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งสองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Ans_TME54_jh1
Ans_TME54_jh1Ans_TME54_jh1
Ans_TME54_jh1
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 

O-NET ม.6-สถิติ

  • 1. เอกสารเตรียมความพร้อม การทดสอบวัดความรู้ขั้นพื้นฐานระดับชาติ (Ordinary – National Educational Test: O-NET) สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชาคณิงตศาสตร์ เรื่อ สถิติ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.6/ เลขที่ รวบรวมและเรียบเรียงโดย นายนฤพนธ์ สายเสมา กศ.บ. (คณิตศาสตร์) ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนโคกยางวิทยา อาเภอปราสาท สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 (สุรินทร์) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~2~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ สรุปเนื้อหาสาระสาคัญ เรือง สถิติ (สถิติ/ค่ากลาง) ่
  • 3. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~3~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ (O-NET: ปี กศ.51/52) 1. สถิติเชิงพรรณนาคือสถิติของการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้นที่มุ่งอธิบายลักษณะกว้างๆ ของข้อมูล 2. ข้อมูลที่เป็นหมายเลขทีใช้เรียกสายรถโดยสารประจาทางเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ่ 3. ข้อมูลปฐมภูมิคอข้อมูลที่ผู้ใช้เก็บรวบรวมจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ื 4. ข้อมูลที่นักเรียนรวบรวมจากรายงานต่างๆ ที่ได้จากหน่วยงานราชการเป็นข้อมูลปฐมภูมิ 2. ในกรณีที่มีข้อมูลจานวนมาก การนาเสนอข้อมูลในรูปแบบใดต่อไปนี้ทาให้เห็นกระจายของ ข้อมูลได้ชัดเจนน้อยทีสุด (O-NET: ปี กศ.51/52) ่ 1. ตารางแจกแจงความถี่ 2. แผนภาพต้น – ใบ 3. ฮิสโทแกรม 4. การแสดงค่าสังเกตทุกค่า 3. ข้อต่อไปนี้มีผลกระทบต่อความถูกต้องของการตัดสินใจโดยใช้สถิติ ยกเว้นข้อใด (O-NET: ปี กศ.51/52) 1. ข้อมูล 2. สารสนเทศ 3. ข่าวสาร 4. ความเชื่อ 4. ครูสอนวิทยาศาสตร์มอบหมายให้นักเรียน 40 คน ทาโครงงานตามความสนใจ หลังจาก ตรวจรายงานโครงงานของทุกคนแล้ว ผลสรุปเป็นดังนี้ ผลการประเมิน จานวนโครงงาน ดีเยี่ยม 3 ดี 20 พอใช้ 12 ต้องแก้ไข 5 ข้อมูลที่เก็บรวบรวม เพื่อให้ได้ผลสรุปข้างต้นเป็นข้อมูลชนิดใด (O-NET ปี กศ.52/53) 1. ข้อมูลปฐมภูมิ เชิงปริมาณ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ เชิงปริมาณ 3. ข้อมูลปฐมภูมิ เชิงคุณภาพ 4. ข้อมูลทุติยภูมิ เชิงคุณภาพ
  • 4. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~4~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 5. ในการใช้สถิติเพื่อการตัดสินใจและวางแผน สาหรับเรื่องที่จาเป็นต้องมีการใช้ข้อมูลและ สารสนเทศ ถ้าขาดข้อมูลและสารสนเทศดังกล่าว ผู้ตัดสินใจควรทาขั้นตอนใดก่อน (O- NET ปี กศ.52/53) 1. เก็บรวบรวมข้อมูล 2. เลือกวิธีวิเคราะห์ข้อมูล 3. เลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 4. กาหนดข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้ 6. จานวนผู้ว่างงานทั่วประเทศในเดือนกันยายน ปี พ.ศ.2551 มีจานวนทั้งสิ้น 4.29 แสนคน ตารางเปรียบเทียบอัตราการว่างงานในเดือนกันยายน ปี พ.ศ.2550 กับปี พ.ศ.2551 เป็นดังนี้ อัตราการว่างงานในเดือนกันยายน พื้นที่สารวจ (จานวนผู้ว่างงานต่อจานวนผู้อยู่ในกาลังแรงงานคูณ 100) ปี พ.ศ.2550 ปี พ.ศ.2551 ภาคใต้ 1.0 1.0 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 0.9 1.3 ภาคเหนือ 1.5 1.2 ภาคกลาง (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) 1.3 0.9 กรุงเทพมหานคร 1.2 1.2 ทั่วประเทศ 1.2 1.1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. จานวนผู้ว่างงานในภาคใต้ในเดือนกันยายนของปี พ.ศ.2550 และของปี พ.ศ.2551 เท่ากัน ข. จานวนผู้อยู่ในกาลังแรงงานทั่วประเทศในเดือนกันยายน ปี พ.ศ.2551 มีประมาณ 39 ล้านคน ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET ปี กศ.52/53) 1. ข้อ ก และข้อ ข 2. ข้อ ก เท่านั้น 3. ข้อ ข เท่านั้น 4. ผิดทั้งข้อ ก และข้อ ข
  • 5. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~5~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 7. ข้อมูลชุดหนึ่ง มีบางส่วนถูกนาเสนอในตารางต่อไปนี้ อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม ความถี่สัมพัทธ์ 2–6 7 – 11 11 0.2 12 – 16 14 17 – 21 6 0.3 ช่วงคะแนนใดเป็นช่วงคะแนนที่มีความถี่สูงสุด (O-NET ปี กศ.52/53) 1. 2 – 6 2. 7 – 11 3. 12 – 16 4. 17 – 21 8. ในการสารวจอายุของคนในหมู่บ้านแห่งหนึ่งเป็นดังนี้ อายุ (ปี) ความถี่ (คน) ความถี่สัมพัทธ์ 0 – 10 10 11 – 20 25 21 – 30 35 31 – 40 x 41 – 50 40 51 – 60 20 0.10 61 – 70 15 71 – 80 3 81 – 90 2 ค่า x ในตารางแจกแจงความพี่สัมพัทธ์เท่ากับเท่าใด (O-NET ปี กศ.53/54)
  • 6. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~6~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 9. การเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูลควรพิจารณาสิ่งต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด (O-NET: ปี กศ.51/52) 1. ลักษณะของข้อมูล 2. วิธีจัดเรียงข้อมูล 3. จุดประสงค์ของการนาไปใช้ 4. ข้อดีและข้อเสียของค่ากลางแต่ละชนิด 10. สาหรับข้อมูลเชิงปริมาณใดๆ ที่มีค่าสถิติต่อไปนี้ ค่าสถิติจะตรงกับค่าของข้อมูลค่าหนึ่ง เสมอ (O-NET ปี กศ.52/53) 1. พิสัย 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 3. มัธยฐาน 4. ฐานนิยม 11. ข้อมูลต่อไปนี้แสดงน้าหนักในหน่วยกิโลกรัม ของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง 41, 88, 46, 42, 43, 49, 44, 45, 43, 95, 47, 48 ค่ากลางในข้อใดเป็นค่าที่เหมาะสมที่จะเป็นตัวแทนของข้อมูลชุดนี้ (O-NET ปี กศ.52/53) 1. มัธยฐาน 2. ฐานนิยม 3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 4. ค่าเฉลี่ยของค่าสูงสุดและค่าต่าสุด 12. ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 10, 12, 15, 13 และ 10 ข้อความในข้อใดต่อไปนี้เป็น เท็จ สาหรับข้อมูลชุดนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49) 1. มัธยฐาน เท่ากับ 12 2. ฐานนิยม เท่ากับ 12 3. ฐานนิยาม น้อยกว่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เท่ากับ 12
  • 7. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~7~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 13. ถ้าข้อมูล 5 จานวน ซึ่งเรียงจากน้อยไปหามาก คือ x1, x2, x3, x4, x5 โดยมี x1 = 7 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ x และ ความแปรปรวนเท่ากับ 16 ถ้ากาหนดตารางแสดงค่าของ xi – x ดังนี้ i xi – x 1 7– x 2 -3 1 -1 4 3 5 6 แล้ว ค่าของ x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49) 1. 10 2. 10.5 3. 12 4. 12.5 14. ผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนายคณิต ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เป็นดังนี้ รหัสวิชา ค41101 ค41201 ค41102 ค41202 จานวนหน่วยกิต 1 1.5 1 1.5 เกรด 2.5 3 3.5 2 เกรดเฉลี่ยของวิชาคณิตศาสตร์ของนายคณิตในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50) 1. 2.60 2. 2.65 3. 2.70 4. 2.75
  • 8. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~8~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 15. ความสัมพันธ์ระหว่างกาไร (y) และราคาทุน (x) ของสินค้าในร้านแห่งหนึ่งเป็นไปตาม สมการ y = 2x – 30 ถ้าราคาทุนของสินค้า 5 ชนิด คือ 31, 34, 35, 36 และ 39 บาท แล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของกาไรในการขายสินค้า 5 ชนิดนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50) 1. 25 บาท 2. 30 บาท 3. 35 บาท 4. 40 บาท 16. ตารางแจกแจกความถี่ แสดงจานวนนักเรียนในช่วงอายุต่างๆ ของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง เป็นดังนี้ ช่วงอายุ (ปี) ความถี่ (คน) 1–5 4 6 – 10 9 11 – 15 2 16 – 20 5 อายุเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50) 1. 9 ปี 2. 9.5 ปี 3. 10 ปี 4. 10.5 ปี
  • 9. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~9~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 17. ในการสารวจน้าหนักตัวของนักเรียนในชั้นเรียนที่มีนักเรียน 30 คน เป็นดังนี้ น้าหนัก (กก.) ความถี่สะสม (คน) 30 – 49 10 50 – 69 26 70 – 89 30 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนักตัวของนักเรียนในชั้นเรียนนี้เท่ากับกี่กิโลกรัม (O-NET ปี กศ. 53/54) 18. กาหนดให้ข้อมูลชุดหนึ่ง คือ 10, 3, x, 6, 6 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้มีค่า เท่ากับมัธยฐานแล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50) 1. 3 2. 4 3. 5 4. 6
  • 10. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 10 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 19.ในการทดสอบความถนัดของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง มีตารางแจกแจงความถี่ของผลการสอบ ดังนี้ ช่วงคะแนน ความถี่ (คน) 0–4 4 5–9 5 10 – 14 x 15 - 19 7 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ เท่ากับ 11 แล้ว นักเรียนที่สอบได้คะแนน ในช่วง 5 – 14 คะแนนจานวนคิดเป็นร้อยละ ของนักเรียนกลุ่มนี้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.50/51) 1. 46.67% 2. 56.67% 3. 63.33% 4. 73.33% 20. จากการสอบถามเยาวชนจานวน 12 คน ว่าเคยฟังธรรมเทศนามาแล้วจานวนกี่ครั้ง ปรากฏผลดังแสดงในแผนภาพต่อไปนี้ มัธยฐานของข้อมูลนี้คือข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.51/52) 1. 3 ครั้ง 2. 3.25 ครั้ง 3. 3.5 ครั้ง 4. 4 ครั้ง
  • 11. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 11 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 21. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนักของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่งเท่ากับ 48.01 กิโลกรม บริษัทนี้มีพนักงานชาย 43 คน และพนักงานหญิง 57 คน ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนัก ของพนักงานหญิงเท่ากับ 45 กิโลกรัม แล้ว น้าหนักของพนักงานชายทั้งหมดรวมเท่ากับ ข้อใดต่อไปนี้ (O-NET ปี กศ.52/53) 1. 2,236 กิโลกรัม 2. 2,279 กิโลกรัม 3. 2,322 กิโลกรัม 4. 2,365 กิโลกรัม 22. แผนภาพต้น-ใบของข้อมูลชุดหนึ่งเป็นดังนี้ 2 0 0 3 5 8 3 1 4 4 6 7 4 3 3 5 7 5 1 2 2 2 6 3 5 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. ข้อมูลชุดนี้ไม่มีฐานนิยม ข. มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 40 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET ปี กศ.53/54) 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด 3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
  • 12. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 12 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 23. ชายคนหนึ่งตักปลาที่เลี้ยงไว้ในกระชัยเพื่อส่งขายจานวน 500 ตัว ซึ่งมีน้าหนักโดยเฉลี่ย ตัวละ 700 กรัม ในจานวนนี้เป็นปลาจากกระชังที่หนึ่ง 300 ตัว และจากกระชังที่สอง 200 ตัว ถ้าปลาในกระชัยที่หนึ่งมีน้าหนักเฉลี่ยต่อตัวมากกว่าในกระชังที่สอง 50 กรัม แล้วเขาตัก ปลาจากกระชังที่สองมากี่กิโลกรัม (O-NET ปี กศ.53/54) 24. ถ้าในปี พ.ศ. 2547 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่งเท่ากับ 23 ปี ในปีต่อมาบริษัทได้รับพนักงานเพิ่มขึ้นอีก 20 คน ทาให้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุพนักงาน ในปี พ.ศ.2548 เท่ากับ 25 ปี และผลรวมของอายุของพนักงานเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2547 อีก 652 ปี เมื่อสิ้นปี พ.ศ.2548 บริษัทแห่งนี้มีพนักงานทั้งหมดจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49) 1. 76 คน 2. 96 คน 3. 346 คน 4. 326 คน
  • 13. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 13 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 25. อายุเฉลี่ยของคนกลุ่มหนึ่งเท่ากับ 31 ปี ถ้าอายุเฉลี่ยของผู้หญิงในกลุ่มนี้เท่ากับ 35 ปี และอายุเฉลี่ยของผู้ชายในกลุ่มนี้เท่ากับ 25 ปี แล้ว อัตราส่วนระหว่างจานวนผู้หญิงต่อ จานวนผู้ชายในกลุ่มนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50) 1. 2 : 3 2. 2 : 5 3. 3 : 2 4. 3 : 5 26. ในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกครั้งที่ 24 ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ มีการส่ง รายชื่อนักเรียนจากประเทศไทย 379 คน มีอายุเฉลี่ย 22 ปี ถ้ามีการถอนตัวนักกีฬาไทย ออก 4 คน ซึ่งมีอายุ 24, 25, 25 และ 27 ปี และมีการเพิ่มนักกีฬาไทยอีก 5 คนที่มีอายุ เฉลี่ย 17 ปีแล้ว อายุเฉลี่ยของนักกีฬาจากประเทศไทยจะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.50/51) 1. 21.6 ปี 2. 21.7 ปี 3. 21.8 ปี 4. 21.9 ปี
  • 14. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 14 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 27. ตารางแสดงน้าหนักของนักเรียนจานวน 50 คน เป็นดังนี้ น้าหนัก (กก.) จานวน (คน) 30 – 39 4 40 – 49 5 50 – 59 13 60 – 69 17 70 – 79 6 80 – 89 5 ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.48/49) 1. นักเรียนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มีน้าหนัก 60 – 69 กิโลกรัม 2. นักเรียนที่มีน้าหนักต่ากว่า 50 กิโลกรัม มี 9 คน 3. นักเรียนที่มีน้าหนักในช่วง 50 – 59 มี 26% 4. นักเรียนที่มีน้าหนักมากกว่า 80 กิโลกรัม มี 10% 28. กาหนดให้ตารางแจกแจงความถี่สะสมของคะแนนของนักเรียนห้องหนึ่งเป็นดังนี้ ช่วงคะแนน ความถี่สะสม 30 – 39 1 40 – 49 11 50 – 59 18 60 – 69 20 ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.49/50) 1. นักเรียนที่ได้คะแนน 40 – 49 คะแนน มีจานวน 22% 2. นักเรียนส่วนใหญ่ได้คะแนน 60 – 69 คะแนน 3. นักเรียนที่ได้คะแนนมากกว่า 53 คะแนน มีจานวนน้อยกว่านักเรียนที่ได้คะแนน 40 – 49 คะแนน 4. นักเรียนที่ได้คะแนนน้อยกว่า 47 คะแนน มีจานวนน้อยกว่านักเรียนทีได้คะแนน มากกว่า 50 คะแนน
  • 15. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 15 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 29. ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 4 คน บุตร 2 คน มีนาหนักเท่ากันและมีน้าหนักน้อยกว่าบุตรอีก ้ 2 คน ถ้าน้าหนักของบุตรทั้ง 4 คน มีค่าฐานนิยม มัธยฐาน และพิสัยเท่ากับ 45, 47.5 และ 7 กิโลกรัมตามลาดับ แล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนักของบุตรทั้ง 4 คน มีค่า เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49) 1. 46 กิโลกรัม 2. 47 กิโลกรัม 3. 48 กิโลกรัม 4. 49 กิโลกรัม 30. ถ้าน้าหนัก (คิดเป็นกิโลกรัม) ของนักเรียน 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน เขียนเป็นแผนภาพ ต้น-ใบ ได้ดังนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49) นักเรียนกลุ่มที่ 1 นักเรียนกลุ่มที่ 2 8 6 4 3 4 9 8 6 6 4 2 2 4 5 0 ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.48/49) 1. น้าหนักเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มที่ 2 มากกว่าน้าหนักเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มที่ 1 2. ฐานนิยมจองน้าหนักของนักเรียนกลุ่มที่ 2 มากกว่าฐานนิยมของน้าหนักของนักเรียนกลุ่มที่ 1 3. มัธยฐานจองน้าหนักของนักเรียนกลุ่มที่ 2 มากกว่ามัธยฐานของน้าหนักของนักเรียนกลุ่มที่ 1 4. มัธยฐานจองน้าหนักของนักเรียนทั้งหมดมากกว่ามัธยฐานของน้าหนักของนักเรียนกลุ่มที่ 1
  • 16. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 16 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 31. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 4, 9, 2, 7, 6, 5, 4, 6, 3, 4 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.51/52) 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < ฐานนิยม < มัธยฐาน 2. ฐานนิยม < มัธยฐาน < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 3. ฐานนิยม < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < มัธยฐาน 4. มัธยฐาน < ฐานนิยม < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 32. กาหนดแผนภาพต้น – ใบ ของข้อมูลชุดหนึ่ง ดังนี้ 0 3 7 5 1 6 4 3 2 0 2 1 2 3 0 1 สาหรับข้อมูลชุดนี้ ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง (O-NET: ปี กศ.50/51) 1. มัธยฐาน < ฐานนิยม < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2. มัธยฐาน < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < ฐานนิยม 3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < ฐานนิยม < มัธยฐาน 4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < มัธยฐาน < ฐานนิยม 33. ถ้าสุ่มหยิบตัวเลขหนึ่งตัวจากข้อมูลชุดใดๆ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 101 ตัว แล้ว ข้อใด ต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.50/51) 1. ความน่าจะเป็นที่ตัวเลยที่สุ่มได้มีค่าน้อยกว่าค่ามัธยฐาน < 21 1 2. ความน่าจะเป็นที่ตัวเลยที่สุ่มได้มีค่าน้อยกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิต < 2 3. ความน่าจะเป็นที่ตัวเลยที่สุ่มได้มีค่าน้อยกว่าค่ามัธยฐาน > 21 1 4. ความน่าจะเป็นที่ตัวเลยที่สุ่มได้มีค่าน้อยกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิต > 2
  • 17. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 17 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 34. ส่วนสูงของพี่น้อง 2 คน มีพิสัยเท่ากับ 12 เซนติเมตร มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 171 เซนติเมตร ข้อใดต่อไปนี้เป็นส่วนสูงของพี่หรือน้องคนใดคนหนึ่ง (O-NET: ปี กศ.51/52) 1. 167 เซนติเมตร 2. 172 เซนติเมตร 3. 175 เซนติเมตร 4. 177 เซนติเมตร 35. ความสูงในหน่วยเซนติเมตรของนักเรียนกลุ่มหนึ่งซึ่งมี 10 คน เป็นดังนี้ 155, 157, 158, 158, 160, 161, 161, 163, 165, 166 ถ้ามีนักเรียนเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน ซึ่งมีความสูง 158 เซนติเมตร แล้วค่าสถิติใดต่อไปนี้ไม่เปลี่ยนแปลง (O-NET: ปี กศ.51/52) 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2. มัธยฐาน 3. ฐานนิยม 4. พิสัย 36. แผนภาพต้น – ใบของน้าหนักในหน่วยกรัมของไข่ไก่ 10 ฟอง เป็นดังนี้ 5 7 8 6 7 8 9 7 0 4 4 7 8 1 ข้อสรุปใดเป็นเท็จ (O-NET ปี กศ.52/53) 1. ฐานนิยมของน้าหนักของไข่ไก่มีเพียงค่าเดียว 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานของน้าหนักของไข่ไก่มีค่าเท่ากัน 3. มีไข่ไก่ 5 ฟองที่มีน้าหนักน้อยกกว่า 70 กรัม 4. ไข่ไก่ที่มีน้าหนักสูงกว่าฐานนิยม มีจานวนมากกว่า ไข่ไก่ที่มีน้าหนักเท่ากับฐานนิยม
  • 18. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 18 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ สรุปเนื้อหาสาระสาคัญ เรือง สถิติ ่ (การวัดตาแหน่ง/กระจาย)
  • 19. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 19 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 37. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้ 10, 5, 6, 9, 12, 15, 8, 18 ค่าของ P80 ใกล้เคียงกับข้อใด ต่อไปนี้มากที่สุด (O-NET: ปี กศ.51/52) 1. 15.1 2. 15.4 3. 15.7 4. 16.0 38. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่งแสดงด้วยแผนภาพต้น-ใบได้ดังนี้ 3 0 4 9 4 0 7 7 8 8 8 5 0 0 1 2 2 3 4 6 6 7 7 8 8 9 6 0 2 3 3 6 8 9 7 0 1 เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ของคะแนนสอบนี้เท่ากับคะแนนเท่าใด (O-NET ปี กศ.53/54)
  • 20. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 20 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 39. ข้อมูลชุดหนึ่ง ถ้าเรียงจากน้อยไปมากแล้ว ได้เป็นลากับเลขคณิตต่อไปนี้ 2, 5, 8, …, 92 ควอไทล์ที่ 3 ของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.50/51) 1. 68 2. 69 3. 71 4. 72 40. คะแนนสอบของผู้เข้าสอบ 15 คน เป็นดังนี้ 45, 54, 59, 60, 62, 64, 65, 68, 70, 72, 73, 75, 76, 80, 81 ถ้าเกณฑ์ในการสอบผ่าน คือ ต้องได้คะแนนไม่ต่ากว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 60 แล้ว ข้อใด ต่อไปนี้เป็นคะแนนต่าสุดของผู้ที่สอบผ่าน (O-NET: ปี กศ.50/51) 1. 68 คะแนน 2. 70 คะแนน 3. 72 คะแนน 4. 73 คะแนน
  • 21. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 21 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 41. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 19 จานวนต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50) 6 8 9 12 12 15 15 16 18 19 20 20 21 22 23 24 25 30 30 ควอไทล์ที่ 3 มีค่าต่างตากเปอร์เซ็นไทล์ที่ 45 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50) 1. 4 2. 5 3. 6 4. 7 42. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 10 จานวน ประกอบด้วยจานวนต่อไปนี้ 4, 8, 8, 9, 14, 15, 18, 18, 22, 25 ควอร์ไทล์ที่สามของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด (O-NET: ปี กศ.48/49 อัตนัย)
  • 22. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 22 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 43. เมื่อพิจารณาผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 39 คน พบว่า เปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ของคะแนนสอบเท่ากับ 35 คะแนน และมีนักเรียน 30 คน ได้คะแนนน้อยกว่าหรือ เท่ากับ 80 คะแนน ถ้ามีนักเรียนที่สอบได้ 35 คะแนนเพียงคนเดียว แล้ว จานวนนักเรียน ที่สอบได้คะแนนในช่วง 35 – 80 คะแนนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.48/49) 1. 18 คน 2. 19 คน 3. 20 คน 4. 21 คน 44. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 5 จานวน ถ้าควอไทล์ที่หนึ่ง ควอไทล์ที่สอง และควอไทล์ที่สาม เท่ากับ 18, 25 และ 28 ตามลาดับแล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O- NET: ปี กศ.49/50) 1. 23.4 2. 23.7 3. 24.0 4. 24.3
  • 23. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 23 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 45. นักเรียนกลุ่มหนึ่งจานวน 80 คน ซึ่งมี ลาเจียก ลาดวน และลาพู รวมอยู่ด้วย ปรากฏผล การสอบดังนี้ ลาดวนได้คะแนนตรงกับควอไทล์ที่สาม ลาพูได้คะแนนตรงกับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ลาเจียกได้คะแนนเป็นลาดับที่ 30 เมื่อเรียงคะแนนจากมากไปหาน้อย ข้อใดต่อไปนี้เป็นการเรียงรายชื่อของผู้ที่ได้คะแนนน้อยไปหาผู้ที่ได้คะแนนมาก (O-NET: ปี กศ.50/51) 1. ลาพู ลาเจียก ลาดวน 2. ลาพู ลาดวน ลาเจียก 3. ลาเจียก ลาพู ลาดวน 4. ลาเจียก ลาดวน ลาพู 46. จากการตรวจสอบลาดับที่ของคะแนนสอบของนาย ก และนาย ข ในวิชาคณิตศาสตร์ที่ มีผู้เข้าสอบ 400 คน ปรากฏว่านาย ก สอบได้คะแนนอยู่ในตาแหน่งควอร์ไทล์ที่ 3 และ นาย ข สอบได้คะแนนอยู่ในตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 60 จานวนนักเรียนที่สอบได้คะแนน ระหว่างคะแนนของนาย ก และนาย ข มีประมาณกี่คน (O-NET ปี กศ.52/53) 1. 15 คน 2. 30 คน 3. 45 คน 4. 60 คน
  • 24. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 24 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 47. จากแผนภาพกล่องของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน จาแนกตามเพศ เป็นดังนี้ คะแนนสอบของนักเรียนหญิง คะแนนสอบของนักเรียนชาย 0 100 ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.48/49) 1. คะแนนสอบเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชายสูงกว่าคะแนนสอบเฉลี่ยวิชา คณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิง 2. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชายมีการกระจายเบ้ขวา 3. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิงมีการกระจายมากกว่าคะแนนสอบวิชา คณิตศาสตร์ของนักเรียนชาย 4. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิงมีการกระจายเบ้ขวา 48. จากการทดสอบนักเรียนจานวน 100 คนใน 2 รายวิชา แต่ละรายวิชามีคะแนนเต็ม 150 คะแนน ถ้าผลการทดสอบทั้งสองรายวิชา เขียนเป็นแผนภาพกล่องได้ดังนี้ คะแนนสอบรายวิชาที่ 1 คะแนนสอบรายวิชาที่ 2 0 20 40 60 80 100 120 140 แล้ว ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.49/50) 1. คะแนนสอบทั้งสองรายวิชามีการแจกแจงปกติเท่ากัน 2. จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนไม่เกิน 80 คะแนนในรายวิชาที่ 1 มากกว่าจานวนนักเรียน ที่ได้คะแนนไม่เกิน 80 คะแนนในรายวิชาที่ 2 3. คะแนนสูงสุดที่อยู่ในกลุ่ม 25% ต่าสุด ของผลการสอบรายวิชาที่ 1 น้อยกว่า คะแนน สูงสุดที่อยู่ในกลุ่ม 25% ต่าสุด ของผลการสอบรายวิชาที่ 2 4. จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนระหว่าง 60 – 80 คะแนนในการสอบรายวิชาที่ 2 น้อยกว่า จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนในช่วงเดียวกัน ในการสอบรายวิชาที่ 1
  • 25. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 25 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 49. คะแนนสอบความรู้ทั่วไปของนักเรียน 200 คน นาเสนอโดยใช้แผนภาพกล่องดังนี้ ข้อใดเป็นเท็จ (O-NET ปี กศ.52/53) 1. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 12 ถึง 16 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 16 ถึง 18 คะแนน 2. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 12 ถึง 18 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 18 ถึง 24 คะแนน 3. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 10 ถึง 12 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 18 ถึง 24 คะแนน 4. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 10 ถึง 16 คะแนน มีเท่ากับจานวนนักเรียนที่ทาได้ 16 ถึง 24 คะแนน 50. เมื่อสองปีก่อน นักเรียนห้องหนึ่งมี 30 คน แบ่งออกได้เป็นสองกลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งมี 10 คน ทุกคนมีอายุ 10 ปี และ กลุ่มที่สองมี 20 คน มีอายุเฉลี่ย 8.5 ปี ถ้าความแปรปรวนของอายุนักเรียนในกลุ่มที่สองเท่ากับ 0 แล้ว ในปัจจุบัน ความ แปรปรวนของอายุนักเรียนในห้องนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.49/50) 1. 12 2. 23 5 3. 2 4. 8 3
  • 26. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 26 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 51. กาหนดให้ ข้อมูลชุดหนึ่งซึ่งประกอบด้วย x1, x2, …, x10 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ x และ ข้อมูลชุดที่สองประกอบด้วย y1, y2, …, y20 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ y 10 2 20 2 โดยที่  ( xi  x ) = 160,  ( yi  y ) = 110 และ x = y i 1 i 1 ถ้านาข้อมูลทั้งสองชุดมารวมเป็นชุดเดียวกันแล้ว ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด ใหม่เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O-NET: ปี กศ.50/51) 1. 3 2. 5 3. 7 4. 9 52. พนักงานโรงงานแห่งหนึ่งมีจานวน 1,000 คน ได้รับเงินเดือนเฉลี่ยคนละ 8,000 บาท มี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1,000 ถ้าการกระจายของเงินเดือนพนักงานโรงงานแห่งนี้เป็น แบบปกติแล้ว ข้อสรุปใดต่อไปนี้ผิด (O-NET: ปี กศ.50/51) 1. พนักงานจานวนน้อยกว่า 100 คน ได้รับเงินเดือนน้อยกว่า 6,000 บาท 2. พนักงานอย่างมาก 930 คน ได้รับเงินเดือนมากกว่าหรือเท่ากับ 6,000 บาท 3. พนักงานที่ได้รับเงินเดือนมากกว่า 10,000 บาท มีจานวนน้อยกว่า 70 คน 4. ถ้าในปีต่อไปพนักงานได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นคนละ 400 บาท แล้ว ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานของเงินเดือนพนักงานโรงงานนี้ยังคงเดิม
  • 27. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 27 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ 53. ข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 20 มัธยฐานเท่ากับ 25 และฐานนิยมเท่ากับ 30 ข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET: ปี กศ.51/52) 1. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็นการกระจายที่เบ้ทางซ้าย 2. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็นการกระจายที่เบ้ทางขวา 3. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็นการกระจายแบบสมมาตร 4. ไม่สามารถระบุลักษณะการกระจายของข้อมูลได้ 54. ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงลาดับจากน้อยไปมากดังนี้ 2 3 3 x 4 y 7 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 4 และ 4 7 ตามลาดับ แล้ว y – x มีค่าเท่าใด (O-NET ปี กศ.53/54)
  • 28. ข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ~ 28 ~ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สถิติ อย่าถามเลยว่า...โรงเรียนนี้มอบอะไรให้แก่ท่านบ้าง แต่จงถามว่า...ท่านได้มอบอะไรไว้ให้แก่โรงเรียนนี้บ้าง ตั้งใจทาข้อสอบนะครับ... เพราะอย่างน้อย... นี่คือครั้งสุดท้ายที่ท่านจะตอบแทนโรงเรียน (และคุณครู) ในฐานะนักเรียนโคกยางวิทยา