SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
เครื่องมือในการวิจัย   |1



                                        เครื่องมือในการวิจัย

ความหมายของเครื่องมือในการวิจัย
       เครื่องมือวิจัย (ชมรมชีวอนามัยเพื่อความปลอดภัย มสธ., ม.ป.ป.) หมายถึง เปนอุปกรณ
หรือเทคนิคที่นักวิจัยใชในการเก็บรวบรวมขอมูลหรือวัดตัวแปรที่ตองการศึกษา เชนแบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ (นายศรัณยู หมื่นเดชและนายชานันท ประภา)
      เครื่องมือที่ใชในการวิจัย (มาเรียม นิลพันธุ, 2553 หนา 157) คือสิ่ง/อุปกรณ ที่ผูวิจัยสราง
ขึ้นมา เพื่ อรวบรวมขอ มูล หรื อ ใชเ ปนสิ่ง วัดตัวแปร เพื่ อใหไดมาซึ่ง ขึ้นมู ล โดยผูวิจัยควรเลื อกใช
เครื่องมือใหเหมาะสมกับตัวแปรที่ตองการวัด หรือ ตรงกับวัตถุประสงคของการวิจัย และตองเปน
เครื่องมือที่มีคุณภาพ (นางสาววณิชชา แมนยํา)
          เครื่องมือการวิจัย (อดุลเดช ไศลบาท. 2555 : ออนไลน) หมายถึง เครื่องมือ อุปกรณ หรือสิ่ง
ที่ใชเปนสื่อสําหรับนักวิจัย ใชในการรวบรวมขอมูลตามตัวแปรในการวิจัยที่กําหนดไว ขอมูลดังกลาว
อาจเปนไดทั้งขอมูลเชิงปริมาณ และขอมูลเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิจัย นับเปนสวนหนึ่งของการวิจัย
ทุกชนิด ไมวาจะเปนการศึกษาเฉพาะกรณี การวิจัยเชิงสํารวจ การวิจัยเชิงทดลอง (นางสาววิลาวัลย
สมยาโรน)
      เครื่องมือที่ใชในการวิจัย (Research Instruments) (มาลัยทิพย อมตฉายา, ม.ป.ป.) เปน
สิ่งที่ผูวิจัยนํามาใชใหไดมา ซึ่งขอมูล (Data) เพื่อนําไปวิเคราะหแลวสรุปออกมาเปนผลของการวิจัย
(นางสาววิลาวัลย สมยาโรน)
              เครื่องมือวิจัย (มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ม.ป.ป.) หมายถึง สิ่งที่ใชสําหรับวัดคาของตัวแปร
การวิจัย หรือใชสําหรับเก็บรวบรวมขอมูลของตัวแปรการวิจัยทุกตัวแปรของปญหาการวิจัยที่ผูวิจัย
กําลังทําการวิจัยเพื่อหาคําตอบ เครื่องมือวิจัยมีหลายประเภท เชน แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบ
สัมภาษณ และแบบสังเกต เปนตน (นายศรัณยู หมื่นเดช)
       กลาวโดยสรุป เครื่องมือในการวิจัย หมายถึง สิ่งที่นํามาใชในการรวมรวบขอมูล หรือวัดตัว
แปรในการวิจัย เพื่อนําไปวิเคราะหแลวสรุปผลการวิจัยตอไป
เครื่องมือในการวิจัย   |2



ประเภทของเครื่องมือในการวิจัย
      วิกร ตันทวุฑโดม (ม.ป.ป.) เครื่องมือในการวิจัย อาจจําแนกไดเปนสองประเภทไดแก
        1. เครื่องมือในการดําเนินการวิจัย คือ ชิ้นงานหรือสิ่งประดิษฐที่พัฒนาขึ้นและยังครอบคลุม
ถึงรูปแบบหรือแบบจําลองที่พัฒนาขึ้น
         2. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนเครื่องมือที่ใชในการวัดตัวแปรตาง ๆ
         (นางสาวชไมพร ศรีสุราช)
        พวงรัตน ทวีรัตน (2540) กลาววา ในการเก็บรวบรวมขอมูลเพือการวิจัยนั้น จะใชเครื่องมือ
                                                                             ่
ชนิดใด ยอมขึ้นอยูกับลักษณะของเรื่องที่จะวิจัยวาเปนแบบใด ตองการขอมูลชนิดใด เพราะขอมูลที่ใช
ในการวิจั ย มี อ ยูห ลายลั ก ษณะดัง กล าวแล ว และเครื่ อ งมื อ ที่ ใชในการเก็ บ รวบรวมขอ มู ล ก็ แบ ง
ออกเปนหลายชนิด แตละชนิดของเครื่องมือก็เหมาะกับขอมูลแตลักษณะ                    ซึ่ ง เครื่ อ งมื อ วิ จั ยทาง
สังคมศาสตร นั้นมีอยูหลายชนิด แตที่นิยมใชมีอยู 5 ชนิด คือ
            1. แบบทดสอบ
            2. แบบสอบถาม
            3. แบบสัมภาษณ
            4. มาตราวัดทัศนคติ
           5. แบบสังเกต (นางสาววณิชชา แมนยํา)
       ประเภทของเครื่องมือในงานวิจัย (มาเรียม นิลพันธุ, 2553 หนา 157) ในการวิจัยทาง
การศึกษาดานหลักสูตรการเรียนการสอนและการนิเทศ มีเครื่องมือ สําคัญ ที่นิยมใชในงานวิจัย คือ
            1. แบบสอบถาม
            2. แบบทดสอบ
            3. แบบสัมภาษณ
            4. แบบสังเกต
             5. ประเด็นสนทนากลุม
         อดุลเดช ไศลบาท (2555) ไดแบงประเภทเครื่องมือของการวิจัยไว ดังนี้
         1. เครื่องมือในการทดลอง มักเปนอุปกรณทางวิทยาศาสตรที่มีคุณภาพไดมาตรฐาน
         2. เครื่องมือในการรวบรวมขอมูล ไดแก
             - แบบสอบถาม
เครื่องมือในการวิจัย   |3



            - แบบสัมภาษณ
            - แบบทดสอบ/แบบวัดความรู
            - แบบบันทึกขอมูล/แบบบันทึกการสังเกต
            - แบบตรวจสอบ/บันทึกรายการ
        ชมรมอาชีวอนามั ยเพื่ อ ความปลอดภัย มสธ. (ม.ป.ป.) กล าววา เครื่ อ งมื อ วิจั ยทางดาน
สรีรวิทยา และเครื่องมือทางวิทยาศาสตรอื่น ๆ แบงไดเปน 3 ลักษณะ
          1. เครื่อ งมือ วัดทางดานกายภาพ เชน เครื่อ งมือ วัดแสง เสียง ฝุนในอากาศ อุณหภูมิ
ความดันโลหิต น้ําหนัก สวนสูง
          2. เครื่องมือวัดทางเคมี เชน เครื่องมือในการตรวจเลือดหาระดับน้ําตาล แอลกอฮอล
หรือสวนประกอบอื่นๆ
          3. เครื่องมือวัดทางจุลชีวะ เชน เครื่องมือตรวจวัดแบคทีเรียในเลือด ปสสาวะ การเพราะ
เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส
        มาลัยทิพ ย อมตฉายา (ม.ป.ป.) กล าววา การวิจัยในทางสัง คมศาสตร แบง ลัก ษณะของ
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปน 4 แบบ ดังนี้
              1.แบบทดสอบ Test
            2.แบบสัมภาษณ Interview Form
            3.แบบสังเกต Observation Form
            4.แบบสอบถาม Questionnaire (นางสาววิลาวัลย สมยาโรน)
      สรุป ประเภทของเครื่องมือในการวิจัยทางสังคมศาสตร ที่เนนวิจัยทางการศึกษา แบงเปน 2
ประเภทหลัก ไดแก
         1. เครื่องมือที่ใชในการดําเนินงานวิจัย เชน E-book, CAI, WBI, WBT, ฯลฯ
         2. เครื่อ งมื อที่ใชในการรวบรวมขอ มูล เชน แบบสอบถาม แบบสัม ภาษณ แบบสัง เกต
แบบทดสอบ
เครื่องมือในการวิจัย   |4



       ในที่นี้ ผูจัดทําขอนําเสนอเครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ
แบบสังเกต และแบบทดสอบ ดังรายละเอียดตอไปนี้


1. แบบสอบถาม (นางสาววิลาวัลย สมยาโรน)
          1.1 ความหมาย
             อวยพร เรื อ งตระกู ล ม.ป.ป ได นิ ย ามคํ า ว า แบบสอบถามไว ดั ง นี้ แบบสอบถาม
(questionnaire) คือ ขอเท็จจริง ความรูสึกความคิดเห็น เชนเดียวกันกับ (อุทุมพร จามรมาน. 2544)
ทีกลาววา แบบสอบถาม หมายถึง รูปแบบของคําถามเปนชุดๆ ที่ไดถูกรวบรวมไวอยางมีหลักเกณฑ
และเปนระบบ เพื่อใชวัดสิ่งที่ผูวิจัยตองการจะวัดจากกลุมตัวอยางหรือประชากรเปาหมายใหไดมาซึ่ง
ขอเท็จจริงทั้ งในอดีต ปจ จุบันและการคาดคะเนเหตุก ารณในอนาคต แบบสอบถามประกอบดวย
รายการคําถามที่สรางอยางประณีต เพื่อรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นหรือขอเท็จจริง โดยสงให
กลุมตัวอยางตามความสมัครใจ การใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลนั้น การ
สร า งคํ า ถามเป น งานที่ สํ า คั ญ สํ าหรั บ ผู วิ จั ย เพราะวา ผู วิ จั ย อาจไม มี โ อกาสได พ บปะกั บ ผู ต อบ
แบบสอบถามเพื่ออธิบายความหมายตาง ๆ ของขอคําถามที่ตองการเก็บรวบรวม แบบสอบถาม เปน
เครื่องมื อวิจัยชนิดหนึ่งที่ นิยมใชกั นมาก เพราะการเก็บรวบรวมขอมูลสะดวกและสามารถใชวัดได
อยางกวางขวาง การเก็บขอมูลดวยแบบสอบถามสามารถทําไดดวยการสัมภาษณหรือใหผูตอบดวย
ตนเอง
           ดังนั้นจึงสรุปไดวา แบบสอบถาม คือเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อใหได
ขอคิดเห็นหรือขอเท็จจริง โดยใชคําถามที่รวบรวมไวอยางมีหลักเกณฑและเปนระบบ


          1.2 ประเภทของแบบสอบถาม
             มารยาท โยทองยศ (ม.ป.ป) กลาววา แบบสอบถามอาจแบงไดเปน 2 ประเภท คือ
               1. คําถามปลายเปด (Open Ended Question) เปนคําถามที่เปดโอกาสใหผูตอบ
สามารถตอบไดอยางเต็มที่ คําถามปลายเปดจะนิยมใชกันมากในกรณีที่ผูวิจัยไมสามารถคาดเดาได
ลวงหนาวาคําตอบจะเปนอยางไร หรือใชคําถามปลายเปดในกรณีที่ตองการไดคําตอบเพื่อนํามาเปน
แนวทางในการสรางคําถามปลายปด ตัวอยางคําถามปลายเป ด เชน ทานตัดสิ นใจประกอบอาชีพ
คาขาย เพราะ......
เครื่องมือในการวิจัย   |5



             2. คําถามปลายปด (Close Ended Question) เปนคําถามที่ผูวิจัยมีแนวคําตอบไวให
ผูตอบเลือกตอบจากคําตอบที่กําหนดไวเทานั้น คําตอบที่ผูวิจัยกําหนดไวลวงหนามักไดมาจากการ
ทดลองใชคําถามในลัก ษณะที่เ ปนคําถามปลายเป ด แล วนํามาจั ดกลุม ของคําตอบ หรื อไดม าจาก
การศึกษาผลการวิจัยที่เกี่ยวของ หรือจากแนวความคิดของผูวิจัยเอง และจากขอมูลอื่นๆ
           อดุลยเดช ไศลบาท. (ม.ป.ป.) กลาววา แบบสอบถาม มี 2 ประเภท คือ
              1. แบบปลายเปด Open-ended Form ประกอบดวยขอความ หรือขอคําถามที่เปด
โอกาสใหผูตอบ ขยายความคิดเห็นหรือใหรายละเอียดของคําตอบที่จะแสดงถึงความรูสึก อารมณ
พฤติกรรมของตนเองไดอยางกวางขวาง ซึ่งมีขอดีและขอเสีย ดังนี้
               ขอดี คือไดรายละเอียดมาก ไมจํากัดขอบเขตของคําตอบ
               ขอเสีย คือยากตอการวิเคราะหแปลผล
              2. แบบปลายป ดแบบมี โ ครงสร าง Close ended/Closed Form/Structured
Question เปนขอคําถามที่กําหนดตัวเลือกคําตอบไวชัดเจน เพื่อใหผูตอบเลือกไดตรงกับความเปน
จริงหรือความรูสึก
                ขอดี คือ ครอบคลุมเนื้อหาที่ตองการถาม สามารถวิเคราะหไดไมยุงยาก
                ขอเสีย คือ จํากัดขอบเขตของคําตอบ
          จากนั ก วิ ช าทั้ ง สองท า นที่ ก ล า วมา สรุ ป ได ว า แบบสอบถามมี 2 ประเภท คื อ
แบบสอบถามปลายเป ด ที่ มี ขอ ดี คือ คือ ไดร ายละเอี ยดมาก ไม จํ ากั ดขอบเขตของคําตอบ และ
แบบสอบถามปลายปด ที่มีขอดี คือครอบคลุมเนื้อหาที่ตองการถาม สามารถวิเคราะหไดไมยุงยาก
        การสรางแบบสอบถาม
           อุทุมพร จามรมาน. (2544) ไดกลาววา การสรางแบบสอบถามที่ดี ควรเปนดังนี้
              1. สอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย
              2. ใชภาษาที่เขาใจงาย เหมาะสมกับผูตอบ
              3. ใชขอความที่สั้น กะทัดรัด ไดใจความ
              4. แตละคําถามควรมีนัย เพียงประเด็นเดียว
              5. หลีกเลี่ยงการใชประโยคปฏิเสธซอน
              6. ไมควรใชคํายอ
              7. หลีกเลี่ยงการใชคําที่เปนนามธรรมมาก
เครื่องมือในการวิจัย   |6



                8. ไมชี้นําการตอบใหเปนไปแนวทางใดแนวทางหนึ่ง
                9. หลีกเลี่ยงคําถามที่ทําใหผูตอบเกิดความลําบากใจในการตอบ
                10. คําตอบที่มีใหเลือกตองชัดเจนและครอบคลุมคําตอบที่เปนไปได
                11. หลีกเลี่ยงคําที่สื่อความหมายหลายอยาง
          12. ไมควรเป นแบบสอบถามที่มี จํานวนมากเกินไป ไมควรใหผูตอบใชเวลาในการ
ตอบแบบสอบถามนานเกินไป
               13. ขอคําถามควรถามประเด็นที่เฉพาะเจาะจงตามเปาหมายของการวิจัย
               14. คําถามตองนาสนใจสามารถกระตุนใหเกิดความอยากตอบ
            มารยาท โยทองยศ (ม.ป.ป) กลาวถึง ขั้นตอนการสรางแบบสอบถามไววา
                ขั้นที่ 1 ศึกษาคุณลักษณะที่จะวัด
                   ผูวิจัยจะตองทราบวาคุณลักษณะหรือประเด็นทีจะวัดใหมอะไรบาง โดยอาจดูไดจาก
                                                              ่        ี
วัตถุประสงคของการวิจัย กรอบแนวความคิดหรือสมมติฐานการวิจัย จากนั้นจึงศึกษาคุณลักษณะหรือ
ประเด็นที่จะวัดดังกลาวใหเขาใจอยางละเอียดทั้งเชิงทฤษฎีและนิยามเชิงปฏิบัติการ ซึ่งอาจไดจาก
เอกสาร ตําราหรือผลการวิจัยตางๆ ที่มีลักษณะเดียวกันหรือใกลเคียงกัน
             ขั้นที่ 2 กําหนดประเภทของขอคําถาม
                   ผูวิจัยจะตองพิจารณาประเภทของขอคําถามที่จะวัดคุณลักษณะที่ตองการ
                ขั้นที่ 3 การรางแบบสอบถาม
                   เมื่ อผู วิจั ยทราบถึง คุณลั กษณะหรื อ ประเด็นที่จ ะวัด และกํ าหนดประเภทของขอ
คําถามที่ จ ะมี อ ยูในแบบสอบถามเรี ยบร อ ยแล ว ผู วิจั ยจึ ง ลงมื อ เขียนข อ คําถามให ครอบคลุ ม ทุ ก
คุณลัก ษณะหรือประเด็นที่ จะวัด โดยเขียนตามโครงสรางของแบบสอบถามที่ไดกล าวไวแลว และ
หลักการในการสรางแบบสอบถาม ดังนี้
              1. ตองมีจุดมุงหมายที่แนนอนวาตองการจะถามอะไรบาง โดยจุดมุงหมายนั้นจะตอง
สอดคลองกับวัตถุประสงคของงานวิจัยที่จะทํา
               2. ตองสรางคําถามใหตรงตามจุดมุงหมายที่ตั้งไว เพื่อปองกันการมีขอคําถามนอก
ประเด็นและมีขอคําถามจํานวนมาก
เครื่องมือในการวิจัย   |7



                3. ตองถามใหครอบคลุม เรื่องที่ จะวัด โดยมีจํานวนขอคําถามที่พ อเหมาะ ไมมาก
หรือนอยเกินไป แตจะมากหรือนอยเทาใดนั้นขึ้นอยูกับพฤติกรรมที่จะวัด ซึ่งตามปกติพฤติกรรมหรือ
เรื่องที่จะวัดเรื่องหนึ่งๆ นั้นควรมีขอคําถาม 25-60 ขอ
                    4. การเรียงลําดับ ขอ คําถาม ควรเรียงลํ าดับให ตอ เนื่องสั มพั นธกัน และแบง ตาม
พฤติกรรมยอยๆ ไวเพื่อใหผูตอบเห็นชัดเจนและงายตอการตอบ นอกจากนั้นตองเรียงคําถามงายๆ ไว
เปนขอแรกๆ เพื่อชักจูงใหผูตอบอยากตอบคําถามตอ สวนคําถามสําคัญๆ ไมควรเรียงไวตอนทายของ
แบบสอบถาม เพราะความสนใจในการตอบของผูตอบอาจจะนอยลง ทําใหตอบอยางไมตั้งใจ ซึ่งจะ
สงผลเสียตอการวิจัยมาก
                5. ลักษณะของขอความที่ดี ขอคําถามที่ดีของแบบสอบถามนั้น ควรมีลักษณะดังนี้
                5.1 ข อ คํ า ถามไม ค วรยาวจนเกิ น ไป ควรใช ข อ ความสั้ น กะทั ด รั ด ตรงกั บ
วัตถุประสงคและสองคลองกับเรื่อง
                   5.2 ขอความ หรือภาษาที่ใชในขอความตองชัดเจน เขาใจงาย
                   5.3 ไมใชคําถามนําหรือแนะใหตอบ
                   5.4 ไมถามเรื่องที่เปนความลับเพราะจะทําใหไดคําตอบที่ไมตรงกับขอเท็จจริง
                   5.5 ไมควรใชขอความที่มีความหมายกํากวมหรือขอความที่ทําใหผูตอบแตละคน
เขาใจความหมายของขอความไมเหมือนกัน
               5.6 ไมถามในเรื่องที่รูแลว หรือถามในสิ่งที่วัดไดดวยวิธีอื่น
               5.7 ขอคําถามตอ งเหมาะสมกับ กลุ มตัวอยาง คือ ตองคํานึง ถึง ระดับ การศึกษา
ความสนใจ สภาพเศรษฐกิจ ฯลฯ
              5.8 ขอคําถามหนึ่งๆ ควรถามเพียงประเด็นเดียว เพื่อใหไดคําตอบที่ชัดเจนและ
ตรงจุดซึ่งจะงายตอการนํามาวิเคราะหขอมูล
                   5.9 คําตอบหรือตัวเลือกในขอคําถามควรมีมากพอ หรือใหเหมาะสมกับขอคําถาม
นั้น แตถาไมสามารถระบุไดหมดก็ใหใชวา อื่นๆ โปรดระบุ ……………….
                   5.10 ควรหลีกเลี่ยงคําถามที่เกี่ยวกับคานิยมที่จะทําใหผูตอบไมตอบตามความเปน
จริงเชน ทานมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศหรือไม
                 5.11 คําตอบที่ไดจากแบบสอบถาม ตอ งสามารถนํามาแปลงออกมาในรู ปของ
ปริมาณและใชสถิติอธิบายขอเท็จจริงได เพราะปจจุบันนี้นิยมใชคอมพิวเตอรในการวิเคราะหขอมูล
เครื่องมือในการวิจัย   |8



ดังนั้นแบบสอบถามควรคํานึงถึงวิธีการประมวลขอมูลและวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร
ดวย
                      ขั้นที่ 4 การปรับปรุงแบบสอบถาม
                          หลังจากที่สรางแบบสอบถามเสร็จแลว ผูวิจัยควรนําแบบสอบถามนั้นมาพิจารณา
ทบทวนอีกครั้งเพื่อหาขอบกพรองที่ควรปรับปรุงแกไข และควรใหผูเชี่ยวชาญไดตรวจแบบสอบถาม
นั้นดวยเพื่อที่จะไดนําขอเสนอแนะและขอวิพากษวิจารณของผูเชี่ยวชาญมาปรับปรุงแกไขใหดียิ่งขึ้น
              ขั้นที่ 5 นําแบบสอบถามไปทดลองใชเพื่อวิเคราะหคุณภาพ
                  เปนการนําเอาแบบสอบถามที่ไดปรับปรุงแลวไปทดลองใชกับกลุมตัวอยางเล็กๆ
เพื่อนําผลมาตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม
                      ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแบบสอบถามใหสมบูรณ
                          ผู วิ จั ย จะต อ งทํ า การแก ไ ขข อ บกพร อ งที่ ไ ด จ ากผลการวิ เ คราะห คุ ณ ภาพของ
แบบสอบถาม และตรวจสอบความถูก ตอ งของถอ ยคําหรื อ สํ านวน เพื่ อให แบบสอบถามมี ความ
สมบูรณและมีคุณภาพผูตอบอานเขาใจไดตรงประเด็นที่ผูวิจัยตองการ ซึ่งจะทําใหผลงานวิจัยเปนที่
นาเชื่อถือยิ่งขึ้น
                      ขั้นที่ 7 จัดพิมพแบบสอบถาม
                จั ดพิ ม พ แ บบสอบถามที่ ไดป รั บ ปรุ ง เรี ยบร อ ยแล วเพื่ อ นําไปใชจ ริ ง ในการเก็ บ
รวบรวมขอมูลกับกลุมเปาหมาย โดยจํานวนที่จัดพิมพควรไมนอยกวาจํานวนเปาหมายที่ตองการเก็บ
รวบรวมขอมูล และควรมีการพิมพสํารองไวในกรณีที่แบบสอบถามเสียหรือสูญหายหรือผูตอบไมตอบ
กลับนอกจากนี้ โครงการฮักชุมชนอําเภอสันกําแพง. (2554) ยังไดกลาวถึง การสรางแบบสอบถาวา
ควรมีขั้นตอน ดังนี้
                 1. กําหนดวัตถุประสงคของการเก็บขอมูล วัตถุประสงคที่ ชัดเจน และสะทอนให
เห็นปริมาณขอมูลที่จะไดรับจากการสอบถาม จะชวยในการวางขอบเขตของคาถามและการวัด
                         2. ตัดสินใจวาตองการวัดอะไร เชน ทัศนคติ ความรู พฤติกรรม/การปฏิบัติ ทักษะ
ลักษณะประชากร
                         3. ระบุกลุมเปาหมาย จะถามใครจึงจะไดขอมูลที่ตองการ อาจมีการทดลองนาไป
ถามกลุมคนที่มีลักษณะเหมือนกับผูที่จะเปนกลุมเปาหมายกอนเพื่อดูวาแบบสอบถามใชไดกับคนกลุม
นั้นหรือไม
เครื่องมือในการวิจัย   |9



                 4. เลือกระดับการวัด
                 5. ตรวจสอบความนาเชื่อถือ เปนการวัดความสอดคลองของผลลัพธที่ไดจากการ
ใชแบบสอบถาม ความสอดคลอง หมายความวาผูตอบเขาใจความหมายที่แทจริงของคาถามตามที่
เขียน และ อดุลยเดช ไศลบาท. (ม.ป.ป.) กลาวถึง แนวทางในการสรางแบบสอบถามไวดังนี้
                   1. กํ าหนดขอบขายแนวคิดเรื่องราวที่จ ะตอบใหชัดเจน โดยการจัดลําดับ หัวขอ
ใหญ หัวขอยอย เชน ตองการถามเกี่ยวกับการอบรม อสม
                        ปจจัยนําเขา                   กระบวนการ
                        ผลลัพธ                         เนื้อหา
                        บรรยากาศ                        ผลสัมฤทธิ์ของการอบรม
                        สถานที่                         ปฏิสัมพันธ
                        เจตคติ
               2. เขียนขอความหรือขอคําถามจากหัวขอยอยๆ ทุกหัวขอ เชน เนื้อหาความรูที่ใช
อบรม อสม. เปนความรูที่ อสม. จะสามารถนําไปใชปฏิบัติงานไดที่ระดับใด
                        [ ] มาก
                        [ ] ปานกลาง
                        [ ] นอย
                        [ ] ใชไมได โปรดระบุ................................
                 3. จัดเรียงลําดับขอคําถาม มีรายละเอียดการชี้แจงการใชแบบสอบถาม
                 4. กอนนําแบบสอบถามไปใชจริง ควรประเมินความถูกตองและทดลองหาคําตอบ
จากทุกขอคําถามกอน
             สรุปไดวา ขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม จะตองกําหนดขอบขายแนวคิดเรื่องราวที่
จะตอบใหชัดเจน เขียนขอคําถามและจัดเรียง หาคุณภาพ และนําไปใช
เครื่องมือในการวิจัย   | 10



        1.3 การตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม
           มารยาท โยทองยศ (ม.ป.ป) กล า วว า การวิ เ คราะห ห รื อ ตรวจสอบคุ ณ ภาพของ
แบบสอบถามทําไดหลายวิธี แตที่สําคัญมี 2 วิธี ไดแก
           1. ความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง เครื่องมือที่สามารถวัดไดในสิ่งที่ตองการวัด
โดยแบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ
                 1) ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) คือ การที่แบบสอบถามมีความ
ครอบคลุมวัตถุประสงคหรือพฤติกรรมที่ตองการวัดหรือไม คาสถิติที่ใชในการหาคุณภาพ คือ คาความ
สอดคล อ งระหวางขอ คําถามกั บ วัตถุประสงค หรื อ เนื้อ หา(IOC: Index of item Objective
Congruence) หรือดัชนีความเหมาะสม โดยใหผูเชี่ยวชาญ 3 คนขึ้นไป ประเมินเนื้อหาของขอถาม
เปนรายขอ
                   2) ความเที่ ย งตรงตามเกณฑ (Criterion-related               Validity)       หมายถึ ง
ความสามารถของแบบวัดที่สามารถวัดไดตรงตามสภาพความเปนจริง แบงออกไดเปนความเที่ยงตรง
เชิงพยากรณและความเที่ยงตรงตามสภาพ สถิติที่ใชวัดความเที่ยงตรงตามเกณฑ เชน คาสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ (Correlation Coefficient) ทั้งของ Pearson และ Spearman และ คา t-test เปนตน
                 3) ความเที่ยงตรงตามโครงสราง (Construct Validity) หมายถึงความสามารถ
ของแบบสอบถามที่สามารถวัดไดตรงตามโครงสรางหรือทฤษฎี ซึ่งมักจะมีในแบบวัดทางจิตวิทยาและ
แบบวัดสติปญญา สถิติที่ใชวัดความเที่ยงตรงตามโครงสรางมีหลายวิธี เชน การวิเคราะหองคประกอบ
(Factor Analysis) การตรวจสอบในเชิงเหตุผล เปนตน
                  2. ความเชื่ อมั่ น (Reliability) หมายถึง เครื่ องมื อ ที่ มี ความคงเส นคงวา นั่นคือ
เครื่องมือที่สรางขึ้นใหผลการวัดที่แนนอนคงที่จะวัดกี่ครั้งผลจะไดเหมือนเดิม สถิติที่ใชในการหาคา
ความเชื่อมั่นมีหลายวิธีแตนิยมใชกันคือ คาสัมประสิทธิ์แอลฟาของ คอนบารช (Conbach’s Alpha
Coefficient : α coefficient) ซึ่งจะใชสําหรับขอมูลที่มีการแบงระดับ การวัดแบบประมาณคา
(Likert Scale)
               วชิ ร พั น ธ เชื้ อ หมอ. (ม.ป.ป.) กล า วว า การตรวจสอบความเชื่ อ มั่ น ของ
แบบสอบถาม เป นการหาความสอดคลอ งภายในโดยพยายามอธิบ ายวาขอ คําถามแตล ะขอในขอ
คําถามชุดหนึ่ง นั้นเป นเรื่ อ งเดียวกั นหรื อ ทิ ศทางเดียวกั นในกรณีที่ ข อ คําถามเป น แบบมาตรส ว น
ประมาณคา นิยมใชสัมประสิทธิแอลฟา ( ∝ - Coefficient) เพื่อหาคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม
เครื่องมือในการวิจัย   | 11



(พิตร, 2544 : 225 อางถึงใน วชิรพันธ เชื้อหมอ. ม.ป.ป.) นอกจากนี้แลวอาจหาความเชื่อมั่นดวยการ
สอบซ้ําก็ได (สมคิด , 2538 : 34 อางถึงใน วชิรพันธ เชื้อหมอ. ม.ป.ป.) ถาตองการแสดงวาใชวัดกี่ครั้ง
ก็ใหผลคงที่
               วิกร ตันทวุฑโดม. (ม.ป.ป.) กลาววา แบบสอบถามเปนเครื่องมือวิจัยที่ใชมากในการ
เก็บรวบรวมขอมูลจากบุคคลโดยเฉพาะความรูสึกหรือความคิดเห็น (Blaxter, Hughes and Tight,
1996 : 159) ลักษณะสําคัญของแบบสอบถามคือไมมีคําตอบที่ถือวาผิด มักสรางขึ้นเพื่อใชเ ฉพาะ
                                                                                 
กรณีหรือเฉพาะเรื่อง การตรวจสอบคุณภาพพิจารณาตามความจําเปน ที่นิยมกันเปนการตรวจสอบ
ความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่น
              การตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม โดยทั่วไปดําเนินการโดยผูเชี่ยวชาญ
ตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมของเนื้อหา ขอคําถามครอบคลุมครบถวนตามทฤษฎีหรือแนวคิดและ
ครบถวนตามวัตถุประสงคหรือปญหาของการวิจัย( สมคิด, 2538, 34) บางกรณีอาจมีผูเชี่ยวชาญ
ทางดานเทคนิคการสรางแบบสอบถามเพื่อตรวจสอบความถูกตองของรูปแบบคําถามและการจัดขอ
คําถาม ถาเปนไปไดควรทําการวิเคราะหแบบสอบถามเปนรายขอ (ปญญา, 2548 : 42 -44) ควรมี
การทดลองนําไปใชกับกลุมตัวอยางกอนนําไปใชจริงก็จะดียิ่งขึ้น เพราะเปนการตรวจสอบอีกวาภาษา
ที่ใชในขอคําถามนั้นสื่อความหมายไดตรงกัน
            การตรวจสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เปน การหาความสอดคลองภายในโดย
พยายามอธิบายวาขอคําถามแตละขอในขอคําถามชุดหนึ่งนั้นเปนเรื่องเดียวกันหรือทิศทางเดียวกันใน
กรณีที่ขอคําถามเปนแบบมาตรสวนประมาณคา นิยมใช สัมประสิทธิแอลฟา ( ∝ - Coefficient)
เพื่อหาคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (พิตร, 2544 : 225) นอกจากนี้แลวอาจหาความเชื่อมั่นดวย
การสอบซ้ําก็ได (สมคิด , 2538 : 34) ถาตองการแสดงวาใชวัดกี่ครั้งก็ใหผลคงที่
          สรุปไดวา การหาคุณภาพของแบบสอบถามทําได 2 วิธี คือ การหาคาความเที่ยง และ
การหาคาความเชื่อมั่น
เครื่องมือในการวิจัย   | 12



        1.4 การนําไปใช
           อุทุมพร จามรมาน. (2544) กลาววา วิธีใชแบบสอบถามมี 2 วิธี คือการสงทางไปรษณีย
กับ การเก็ บขอ มู ลดวยตนเอง ซึ่ งไม วากรณีใดตองมี จดหมายระบุวัตถุป ระสงคของการเก็ บขอ มู ล
ตลอดจนความสําคัญของขอมูลและผลที่คาดวาจะไดรบ เพื่อใหผูตอบตระหนักถึงความสําคัญและสละ
                                                       ั
เวลาในการตอบแบบสอบถาม การทําใหอัตราตอบแบบสอบถามสูงเปนเปาหมายสําคัญของผูวิจัย
ขอมูลจากแบบสอบถามจะเปนตัวแทนของประชากรไดเมื่อมีจานวนแบบสอบถามคืนมามากวารอยละ
                                                   ํ
90 ของจํานวนแบบสอบถามที่สงไป แนวทางที่จะทําใหไดรับแบบสอบถามกลับคืนในอัตราที่สูง มี
วิธีการดังนี้
              1. มีการติดตามแบบสอบถามเมื่อใหเวลาผูตอบไประยะหนึ่ง ระยะเวลาที่เหมาะสมใน
การติดตามคือ 2 สัปดาห หลังครบกําหนดสง อาจจะติดตามมากกวาหนึ่งครั้ง
          2. วิธีการติดตามแบบสอบถาม อาจใชจดหมาย ไปรษณีย โทรศัพท เปนตน
           3. ในกรณีที่ขอคําถามอาจจะถามในเรื่องของสวนตัว ผูวิจัยตองใหความมั่นใจวาขอมูลที่
ไดจะเปนความลับ
                และวิกร ตันทวุฑโดม. (ม.ป.ป.) กลาววา แบบสอบนําไปใชเมื่อตองการเก็บรวบรวม
ขอมูลที่เปนความคิดเห็น ความตองการสภาพปญหา เปนตน โดยใหผูตอบเขียนหรือเลือกคําตอบ ซึ่ง
คําตอบนี้ไมมีถูกหรื อผิด อาจจะถามนักเรียนผูปกครอง หรือเพื่อนครู ขอมู ลที่ไดเป นทั้ง ขอมู ลเชิง
ปริมาณและขอมูลเชิงคุณภาพ
            สรุ ปไดวาเราสามารถนําแบบสอบถามไปใชกั บกลุ มเป าหมายได 2 วิธีคือ การส งทาง
ไปรษณีย กับการเก็บขอมูลดวยตนเอง
           ตัวอยางแบบสอบถาม
               1. แบบสอบถามแบบปลายเปด
                  ตามความคิดเห็นของทานระบบบริการสาธารณสุขแบบผสมผสานที่ดําเนินการอยู
ในพื้นที่นี้เปนอยางไรบาง
          …………………………………………………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………………………………………………
        …………………………………………………………………………………………………………………………………
เครื่องมือในการวิจัย   | 13



              2. แบบสอบถามแบบปลายปด/มีโครงสราง เมื่อมีโรคระบาดเกิดขึ้น ทานไดปฏิบัติ
อยางไร เลือกตอบไดมากกวา 1 ขอ
                           (1) บํารุงสุขภาพใหแข็งแรง
                           (2) หลีกเลี่ยงโรคติดตอนั้น
                           (3) ไปรับวัคซีนเพื่อปองกันโรค
                           (4) ติดตามขาวสารเกี่ยวกับโรคนั้น
                           (5) แนะนําผูอื่นใหระมัดระวังการติดเชื้อ
                           (6) อื่นๆ ระบุ..............................................


2. แบบสัมภาษณ (นายศรัณยู หมื่นเดช)
      2.1 ความหมาย
           มหาวิท ยาลั ย รามคํา แหง (ม.ป.ป.) ได ให ความหมายของการสั ม ภาษณ ไว ดัง นี้ การ
สัมภาษณ (Interview) หมายถึง การสนทนาที่มีจุดมุงหมายใหไดขอมูลตามที่ไดกําหนดไวลวงหนา
โดยจะมีผูสัมภาษณเปนผูตั้งคําถาม และผูถูกสัมภาษณจะเปนผูตอบคําถาม ผูสัมภาษณจะเปนผูจด
บันทึก ใชเทปบันทึกเสียงหรือใชวีดิโอเทปบันทึกคําตอบของคําถามตางๆ การสัมภาษณนี้เหมาะกับ
การเก็บขอมูลจากเด็กๆ หรือผูที่อานหนังสือไมคอยได
               สุมิตร สุวรรณ (ม.ป.ป.) กลาววา การสัมภาษณ (interview) เปนการเจาะลึกประเด็นตาง
ๆ ที่ผูวิจัยสนใจ อาจใชสัมภาษณเปนรายบุคคลหรือเปนกลุมก็ได
            กิติพัฒน นนทปทมะดุล (ม.ป.ป.) ไดใหความหมายของการสัมภาษณดังนี้ กลาวอยางให
เขาใจงายๆ การสัมภาษณคือการสนทนากันอยางมีทิศทาง จุดมุงหมายของการสัมภาษณโดยทั่วไปก็
คือการทําความเขาใจบุคคลที่นักวิจัยสัมภาษณในดานมุมตางๆของเขาหรือเธอ การสัมภาษณที่ทํา
ไดผ ลดัง ที่นัก วิจั ยประสงคถือไดวาเปนเครื่ องมื อในการเก็ บรวบรวมขอมู ลที่มี ประสิท ธิผลอยางสู ง
โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในการวิจั ยเชิง คุณภาพในงานสวัสดิก ารสั ง คม การสั ม ภาษณทํ าใหนัก วิจัยเชิง
คุณภาพมีโอกาสในการเรียนรูและเขาใจในเรื่องราว ประสบการณ พฤติกรรม ความรูสึก และความ
คิดเห็นดานตางๆของบุคคลที่นักวิจัยจะไมมีทางลวงรูไดจากการเพียงสังเกตอยูหางๆ ยิ่งไปกวานั้น
การสั มภาษณยังชวยใหนักวิจั ยสามารถประเมินลึกซึ้ง ไปถึงการรับรู ของบุคคลวามี ความสําคัญตอ
บุคคลผูนั้นอยางไร
เครื่องมือในการวิจัย   | 14



           สรุปไดวา การสัมภาษณคือ การสนทนาอยางมีจุดมุงหมายระหวางผูสัมภาษณและผูถูก
สัม ภาษณ อาจเปนรายบุ คคลหรื อเปนกลุ ม ก็ได เพื่ อทราบความคิด เรื่ องราว ประสบการณ และ
ความรูสึก ในแงมุมตาง ๆ
            แบบสัมภาษณ (หนวยที่ 6 เครื่องมือในการวิจัย. ม.ป.ป.)เปนการรวบรวมขอมูลโดยมีการ
สื่อสารกันระหวางผูถามกับผูใหขอมูล ทั้งนี้การสื่อสารจะตองมีจุดมุงหมาย
            แบบสัมภาษณ (เครื่องมือในการวิจัย. ม.ป.ป.) (Interview Form) ลักษณะของเครื่องมือ
ชนิดนี้จะไดขอมูลมาจากการสนทนา เปนการถามตอบกันโดยตรง ทั้งผูถามจะมีฐานะเปนผูสัมภาษณ
(Interviewer) สวนผูตอบจะมีฐานะเปนผูถูกสัมภาษณ (Interviewee)
            ดังนั้นอาจสรุปไดวา แบบสัมภาษณ คือ เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสนทนา
อยางมีจุดมุงหมายระหวางผูสัมภาษณและผูถูกสัมภาษณ


         2.2 ประเภทของการสัมภาษณ
            การสัมภาษณแบงออกไดเปน 2 (การสรางเครื่องมือวิจัย. ม.ป.ป.) ลักษณะดังนี้
              1) การสัมภาษณแบบที่มีโครงราง (Structured interview) เปนแบบที่มีคําถาม
กําหนดไวแนนอน บางคําถามก็เปนแบบปลายเปด บางคําถามก็เปนแบบปลายปด การสัมภาษณแบบ
นี้เหมือนกับแบบสอบถามที่กลาวมาแลว ตางกันตรงที่การสัมภาษณ ผูสัมภาษณเปนผูเขียนคําตอบ
ของผูตอบเอง
              2) การสั ม ภาษณ แ บบไม มี โ ครงร า ง (Unstructured interview) เป นการ
สั ม ภาษณที่ ไม มี คํา ถามกํ า หนดไว ล วงหน า แน น อน ผู สั ม ภาษณ ส ามารถเปลี่ ย นแปลงคํา ถามได
ตลอดเวลา ตามสถานการณแตตองมุงใหไดขอมูลตามจุดมุงหมายที่กําหนดไว การสัมภาษณแบบนี้ผู
สัมภาษณจะตองมีความชํานาญการและตองจําคําถามตางๆ ได
          แบงตามวิธีการสัมภาษณได 2 ประเภท คือ
             1) แบบสัมภาษณช นิดมีโครงสรางแนนอน มีลักษณะคลายคลึงกับ แบบสอบถาม
แบบเลือกตอบ ประกอบดวยขอคําถาม และคําตอบเอาไวใหผูตอบเลือกหลายคําตอบ ผูเก็บรวบรวม
ขอมูลจะสัมภาษณตามเนื้อหาในแบบสัมภาษณ เทานั้นโดยอานคําถามทีละขอ แลวใหผูตอบเลือ ก
คําตอบที่ไดเตรียมไว
เครื่องมือในการวิจัย   | 15



             2) แบบสัมภาษณชนิดไมมีโครงสรางแนนอน มักประกอบดวยแนวคําถามกวาง ๆ
และมีลักษณะยืดหยุน เพื่อใหผูใหขอมูลสามารถใหขอคิดในแนวลึกคลายแบบสอบถามชนิดปลายเปด
          การสัมภาษณแบงออกไดเปน 2 ประเภท (เครื่องมือที่ใชในการวิจัย. 2555) ไดแก การ
สัมภาษณแบบมีโครงสราง และการสัมภาษณแบบไมมีใครสราง
              1) การสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured Interview) การสัมภาษณแบบนี้
จะตองมีการกําหนดโครงสรางของขอคําถามตางๆ ไวกอนลวงหนาแลวจัดพิมพเปนแบบสัมภาษณ ผู
สัมภาษณจะซักถามผูถูกสัมภาษณทุกๆ คนดวยขอคําถามเดียวกันตามแบบสัมภาษณ โดยผูสัมภาษณ
จะจดบันทึกคําตอบทั้งหมดลงในแบบสัมภาษณ
             2) การสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง (Unstructured Interview) การสัมภาษณ
แบบนี้ผู สั มภาษณไมตอ งสร างขอคําถามตางๆ ไวก อ นล วงหนา เพียงแตกํ าหนดเป นแนวทางการ
สั ม ภาษณ (Interview Guide) ไวคร าวๆ เท านั้น การสั ม ภาษณแบบนี้จึ ง มี ความยืดหยุนสู ง ผู
สัมภาษณและผูถูกสัมภาษณจึงมีอิสระในการถามตอบอยางเต็มที่ ผูถูกสัมภาษณจึงตองมีความรูและ
ความเชี่ยวชาญเปนพิเศษ
            กิติพัฒน นนทปทมะดุล (2554) ไดแบงประเภทการสัมภาษณไดดังนี้
                1) การสัมภาษณแบบไมเปนทางการ (informal interview) มักจะใชควบคูไปกับ
การสังเกตแบบมีสวนรวม เพื่อใหเห็นภาพและเขาใจปรากฏการณทางสังคมวัฒนธรรม โดยการเตรียม
คําถามแบบกวาง ๆมาลวงหนาแบบไมจํากัดคําตอบ การสัมภาษณแบบไมเปนทางการนี้อาจใชวิธีการ
ตาง ๆ เชน การตะลอ ม กล อ มเกลา (probe) ซึ่ ง เป นการพู ดคุยซั ก ถามเพื่ อ ล วงเอาส วนลึก ของ
ความคิดออกมา หรือการเงี่ยหูฟง (eavesdropping) ซึ่งเปนการฟงคําสนทนาของผูอื่นโดยผูวิจัยไม
ตองตั้งคําถามเอง
               2) การสัมภาษณแบบเปนทางการ (formal interview) หรือการสัมภาษณแบบมี
โครงสราง เปนการสัมภาษณที่ผูวิจัยไดเตรียมคําถามและขอกําหนดไวแนนอนตายตัว โดยปกตินักวิจัย
เชิง คุณภาพมัก จะไม ใชวิธีก ารนี้เป นหลัก เพราะไมไดชวยใหผู วิจัยไดขอ มูลที่ ลึก ซึ้ง และครอบคลุ ม
เพียงพอ โดยเฉพาะในแงของวัฒนธรรม ความหมายและความรูสึกนึกคิด แตอาจเหมาะสมกับการ
สัมภาษณผูนําชุมชนหรือผูบริหารองคกรมากกวา
เครื่องมือในการวิจัย   | 16



               3) การสัมภาษณแบบเจาะลึก (in-depth interview) เปนการสัมภาษณผูใหขอมูล
สําคัญ (key informant interview) ซึ่งเปนผูที่มีความรูหรือมีขอมูลในเรื่องที่ผูวิจัยกําลังศึกษาดีที่สุด
หรือมีความเกี่ยวของมากที่สุด โดยกําหนดตัวผูตอบบางคนแบบเจาะจงเอาไวลวงหนา
               4) การสนทนากลุม (focus group discussion) เปนการระดมสมองและการ
อภิปรายในเรื่องที่ผูวิจัยกําลังศึกษา ซึ่งผูเขารวมสนทนาควรมีพื้นฐานประสบการณที่ใกลเคียงหรือ
คลายคลึงกัน ในการจัดกลุมสนทนา จะใชคนประมาณ 8 - 12 คน โดยผูวิจัยเปนผูดําเนินการสนทนา
และมีผูชวยอีก 1 - 2 คน อยางไรก็ตาม ในการสัมภาษณมีขั้นตอนที่สําคัญซึ่งผูวิจัยควรระลึกเอาไว
ดวย คือ การแนะนําตัว การสรางความสัมพันธ การจดบันทึกคําตอบ การใชภาษา ตลอดจนเวลาและ
สถานที่ที่ใชในการสัมภาษณ
      โดยทั่วไป การสัมภาษณในฐานะเครื่ องมือ หรือ วิธีการในการเก็ บรวบรวมขอ มูลการวิจั ย
สามารถจําแนกไดเปน 3 (สุมิตร สุวรรณ. 2555) ประเภท คือ
           1. การสัมภาษณแบบมีโครงสรางหรือแบบมาตรฐาน (Structured or standardized
interviews)
          2. การสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางหรือ แบบปลายเปด (Unstructured or open-
ended interviews)
          3. การสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง (Semi-structured or guided interviews)
             การสัมภาษณแบบมีโครงสราง การสัมภาษณแบบมีโครงสราง บางครั้งนิยมเรียกวา
การสัม ภาษณแบบมาตรฐาน กลาวคือเปนการสั มภาษณที่มีการกําหนดคําถามเฉพาะเจาะจงและ
ชัดเจน หลักการและเหตุผลของการสัมภาษณแบบมีโครงสราง คือ การพยายามทําใหผูถูกสัมภาษณ
แตละคนไดรับชุดคําถามชุดเดียวกัน เพื่อวาจะสามารถเปรียบเทียบคําตอบของแตละคนไดสะดวกขึ้น
การสัมภาษณประเภทนี้ตั้งอยูบนขอสันนิษฐานวา
            (1) การสัมภาษณแบบมีโครงสรางนั้นสามารถที่จะเก็บรวบรวมขอมูลไดครบถวนตรง
ตามเรื่องที่นักวิจัยศึกษา
                 (2) ชุดคาถามในการสัมภาษณแบบมีโครงสรางนั้นสามารถทําใหผูถูกสัมภาษณเขาใจ
คาถามไดอยางชัดเจน และ
                (3) ความหมายของคําถามแตละขอนั้นเปนความหมายที่ผถูกสัมภาษณทุกคนจะเขาใจ
                                                                 ู
ตรงกัน
เครื่องมือในการวิจัย   | 17



                   ในการตัดสินใจเลื อกใชการสัม ภาษณแบบมีโครงสรางหรือ แบบมาตรฐานนั้น หาก
นัก วิจั ยจํ าเป นตอ งเก็ บ ขอ มู ล ดวยการสั ม ภาษณ ผู มี ส วนร วมในการวิจั ย จํ านวนมากและตอ งใช ผู
สัมภาษณหลายคน ตลอดจนตองการนาขอมูลจากการสัมภาษณของผูมีสวนรวมในการวิจัยแตละราย
มาเปรี ย บเที ยบกั น การตั ดสิ น ใจเลื อ กการสั ม ภาษณ แบบมี โ ครงสร า งน า จะมี ค วามเหมาะสม
นอกจากนั้ น นั ก วิ จั ย ที่ ไ ม ใ คร มี ป ระสบการณ ในการสั ม ภาษณม าก อ นหรื อ เป น นั ก วิ จั ย มื อ ใหม
โดยเฉพาะเมื่อนักวิจัยมือใหมพิจารณาวาการเดินทางไปพบผูมีสวนรวมในการวิจัยหรือการมีโอกาส
สัมภาษณผูมีสวนรวมในการวิจัยบอยครั้งเปนไปไดยากลําบาก นักวิจัยมือใหมจึงนิยมเลือกสัมภาษณ
แบบมี โ ครงสร า ง จนเมื่ อ นัก วิ จั ย มี ป ระสบการณ ม ากขึ้ น มี ค วามชํา นาญ และมี ค วามมั่ น ใจใน
กระบวนการเก็บขอมูลดวยการสัมภาษณมากขึ้น อาจจะพิจารณาเลือกการสัมภาษณแบบอื่นๆที่ดูเปน
ธรรมชาติมากกวาและเปดโอกาสในการมีปฏิสัมพันธกับผูมีสวนรวมในการวิจัยไดมากยิ่งขึ้น
            การสัมภาษณแบบมีโครงสรางหรือแบบมาตรฐานมีทั้งจุดที่เปนประโยชนและเปนขอ
จากัด ในดานที่เปนประโยชน การสัมภาษณแบบมีโครงสรางทําใหนักวิจัยเก็บขอมูลไดครบถวนอยาง
ที่ตองการ เนื่องจากตองจัดเตรียมชุดของขอคําถามมาอยางละเอียด โดยในคําถามบางขอ ผูมีสวนรวม
ในการวิจัยอาจจะไม ส ามารถตอบไดทันที นัก วิจัยก็ อ าจจะให เ วลา หรื อ ถามในขอ อื่ นๆก อ นแล ว
ยอนกลับมาถามใหมในขอที่ยังตอบไมได ซึ่งถาไมไดเตรียมขอคําถามไปแบบโครงสราง เมื่อถามไปขอ
อื่นๆ พลวัตของการสนทนาและการสัมภาษณอาจจะทําใหนักวิจัยลืมกลับมาถามและไมไดเก็บขอมูล
ไปอยางครบถวน
              ในสวนที่เปนขอจํากัด ซึ่งนับเปนเหตุผลสําคัญที่นักวิจัยเชิงคุณภาพที่มีประสบการณ
ในการสัมภาษณไมนิยมใชก็คือ การสัมภาษณแบบมีโครงสรางมักทําใหนักวิจัยขาดความละเอียดออน
ในการสังเกตอารมณความรูสกของผูมสวนรวมในการวิจัย เนื่องเพราะนักวิจัยจะเกร็งกับการไลถามไป
                           ึ       ี
ตามชุดคําถามที่เตรียมมามากเกินไป ทําใหการถามมา-ตอบไปมีลักษณะเปนกลไกที่หยาบและแข็ง
กระดางอยางมาก และในหลายกรณี ผูมีสวนรวมในการวิจัยจะรูสึกวามีกําแพงขวางกั้นการสนทนา
ระหวางเขาหรือเธอกับนักวิจัยไดงายมาก
                 นักวิจัยเชิงคุณภาพบางทานถึงกับมองวา การสัมภาษณแบบมีโครงสรางนั้นไมเหมาะ
กับผูมีสวนรวมในการวิจัยหลายคน หรือบางทานก็วาไมเหมาะสมกับการวิจัยเชิงคุณภาพโดยสิ้นเชิง
เราจึ ง มัก พบวา การวิจั ยเชิง คุณภาพส วนใหญ ไม นิยมใชก ารสั ม ภาษณแบบมี โ ครงสร างหรื อ แบบ
มาตรฐาน
เครื่องมือในการวิจัย   | 18



               การสั ม ภาษณ แ บบไม มี โ ครงสร า ง หรือ แบบปลายเปด การสั ม ภาษณ แ บบไม มี
โครงสร างหรือ บางครั้ งก็เ รียกกันวาการสัม ภาษณแบบปลายเป ดนั้น ถือวาเปนวิธีการเก็ บขอ มูล ที่
เหมาะสมที่สุดในการเก็บรวบรวมสาระดานการรับรูโลกและประสบการณของผูมีสวนรวมในการวิจัย
ทั้งนี้ การสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางหรือแบบปลายเปดมีลักษณะตรงกันขามกับการสัมภาษณแบบ
มีโครงสรางหรือแบบมาตรฐานโดยสิ้นเชิง ในขณะที่การสัมภาษณแบบมีโครงสรางดูหยาบและแข็ง
กระดาง การสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางดูยืดหยุนและลื่นไหลไปตามสถานการณไดดีกวา ทั้งนี้เพราะ
การสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางไมไดใชขอคาถามที่กําหนดไวอยางตายตัว แตจะมีลักษณะรวบรวม
ชุดของคาถามที่สําคัญๆ ที่มีที่มาจากขอสันนิษฐานอันหลากหลายกวาการสัมภาษณแบบมีโครงสราง
            นักวิจั ยที่ใชการสัม ภาษณแบบไมมี โครงสรางมัก ไมตองการกําหนดขอสั นนิษฐานที่
ตายตัวไวลวงหนา หรือนักวิจัยอาจจะไมทราบเลยวาขอสันนิษฐานของสิ่งที่จะเก็บรวบรวมนั้นเปน
ประการใดบาง นักวิจัยอาจไมทราบลวงหนาวา คําถามที่นักวิจัยจําเปนตองถามนั้นคือคําถามอะไรบาง
ดัง นั้น การสั ม ภาษณของนัก วิจั ยจึ ง มี ลัก ษณะเป นการสื บ คนหาขอ มู ล อยางแทจ ริ ง ยิ่ง ไปกวานั้น
นักวิจัยที่นิยมการสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางยังเชื่อวาผูที่มีสวนรวมในการวิจัยหรือผูถูกสัมภาษณแต
                                                                
ละคนจะมีการรับรูและเขาใจความหมายของขอคําถามที่มีโครงสรางหรือมีมาตรฐานอยางแตกตางกัน
ไมมีทางที่คนหลายคนจะเขาใจคําถาม แมวาจะมีมาตรฐานเพียงใด ไดอยางเหมือนกันโดยสิ้นเชิง
               ในการสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางหรือแบบปลายเปด นักวิจัยจะพิจารณาสรางคา
ถาม ปรั บ คําถาม และพั ฒ นาคําถามให ส อดคล องกั บ สถานการณจ ริ ง ในการสั มภาษณแตล ะครั้ ง
ขณะเดียวกันก็พยายามปรับใหคําถามนั้นเปดรับกับการทําใหไดขอมูลที่ตอบสนองตอวัตถุประสงคของ
การวิจั ยดวย ตัวอยางเชน ในการสั ม ภาษณเ ด็ ก เร ร อนที่ ให บ ริ ก ารทางเพศในพื้ นที่ แห ง หนึ่ง ของ
กรุงเทพมหานคร นักวิจัยพบวาเด็กเรรอนบางคนกลาเปดเผยเรื่องราวของตนไดไมยากนัก ในขณะที่
เด็กเรรอนกลุมเดียวกันอีกหลายคนเริ่มดวยการปฏิเสธวา ตนไมไดคาประเวณี จนนักวิจัยตองสราง
ความไววางใจอีกระยะเวลาหนึ่ง เด็กจึงเริ่มกลาที่จะบอกความจริงทีละเล็กละนอย หากนักวิจัยใชการ
สัมภาษณแบบมีโครงสรางหรือแบบมาตรฐาน นาจะประสบความยุงยากหรือไมไดขอมูลที่มากพอ ใน
การสัมภาษณครั้งนั้น นักวิจัยตองใชเวลาปรับเปลี่ยนคําถามและทาทีอยูนานพอสมควรจึงจะไดรับ
คําตอบที่เพียงพอและมีคุณคาตอการวิจัยอยางมาก
             สําหรับนักวิจัยเชิงคุณภาพที่มีประสบการณนอยมาก มักจะวิตกกังวลในการสัมภาษณ
แบบไมมีโครงสราง และเลือกที่จะใชแบบสัมภาษณมาตรฐานที่เตรียมมาแลวอยางละเอียดมากกวา
เครื่องมือในการวิจัย   | 19



อยางไรก็ตาม นักวิจัยเชิงคุณภาพมือใหมอาจจะตองเริ่มตนดวยความตั้งใจจริง ความรูสึกอยากรูอยาก
เห็ นในขอ มู ล ที่ ไมเ คยล วงรู ม าก อน คํานึง ถึง ความแตกตางของบุคคล และการให ความเคารพใน
ประสบการณที่ ห ลากหลายของแตล ะบุ ค คล เหล า นี้จ ะทํ าให เ ราเริ่ ม ตนการสั ม ภาษณแบบไม มี
โครงสรางไดราบรื่นขึ้นและมีความมั่นใจยิ่งขึ้นเรื่อยๆ
             การสั ม ภาษณแบบไม มี โ ครงสร างหรื อ แบบปลายเป ด แม วา จะคล ายคลึ ง กั บ การ
สัมภาษณในการใหการปรึกษา (Counseling) และการสัมภาษณในการทางานสังคมสงเคราะหเฉพาะ
ราย (Social casework) ซึ่ ง ผู ให ก ารปรึ ก ษาหรื อ นัก สั งคมสงเคราะห อ าจจะตอ งรวมศูนยก าร
สัมภาษณไปที่สถานการณปญหาที่ผใชบริการประสบ การที่นักสังคมสงเคราะหตอบสนองตอเรื่องราว
                                       ู
ที่ผูใชบริการเลามาจะชวยใหผูใชบริการขยายความในรายละเอียดมากยิ่งขึ้นและในที่สุดก็จะเกิดการ
ฉุกคิดหรือเริ่มพอจะมองเห็นโอกาสและแนวทางที่จะแกไขปญหาของตนเอง ในการสัมภาษณแบบไมมี
โครงสรางของนักวิจัย มีวัตถุประสงคเพื่อตองการขอมูลที่สามารถนาไปวิเคราะหเพื่อตอบคําถามใน
การวิจัยเปนหลัก
               กระนั้นก็ตาม ในการวิจั ยดานสวัสดิการสัง คมซึ่ง มีเ นื้อ หาเกี่ ยวกับ สภาพชีวิตความ
เปนอยูของประชาชนอยางกวางขวาง เราพบวาสถานการณปญหาของผูมีสวนรวมในการวิจัยหลาย
กรณีเปนสิ่งที่เมื่อพูดคุยสัมภาษณแลว มีผลในเชิงการใหความชวยเหลือในเชิงการสังคมสงเคราะห
เฉพาะรายหรือการใหการปรึกษาไปพรอมกัน นอกจากนั้น ในบางสถานการณนักวิจัยอาจพิจารณาให
ความชวยเหลือ โดยพื้นฐานของจริยธรรมทางวิชาชีพหรือโดยมนุษยธรรมของนักวิจยแตละบุคคล เชน
                                                                           ั
นักวิจัยผูหนึ่งไปเก็บขอมูลจากกลุมสนทนาประเด็นเฉพาะ (Focus group) ในกลุมประชาชนที่อาศัย
อยู ในเขตอําเภอแหงหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม การวิจัยนั้นเปนเรื่องราวของ
               ประชาชนที่มีความเดือดรอนจากที่ดินทากินซึ่งถูกทางราชการประกาศวาเปนเขตปา
สงวนแหงชาติ ทั้งๆที่ประชาชนอาศัยทามาหากินมานานกวา 70 ป นักวิจัยไปเก็บขอมูล ทวาไปพบ
กรณีเด็กหญิงคนหนึ่งในหมูบานนี้กําลังเดือดรอนเพราะพอแมเพิ่งเสียชีวิตดวยโรคเอดส ทําใหเด็กตอง
ออกจากโรงเรียนกลางคัน เพราะไมมีผูใดสงเสียใหเลาเรียน นักวิจัยประเมินวาเด็กหญิงขาดโอกาส
ทางการศึกษาอยางแนนอนและอาจเสี่ยงตอการถูกชักจูงไปดาเนินชีวิตอยางไมเหมาะสม นักวิจัยจึงได
ติดตอองคกรที่เกี่ยวของใหความชวยเหลือดานทุนการศึกษาแกเด็กหญิงผูนี้
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย

More Related Content

What's hot

ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์Beerza Kub
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...Prachoom Rangkasikorn
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนPhakawat Owat
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 

What's hot (20)

ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีน
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 

Viewers also liked

การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพAimy Blythe
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
Поиск по изображениям. Исследования и интерфейсы
Поиск по изображениям. Исследования и интерфейсыПоиск по изображениям. Исследования и интерфейсы
Поиск по изображениям. Исследования и интерфейсыKsenia Sternina
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 

Viewers also liked (7)

การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
Поиск по изображениям. Исследования и интерфейсы
Поиск по изображениям. Исследования и интерфейсыПоиск по изображениям. Исследования и интерфейсы
Поиск по изображениям. Исследования и интерфейсы
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 

Similar to 02 เครื่องมือในการวิจัย

44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟายKruBeeKa
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันNU
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม khanidthakpt
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchAnucha Somabut
 

Similar to 02 เครื่องมือในการวิจัย (20)

Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
maisooree
maisooreemaisooree
maisooree
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action Research
 

More from KruBeeKa

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development modelKruBeeKa
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learningKruBeeKa
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learnerKruBeeKa
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional designKruBeeKa
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciencesKruBeeKa
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design modelsKruBeeKa
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-fullKruBeeKa
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศKruBeeKa
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปKruBeeKa
 

More from KruBeeKa (17)

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 

02 เครื่องมือในการวิจัย

  • 1. เครื่องมือในการวิจัย |1 เครื่องมือในการวิจัย ความหมายของเครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือวิจัย (ชมรมชีวอนามัยเพื่อความปลอดภัย มสธ., ม.ป.ป.) หมายถึง เปนอุปกรณ หรือเทคนิคที่นักวิจัยใชในการเก็บรวบรวมขอมูลหรือวัดตัวแปรที่ตองการศึกษา เชนแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ (นายศรัณยู หมื่นเดชและนายชานันท ประภา) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย (มาเรียม นิลพันธุ, 2553 หนา 157) คือสิ่ง/อุปกรณ ที่ผูวิจัยสราง ขึ้นมา เพื่ อรวบรวมขอ มูล หรื อ ใชเ ปนสิ่ง วัดตัวแปร เพื่ อใหไดมาซึ่ง ขึ้นมู ล โดยผูวิจัยควรเลื อกใช เครื่องมือใหเหมาะสมกับตัวแปรที่ตองการวัด หรือ ตรงกับวัตถุประสงคของการวิจัย และตองเปน เครื่องมือที่มีคุณภาพ (นางสาววณิชชา แมนยํา) เครื่องมือการวิจัย (อดุลเดช ไศลบาท. 2555 : ออนไลน) หมายถึง เครื่องมือ อุปกรณ หรือสิ่ง ที่ใชเปนสื่อสําหรับนักวิจัย ใชในการรวบรวมขอมูลตามตัวแปรในการวิจัยที่กําหนดไว ขอมูลดังกลาว อาจเปนไดทั้งขอมูลเชิงปริมาณ และขอมูลเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิจัย นับเปนสวนหนึ่งของการวิจัย ทุกชนิด ไมวาจะเปนการศึกษาเฉพาะกรณี การวิจัยเชิงสํารวจ การวิจัยเชิงทดลอง (นางสาววิลาวัลย สมยาโรน) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย (Research Instruments) (มาลัยทิพย อมตฉายา, ม.ป.ป.) เปน สิ่งที่ผูวิจัยนํามาใชใหไดมา ซึ่งขอมูล (Data) เพื่อนําไปวิเคราะหแลวสรุปออกมาเปนผลของการวิจัย (นางสาววิลาวัลย สมยาโรน) เครื่องมือวิจัย (มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ม.ป.ป.) หมายถึง สิ่งที่ใชสําหรับวัดคาของตัวแปร การวิจัย หรือใชสําหรับเก็บรวบรวมขอมูลของตัวแปรการวิจัยทุกตัวแปรของปญหาการวิจัยที่ผูวิจัย กําลังทําการวิจัยเพื่อหาคําตอบ เครื่องมือวิจัยมีหลายประเภท เชน แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบ สัมภาษณ และแบบสังเกต เปนตน (นายศรัณยู หมื่นเดช) กลาวโดยสรุป เครื่องมือในการวิจัย หมายถึง สิ่งที่นํามาใชในการรวมรวบขอมูล หรือวัดตัว แปรในการวิจัย เพื่อนําไปวิเคราะหแลวสรุปผลการวิจัยตอไป
  • 2. เครื่องมือในการวิจัย |2 ประเภทของเครื่องมือในการวิจัย วิกร ตันทวุฑโดม (ม.ป.ป.) เครื่องมือในการวิจัย อาจจําแนกไดเปนสองประเภทไดแก 1. เครื่องมือในการดําเนินการวิจัย คือ ชิ้นงานหรือสิ่งประดิษฐที่พัฒนาขึ้นและยังครอบคลุม ถึงรูปแบบหรือแบบจําลองที่พัฒนาขึ้น 2. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนเครื่องมือที่ใชในการวัดตัวแปรตาง ๆ (นางสาวชไมพร ศรีสุราช) พวงรัตน ทวีรัตน (2540) กลาววา ในการเก็บรวบรวมขอมูลเพือการวิจัยนั้น จะใชเครื่องมือ ่ ชนิดใด ยอมขึ้นอยูกับลักษณะของเรื่องที่จะวิจัยวาเปนแบบใด ตองการขอมูลชนิดใด เพราะขอมูลที่ใช ในการวิจั ย มี อ ยูห ลายลั ก ษณะดัง กล าวแล ว และเครื่ อ งมื อ ที่ ใชในการเก็ บ รวบรวมขอ มู ล ก็ แบ ง ออกเปนหลายชนิด แตละชนิดของเครื่องมือก็เหมาะกับขอมูลแตลักษณะ ซึ่ ง เครื่ อ งมื อ วิ จั ยทาง สังคมศาสตร นั้นมีอยูหลายชนิด แตที่นิยมใชมีอยู 5 ชนิด คือ 1. แบบทดสอบ 2. แบบสอบถาม 3. แบบสัมภาษณ 4. มาตราวัดทัศนคติ 5. แบบสังเกต (นางสาววณิชชา แมนยํา) ประเภทของเครื่องมือในงานวิจัย (มาเรียม นิลพันธุ, 2553 หนา 157) ในการวิจัยทาง การศึกษาดานหลักสูตรการเรียนการสอนและการนิเทศ มีเครื่องมือ สําคัญ ที่นิยมใชในงานวิจัย คือ 1. แบบสอบถาม 2. แบบทดสอบ 3. แบบสัมภาษณ 4. แบบสังเกต 5. ประเด็นสนทนากลุม อดุลเดช ไศลบาท (2555) ไดแบงประเภทเครื่องมือของการวิจัยไว ดังนี้ 1. เครื่องมือในการทดลอง มักเปนอุปกรณทางวิทยาศาสตรที่มีคุณภาพไดมาตรฐาน 2. เครื่องมือในการรวบรวมขอมูล ไดแก - แบบสอบถาม
  • 3. เครื่องมือในการวิจัย |3 - แบบสัมภาษณ - แบบทดสอบ/แบบวัดความรู - แบบบันทึกขอมูล/แบบบันทึกการสังเกต - แบบตรวจสอบ/บันทึกรายการ ชมรมอาชีวอนามั ยเพื่ อ ความปลอดภัย มสธ. (ม.ป.ป.) กล าววา เครื่ อ งมื อ วิจั ยทางดาน สรีรวิทยา และเครื่องมือทางวิทยาศาสตรอื่น ๆ แบงไดเปน 3 ลักษณะ 1. เครื่อ งมือ วัดทางดานกายภาพ เชน เครื่อ งมือ วัดแสง เสียง ฝุนในอากาศ อุณหภูมิ ความดันโลหิต น้ําหนัก สวนสูง 2. เครื่องมือวัดทางเคมี เชน เครื่องมือในการตรวจเลือดหาระดับน้ําตาล แอลกอฮอล หรือสวนประกอบอื่นๆ 3. เครื่องมือวัดทางจุลชีวะ เชน เครื่องมือตรวจวัดแบคทีเรียในเลือด ปสสาวะ การเพราะ เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส มาลัยทิพ ย อมตฉายา (ม.ป.ป.) กล าววา การวิจัยในทางสัง คมศาสตร แบง ลัก ษณะของ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปน 4 แบบ ดังนี้ 1.แบบทดสอบ Test 2.แบบสัมภาษณ Interview Form 3.แบบสังเกต Observation Form 4.แบบสอบถาม Questionnaire (นางสาววิลาวัลย สมยาโรน) สรุป ประเภทของเครื่องมือในการวิจัยทางสังคมศาสตร ที่เนนวิจัยทางการศึกษา แบงเปน 2 ประเภทหลัก ไดแก 1. เครื่องมือที่ใชในการดําเนินงานวิจัย เชน E-book, CAI, WBI, WBT, ฯลฯ 2. เครื่อ งมื อที่ใชในการรวบรวมขอ มูล เชน แบบสอบถาม แบบสัม ภาษณ แบบสัง เกต แบบทดสอบ
  • 4. เครื่องมือในการวิจัย |4 ในที่นี้ ผูจัดทําขอนําเสนอเครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ แบบสังเกต และแบบทดสอบ ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. แบบสอบถาม (นางสาววิลาวัลย สมยาโรน) 1.1 ความหมาย อวยพร เรื อ งตระกู ล ม.ป.ป ได นิ ย ามคํ า ว า แบบสอบถามไว ดั ง นี้ แบบสอบถาม (questionnaire) คือ ขอเท็จจริง ความรูสึกความคิดเห็น เชนเดียวกันกับ (อุทุมพร จามรมาน. 2544) ทีกลาววา แบบสอบถาม หมายถึง รูปแบบของคําถามเปนชุดๆ ที่ไดถูกรวบรวมไวอยางมีหลักเกณฑ และเปนระบบ เพื่อใชวัดสิ่งที่ผูวิจัยตองการจะวัดจากกลุมตัวอยางหรือประชากรเปาหมายใหไดมาซึ่ง ขอเท็จจริงทั้ งในอดีต ปจ จุบันและการคาดคะเนเหตุก ารณในอนาคต แบบสอบถามประกอบดวย รายการคําถามที่สรางอยางประณีต เพื่อรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นหรือขอเท็จจริง โดยสงให กลุมตัวอยางตามความสมัครใจ การใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลนั้น การ สร า งคํ า ถามเป น งานที่ สํ า คั ญ สํ าหรั บ ผู วิ จั ย เพราะวา ผู วิ จั ย อาจไม มี โ อกาสได พ บปะกั บ ผู ต อบ แบบสอบถามเพื่ออธิบายความหมายตาง ๆ ของขอคําถามที่ตองการเก็บรวบรวม แบบสอบถาม เปน เครื่องมื อวิจัยชนิดหนึ่งที่ นิยมใชกั นมาก เพราะการเก็บรวบรวมขอมูลสะดวกและสามารถใชวัดได อยางกวางขวาง การเก็บขอมูลดวยแบบสอบถามสามารถทําไดดวยการสัมภาษณหรือใหผูตอบดวย ตนเอง ดังนั้นจึงสรุปไดวา แบบสอบถาม คือเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อใหได ขอคิดเห็นหรือขอเท็จจริง โดยใชคําถามที่รวบรวมไวอยางมีหลักเกณฑและเปนระบบ 1.2 ประเภทของแบบสอบถาม มารยาท โยทองยศ (ม.ป.ป) กลาววา แบบสอบถามอาจแบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1. คําถามปลายเปด (Open Ended Question) เปนคําถามที่เปดโอกาสใหผูตอบ สามารถตอบไดอยางเต็มที่ คําถามปลายเปดจะนิยมใชกันมากในกรณีที่ผูวิจัยไมสามารถคาดเดาได ลวงหนาวาคําตอบจะเปนอยางไร หรือใชคําถามปลายเปดในกรณีที่ตองการไดคําตอบเพื่อนํามาเปน แนวทางในการสรางคําถามปลายปด ตัวอยางคําถามปลายเป ด เชน ทานตัดสิ นใจประกอบอาชีพ คาขาย เพราะ......
  • 5. เครื่องมือในการวิจัย |5 2. คําถามปลายปด (Close Ended Question) เปนคําถามที่ผูวิจัยมีแนวคําตอบไวให ผูตอบเลือกตอบจากคําตอบที่กําหนดไวเทานั้น คําตอบที่ผูวิจัยกําหนดไวลวงหนามักไดมาจากการ ทดลองใชคําถามในลัก ษณะที่เ ปนคําถามปลายเป ด แล วนํามาจั ดกลุม ของคําตอบ หรื อไดม าจาก การศึกษาผลการวิจัยที่เกี่ยวของ หรือจากแนวความคิดของผูวิจัยเอง และจากขอมูลอื่นๆ อดุลยเดช ไศลบาท. (ม.ป.ป.) กลาววา แบบสอบถาม มี 2 ประเภท คือ 1. แบบปลายเปด Open-ended Form ประกอบดวยขอความ หรือขอคําถามที่เปด โอกาสใหผูตอบ ขยายความคิดเห็นหรือใหรายละเอียดของคําตอบที่จะแสดงถึงความรูสึก อารมณ พฤติกรรมของตนเองไดอยางกวางขวาง ซึ่งมีขอดีและขอเสีย ดังนี้ ขอดี คือไดรายละเอียดมาก ไมจํากัดขอบเขตของคําตอบ ขอเสีย คือยากตอการวิเคราะหแปลผล 2. แบบปลายป ดแบบมี โ ครงสร าง Close ended/Closed Form/Structured Question เปนขอคําถามที่กําหนดตัวเลือกคําตอบไวชัดเจน เพื่อใหผูตอบเลือกไดตรงกับความเปน จริงหรือความรูสึก ขอดี คือ ครอบคลุมเนื้อหาที่ตองการถาม สามารถวิเคราะหไดไมยุงยาก ขอเสีย คือ จํากัดขอบเขตของคําตอบ จากนั ก วิ ช าทั้ ง สองท า นที่ ก ล า วมา สรุ ป ได ว า แบบสอบถามมี 2 ประเภท คื อ แบบสอบถามปลายเป ด ที่ มี ขอ ดี คือ คือ ไดร ายละเอี ยดมาก ไม จํ ากั ดขอบเขตของคําตอบ และ แบบสอบถามปลายปด ที่มีขอดี คือครอบคลุมเนื้อหาที่ตองการถาม สามารถวิเคราะหไดไมยุงยาก การสรางแบบสอบถาม อุทุมพร จามรมาน. (2544) ไดกลาววา การสรางแบบสอบถามที่ดี ควรเปนดังนี้ 1. สอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย 2. ใชภาษาที่เขาใจงาย เหมาะสมกับผูตอบ 3. ใชขอความที่สั้น กะทัดรัด ไดใจความ 4. แตละคําถามควรมีนัย เพียงประเด็นเดียว 5. หลีกเลี่ยงการใชประโยคปฏิเสธซอน 6. ไมควรใชคํายอ 7. หลีกเลี่ยงการใชคําที่เปนนามธรรมมาก
  • 6. เครื่องมือในการวิจัย |6 8. ไมชี้นําการตอบใหเปนไปแนวทางใดแนวทางหนึ่ง 9. หลีกเลี่ยงคําถามที่ทําใหผูตอบเกิดความลําบากใจในการตอบ 10. คําตอบที่มีใหเลือกตองชัดเจนและครอบคลุมคําตอบที่เปนไปได 11. หลีกเลี่ยงคําที่สื่อความหมายหลายอยาง 12. ไมควรเป นแบบสอบถามที่มี จํานวนมากเกินไป ไมควรใหผูตอบใชเวลาในการ ตอบแบบสอบถามนานเกินไป 13. ขอคําถามควรถามประเด็นที่เฉพาะเจาะจงตามเปาหมายของการวิจัย 14. คําถามตองนาสนใจสามารถกระตุนใหเกิดความอยากตอบ มารยาท โยทองยศ (ม.ป.ป) กลาวถึง ขั้นตอนการสรางแบบสอบถามไววา ขั้นที่ 1 ศึกษาคุณลักษณะที่จะวัด ผูวิจัยจะตองทราบวาคุณลักษณะหรือประเด็นทีจะวัดใหมอะไรบาง โดยอาจดูไดจาก ่ ี วัตถุประสงคของการวิจัย กรอบแนวความคิดหรือสมมติฐานการวิจัย จากนั้นจึงศึกษาคุณลักษณะหรือ ประเด็นที่จะวัดดังกลาวใหเขาใจอยางละเอียดทั้งเชิงทฤษฎีและนิยามเชิงปฏิบัติการ ซึ่งอาจไดจาก เอกสาร ตําราหรือผลการวิจัยตางๆ ที่มีลักษณะเดียวกันหรือใกลเคียงกัน ขั้นที่ 2 กําหนดประเภทของขอคําถาม ผูวิจัยจะตองพิจารณาประเภทของขอคําถามที่จะวัดคุณลักษณะที่ตองการ ขั้นที่ 3 การรางแบบสอบถาม เมื่ อผู วิจั ยทราบถึง คุณลั กษณะหรื อ ประเด็นที่จ ะวัด และกํ าหนดประเภทของขอ คําถามที่ จ ะมี อ ยูในแบบสอบถามเรี ยบร อ ยแล ว ผู วิจั ยจึ ง ลงมื อ เขียนข อ คําถามให ครอบคลุ ม ทุ ก คุณลัก ษณะหรือประเด็นที่ จะวัด โดยเขียนตามโครงสรางของแบบสอบถามที่ไดกล าวไวแลว และ หลักการในการสรางแบบสอบถาม ดังนี้ 1. ตองมีจุดมุงหมายที่แนนอนวาตองการจะถามอะไรบาง โดยจุดมุงหมายนั้นจะตอง สอดคลองกับวัตถุประสงคของงานวิจัยที่จะทํา 2. ตองสรางคําถามใหตรงตามจุดมุงหมายที่ตั้งไว เพื่อปองกันการมีขอคําถามนอก ประเด็นและมีขอคําถามจํานวนมาก
  • 7. เครื่องมือในการวิจัย |7 3. ตองถามใหครอบคลุม เรื่องที่ จะวัด โดยมีจํานวนขอคําถามที่พ อเหมาะ ไมมาก หรือนอยเกินไป แตจะมากหรือนอยเทาใดนั้นขึ้นอยูกับพฤติกรรมที่จะวัด ซึ่งตามปกติพฤติกรรมหรือ เรื่องที่จะวัดเรื่องหนึ่งๆ นั้นควรมีขอคําถาม 25-60 ขอ 4. การเรียงลําดับ ขอ คําถาม ควรเรียงลํ าดับให ตอ เนื่องสั มพั นธกัน และแบง ตาม พฤติกรรมยอยๆ ไวเพื่อใหผูตอบเห็นชัดเจนและงายตอการตอบ นอกจากนั้นตองเรียงคําถามงายๆ ไว เปนขอแรกๆ เพื่อชักจูงใหผูตอบอยากตอบคําถามตอ สวนคําถามสําคัญๆ ไมควรเรียงไวตอนทายของ แบบสอบถาม เพราะความสนใจในการตอบของผูตอบอาจจะนอยลง ทําใหตอบอยางไมตั้งใจ ซึ่งจะ สงผลเสียตอการวิจัยมาก 5. ลักษณะของขอความที่ดี ขอคําถามที่ดีของแบบสอบถามนั้น ควรมีลักษณะดังนี้ 5.1 ข อ คํ า ถามไม ค วรยาวจนเกิ น ไป ควรใช ข อ ความสั้ น กะทั ด รั ด ตรงกั บ วัตถุประสงคและสองคลองกับเรื่อง 5.2 ขอความ หรือภาษาที่ใชในขอความตองชัดเจน เขาใจงาย 5.3 ไมใชคําถามนําหรือแนะใหตอบ 5.4 ไมถามเรื่องที่เปนความลับเพราะจะทําใหไดคําตอบที่ไมตรงกับขอเท็จจริง 5.5 ไมควรใชขอความที่มีความหมายกํากวมหรือขอความที่ทําใหผูตอบแตละคน เขาใจความหมายของขอความไมเหมือนกัน 5.6 ไมถามในเรื่องที่รูแลว หรือถามในสิ่งที่วัดไดดวยวิธีอื่น 5.7 ขอคําถามตอ งเหมาะสมกับ กลุ มตัวอยาง คือ ตองคํานึง ถึง ระดับ การศึกษา ความสนใจ สภาพเศรษฐกิจ ฯลฯ 5.8 ขอคําถามหนึ่งๆ ควรถามเพียงประเด็นเดียว เพื่อใหไดคําตอบที่ชัดเจนและ ตรงจุดซึ่งจะงายตอการนํามาวิเคราะหขอมูล 5.9 คําตอบหรือตัวเลือกในขอคําถามควรมีมากพอ หรือใหเหมาะสมกับขอคําถาม นั้น แตถาไมสามารถระบุไดหมดก็ใหใชวา อื่นๆ โปรดระบุ ………………. 5.10 ควรหลีกเลี่ยงคําถามที่เกี่ยวกับคานิยมที่จะทําใหผูตอบไมตอบตามความเปน จริงเชน ทานมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศหรือไม 5.11 คําตอบที่ไดจากแบบสอบถาม ตอ งสามารถนํามาแปลงออกมาในรู ปของ ปริมาณและใชสถิติอธิบายขอเท็จจริงได เพราะปจจุบันนี้นิยมใชคอมพิวเตอรในการวิเคราะหขอมูล
  • 8. เครื่องมือในการวิจัย |8 ดังนั้นแบบสอบถามควรคํานึงถึงวิธีการประมวลขอมูลและวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ดวย ขั้นที่ 4 การปรับปรุงแบบสอบถาม หลังจากที่สรางแบบสอบถามเสร็จแลว ผูวิจัยควรนําแบบสอบถามนั้นมาพิจารณา ทบทวนอีกครั้งเพื่อหาขอบกพรองที่ควรปรับปรุงแกไข และควรใหผูเชี่ยวชาญไดตรวจแบบสอบถาม นั้นดวยเพื่อที่จะไดนําขอเสนอแนะและขอวิพากษวิจารณของผูเชี่ยวชาญมาปรับปรุงแกไขใหดียิ่งขึ้น ขั้นที่ 5 นําแบบสอบถามไปทดลองใชเพื่อวิเคราะหคุณภาพ เปนการนําเอาแบบสอบถามที่ไดปรับปรุงแลวไปทดลองใชกับกลุมตัวอยางเล็กๆ เพื่อนําผลมาตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแบบสอบถามใหสมบูรณ ผู วิ จั ย จะต อ งทํ า การแก ไ ขข อ บกพร อ งที่ ไ ด จ ากผลการวิ เ คราะห คุ ณ ภาพของ แบบสอบถาม และตรวจสอบความถูก ตอ งของถอ ยคําหรื อ สํ านวน เพื่ อให แบบสอบถามมี ความ สมบูรณและมีคุณภาพผูตอบอานเขาใจไดตรงประเด็นที่ผูวิจัยตองการ ซึ่งจะทําใหผลงานวิจัยเปนที่ นาเชื่อถือยิ่งขึ้น ขั้นที่ 7 จัดพิมพแบบสอบถาม จั ดพิ ม พ แ บบสอบถามที่ ไดป รั บ ปรุ ง เรี ยบร อ ยแล วเพื่ อ นําไปใชจ ริ ง ในการเก็ บ รวบรวมขอมูลกับกลุมเปาหมาย โดยจํานวนที่จัดพิมพควรไมนอยกวาจํานวนเปาหมายที่ตองการเก็บ รวบรวมขอมูล และควรมีการพิมพสํารองไวในกรณีที่แบบสอบถามเสียหรือสูญหายหรือผูตอบไมตอบ กลับนอกจากนี้ โครงการฮักชุมชนอําเภอสันกําแพง. (2554) ยังไดกลาวถึง การสรางแบบสอบถาวา ควรมีขั้นตอน ดังนี้ 1. กําหนดวัตถุประสงคของการเก็บขอมูล วัตถุประสงคที่ ชัดเจน และสะทอนให เห็นปริมาณขอมูลที่จะไดรับจากการสอบถาม จะชวยในการวางขอบเขตของคาถามและการวัด 2. ตัดสินใจวาตองการวัดอะไร เชน ทัศนคติ ความรู พฤติกรรม/การปฏิบัติ ทักษะ ลักษณะประชากร 3. ระบุกลุมเปาหมาย จะถามใครจึงจะไดขอมูลที่ตองการ อาจมีการทดลองนาไป ถามกลุมคนที่มีลักษณะเหมือนกับผูที่จะเปนกลุมเปาหมายกอนเพื่อดูวาแบบสอบถามใชไดกับคนกลุม นั้นหรือไม
  • 9. เครื่องมือในการวิจัย |9 4. เลือกระดับการวัด 5. ตรวจสอบความนาเชื่อถือ เปนการวัดความสอดคลองของผลลัพธที่ไดจากการ ใชแบบสอบถาม ความสอดคลอง หมายความวาผูตอบเขาใจความหมายที่แทจริงของคาถามตามที่ เขียน และ อดุลยเดช ไศลบาท. (ม.ป.ป.) กลาวถึง แนวทางในการสรางแบบสอบถามไวดังนี้ 1. กํ าหนดขอบขายแนวคิดเรื่องราวที่จ ะตอบใหชัดเจน โดยการจัดลําดับ หัวขอ ใหญ หัวขอยอย เชน ตองการถามเกี่ยวกับการอบรม อสม ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลลัพธ เนื้อหา บรรยากาศ ผลสัมฤทธิ์ของการอบรม สถานที่ ปฏิสัมพันธ เจตคติ 2. เขียนขอความหรือขอคําถามจากหัวขอยอยๆ ทุกหัวขอ เชน เนื้อหาความรูที่ใช อบรม อสม. เปนความรูที่ อสม. จะสามารถนําไปใชปฏิบัติงานไดที่ระดับใด [ ] มาก [ ] ปานกลาง [ ] นอย [ ] ใชไมได โปรดระบุ................................ 3. จัดเรียงลําดับขอคําถาม มีรายละเอียดการชี้แจงการใชแบบสอบถาม 4. กอนนําแบบสอบถามไปใชจริง ควรประเมินความถูกตองและทดลองหาคําตอบ จากทุกขอคําถามกอน สรุปไดวา ขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม จะตองกําหนดขอบขายแนวคิดเรื่องราวที่ จะตอบใหชัดเจน เขียนขอคําถามและจัดเรียง หาคุณภาพ และนําไปใช
  • 10. เครื่องมือในการวิจัย | 10 1.3 การตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม มารยาท โยทองยศ (ม.ป.ป) กล า วว า การวิ เ คราะห ห รื อ ตรวจสอบคุ ณ ภาพของ แบบสอบถามทําไดหลายวิธี แตที่สําคัญมี 2 วิธี ไดแก 1. ความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง เครื่องมือที่สามารถวัดไดในสิ่งที่ตองการวัด โดยแบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ 1) ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) คือ การที่แบบสอบถามมีความ ครอบคลุมวัตถุประสงคหรือพฤติกรรมที่ตองการวัดหรือไม คาสถิติที่ใชในการหาคุณภาพ คือ คาความ สอดคล อ งระหวางขอ คําถามกั บ วัตถุประสงค หรื อ เนื้อ หา(IOC: Index of item Objective Congruence) หรือดัชนีความเหมาะสม โดยใหผูเชี่ยวชาญ 3 คนขึ้นไป ประเมินเนื้อหาของขอถาม เปนรายขอ 2) ความเที่ ย งตรงตามเกณฑ (Criterion-related Validity) หมายถึ ง ความสามารถของแบบวัดที่สามารถวัดไดตรงตามสภาพความเปนจริง แบงออกไดเปนความเที่ยงตรง เชิงพยากรณและความเที่ยงตรงตามสภาพ สถิติที่ใชวัดความเที่ยงตรงตามเกณฑ เชน คาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ (Correlation Coefficient) ทั้งของ Pearson และ Spearman และ คา t-test เปนตน 3) ความเที่ยงตรงตามโครงสราง (Construct Validity) หมายถึงความสามารถ ของแบบสอบถามที่สามารถวัดไดตรงตามโครงสรางหรือทฤษฎี ซึ่งมักจะมีในแบบวัดทางจิตวิทยาและ แบบวัดสติปญญา สถิติที่ใชวัดความเที่ยงตรงตามโครงสรางมีหลายวิธี เชน การวิเคราะหองคประกอบ (Factor Analysis) การตรวจสอบในเชิงเหตุผล เปนตน 2. ความเชื่ อมั่ น (Reliability) หมายถึง เครื่ องมื อ ที่ มี ความคงเส นคงวา นั่นคือ เครื่องมือที่สรางขึ้นใหผลการวัดที่แนนอนคงที่จะวัดกี่ครั้งผลจะไดเหมือนเดิม สถิติที่ใชในการหาคา ความเชื่อมั่นมีหลายวิธีแตนิยมใชกันคือ คาสัมประสิทธิ์แอลฟาของ คอนบารช (Conbach’s Alpha Coefficient : α coefficient) ซึ่งจะใชสําหรับขอมูลที่มีการแบงระดับ การวัดแบบประมาณคา (Likert Scale) วชิ ร พั น ธ เชื้ อ หมอ. (ม.ป.ป.) กล า วว า การตรวจสอบความเชื่ อ มั่ น ของ แบบสอบถาม เป นการหาความสอดคลอ งภายในโดยพยายามอธิบ ายวาขอ คําถามแตล ะขอในขอ คําถามชุดหนึ่ง นั้นเป นเรื่ อ งเดียวกั นหรื อ ทิ ศทางเดียวกั นในกรณีที่ ข อ คําถามเป น แบบมาตรส ว น ประมาณคา นิยมใชสัมประสิทธิแอลฟา ( ∝ - Coefficient) เพื่อหาคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม
  • 11. เครื่องมือในการวิจัย | 11 (พิตร, 2544 : 225 อางถึงใน วชิรพันธ เชื้อหมอ. ม.ป.ป.) นอกจากนี้แลวอาจหาความเชื่อมั่นดวยการ สอบซ้ําก็ได (สมคิด , 2538 : 34 อางถึงใน วชิรพันธ เชื้อหมอ. ม.ป.ป.) ถาตองการแสดงวาใชวัดกี่ครั้ง ก็ใหผลคงที่ วิกร ตันทวุฑโดม. (ม.ป.ป.) กลาววา แบบสอบถามเปนเครื่องมือวิจัยที่ใชมากในการ เก็บรวบรวมขอมูลจากบุคคลโดยเฉพาะความรูสึกหรือความคิดเห็น (Blaxter, Hughes and Tight, 1996 : 159) ลักษณะสําคัญของแบบสอบถามคือไมมีคําตอบที่ถือวาผิด มักสรางขึ้นเพื่อใชเ ฉพาะ  กรณีหรือเฉพาะเรื่อง การตรวจสอบคุณภาพพิจารณาตามความจําเปน ที่นิยมกันเปนการตรวจสอบ ความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่น การตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม โดยทั่วไปดําเนินการโดยผูเชี่ยวชาญ ตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมของเนื้อหา ขอคําถามครอบคลุมครบถวนตามทฤษฎีหรือแนวคิดและ ครบถวนตามวัตถุประสงคหรือปญหาของการวิจัย( สมคิด, 2538, 34) บางกรณีอาจมีผูเชี่ยวชาญ ทางดานเทคนิคการสรางแบบสอบถามเพื่อตรวจสอบความถูกตองของรูปแบบคําถามและการจัดขอ คําถาม ถาเปนไปไดควรทําการวิเคราะหแบบสอบถามเปนรายขอ (ปญญา, 2548 : 42 -44) ควรมี การทดลองนําไปใชกับกลุมตัวอยางกอนนําไปใชจริงก็จะดียิ่งขึ้น เพราะเปนการตรวจสอบอีกวาภาษา ที่ใชในขอคําถามนั้นสื่อความหมายไดตรงกัน การตรวจสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เปน การหาความสอดคลองภายในโดย พยายามอธิบายวาขอคําถามแตละขอในขอคําถามชุดหนึ่งนั้นเปนเรื่องเดียวกันหรือทิศทางเดียวกันใน กรณีที่ขอคําถามเปนแบบมาตรสวนประมาณคา นิยมใช สัมประสิทธิแอลฟา ( ∝ - Coefficient) เพื่อหาคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (พิตร, 2544 : 225) นอกจากนี้แลวอาจหาความเชื่อมั่นดวย การสอบซ้ําก็ได (สมคิด , 2538 : 34) ถาตองการแสดงวาใชวัดกี่ครั้งก็ใหผลคงที่ สรุปไดวา การหาคุณภาพของแบบสอบถามทําได 2 วิธี คือ การหาคาความเที่ยง และ การหาคาความเชื่อมั่น
  • 12. เครื่องมือในการวิจัย | 12 1.4 การนําไปใช อุทุมพร จามรมาน. (2544) กลาววา วิธีใชแบบสอบถามมี 2 วิธี คือการสงทางไปรษณีย กับ การเก็ บขอ มู ลดวยตนเอง ซึ่ งไม วากรณีใดตองมี จดหมายระบุวัตถุป ระสงคของการเก็ บขอ มู ล ตลอดจนความสําคัญของขอมูลและผลที่คาดวาจะไดรบ เพื่อใหผูตอบตระหนักถึงความสําคัญและสละ ั เวลาในการตอบแบบสอบถาม การทําใหอัตราตอบแบบสอบถามสูงเปนเปาหมายสําคัญของผูวิจัย ขอมูลจากแบบสอบถามจะเปนตัวแทนของประชากรไดเมื่อมีจานวนแบบสอบถามคืนมามากวารอยละ ํ 90 ของจํานวนแบบสอบถามที่สงไป แนวทางที่จะทําใหไดรับแบบสอบถามกลับคืนในอัตราที่สูง มี วิธีการดังนี้ 1. มีการติดตามแบบสอบถามเมื่อใหเวลาผูตอบไประยะหนึ่ง ระยะเวลาที่เหมาะสมใน การติดตามคือ 2 สัปดาห หลังครบกําหนดสง อาจจะติดตามมากกวาหนึ่งครั้ง 2. วิธีการติดตามแบบสอบถาม อาจใชจดหมาย ไปรษณีย โทรศัพท เปนตน 3. ในกรณีที่ขอคําถามอาจจะถามในเรื่องของสวนตัว ผูวิจัยตองใหความมั่นใจวาขอมูลที่ ไดจะเปนความลับ และวิกร ตันทวุฑโดม. (ม.ป.ป.) กลาววา แบบสอบนําไปใชเมื่อตองการเก็บรวบรวม ขอมูลที่เปนความคิดเห็น ความตองการสภาพปญหา เปนตน โดยใหผูตอบเขียนหรือเลือกคําตอบ ซึ่ง คําตอบนี้ไมมีถูกหรื อผิด อาจจะถามนักเรียนผูปกครอง หรือเพื่อนครู ขอมู ลที่ไดเป นทั้ง ขอมู ลเชิง ปริมาณและขอมูลเชิงคุณภาพ สรุ ปไดวาเราสามารถนําแบบสอบถามไปใชกั บกลุ มเป าหมายได 2 วิธีคือ การส งทาง ไปรษณีย กับการเก็บขอมูลดวยตนเอง ตัวอยางแบบสอบถาม 1. แบบสอบถามแบบปลายเปด ตามความคิดเห็นของทานระบบบริการสาธารณสุขแบบผสมผสานที่ดําเนินการอยู ในพื้นที่นี้เปนอยางไรบาง ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 13. เครื่องมือในการวิจัย | 13 2. แบบสอบถามแบบปลายปด/มีโครงสราง เมื่อมีโรคระบาดเกิดขึ้น ทานไดปฏิบัติ อยางไร เลือกตอบไดมากกวา 1 ขอ (1) บํารุงสุขภาพใหแข็งแรง (2) หลีกเลี่ยงโรคติดตอนั้น (3) ไปรับวัคซีนเพื่อปองกันโรค (4) ติดตามขาวสารเกี่ยวกับโรคนั้น (5) แนะนําผูอื่นใหระมัดระวังการติดเชื้อ (6) อื่นๆ ระบุ.............................................. 2. แบบสัมภาษณ (นายศรัณยู หมื่นเดช) 2.1 ความหมาย มหาวิท ยาลั ย รามคํา แหง (ม.ป.ป.) ได ให ความหมายของการสั ม ภาษณ ไว ดัง นี้ การ สัมภาษณ (Interview) หมายถึง การสนทนาที่มีจุดมุงหมายใหไดขอมูลตามที่ไดกําหนดไวลวงหนา โดยจะมีผูสัมภาษณเปนผูตั้งคําถาม และผูถูกสัมภาษณจะเปนผูตอบคําถาม ผูสัมภาษณจะเปนผูจด บันทึก ใชเทปบันทึกเสียงหรือใชวีดิโอเทปบันทึกคําตอบของคําถามตางๆ การสัมภาษณนี้เหมาะกับ การเก็บขอมูลจากเด็กๆ หรือผูที่อานหนังสือไมคอยได สุมิตร สุวรรณ (ม.ป.ป.) กลาววา การสัมภาษณ (interview) เปนการเจาะลึกประเด็นตาง ๆ ที่ผูวิจัยสนใจ อาจใชสัมภาษณเปนรายบุคคลหรือเปนกลุมก็ได กิติพัฒน นนทปทมะดุล (ม.ป.ป.) ไดใหความหมายของการสัมภาษณดังนี้ กลาวอยางให เขาใจงายๆ การสัมภาษณคือการสนทนากันอยางมีทิศทาง จุดมุงหมายของการสัมภาษณโดยทั่วไปก็ คือการทําความเขาใจบุคคลที่นักวิจัยสัมภาษณในดานมุมตางๆของเขาหรือเธอ การสัมภาษณที่ทํา ไดผ ลดัง ที่นัก วิจั ยประสงคถือไดวาเปนเครื่ องมื อในการเก็ บรวบรวมขอมู ลที่มี ประสิท ธิผลอยางสู ง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในการวิจั ยเชิง คุณภาพในงานสวัสดิก ารสั ง คม การสั ม ภาษณทํ าใหนัก วิจัยเชิง คุณภาพมีโอกาสในการเรียนรูและเขาใจในเรื่องราว ประสบการณ พฤติกรรม ความรูสึก และความ คิดเห็นดานตางๆของบุคคลที่นักวิจัยจะไมมีทางลวงรูไดจากการเพียงสังเกตอยูหางๆ ยิ่งไปกวานั้น การสั มภาษณยังชวยใหนักวิจั ยสามารถประเมินลึกซึ้ง ไปถึงการรับรู ของบุคคลวามี ความสําคัญตอ บุคคลผูนั้นอยางไร
  • 14. เครื่องมือในการวิจัย | 14 สรุปไดวา การสัมภาษณคือ การสนทนาอยางมีจุดมุงหมายระหวางผูสัมภาษณและผูถูก สัม ภาษณ อาจเปนรายบุ คคลหรื อเปนกลุ ม ก็ได เพื่ อทราบความคิด เรื่ องราว ประสบการณ และ ความรูสึก ในแงมุมตาง ๆ แบบสัมภาษณ (หนวยที่ 6 เครื่องมือในการวิจัย. ม.ป.ป.)เปนการรวบรวมขอมูลโดยมีการ สื่อสารกันระหวางผูถามกับผูใหขอมูล ทั้งนี้การสื่อสารจะตองมีจุดมุงหมาย แบบสัมภาษณ (เครื่องมือในการวิจัย. ม.ป.ป.) (Interview Form) ลักษณะของเครื่องมือ ชนิดนี้จะไดขอมูลมาจากการสนทนา เปนการถามตอบกันโดยตรง ทั้งผูถามจะมีฐานะเปนผูสัมภาษณ (Interviewer) สวนผูตอบจะมีฐานะเปนผูถูกสัมภาษณ (Interviewee) ดังนั้นอาจสรุปไดวา แบบสัมภาษณ คือ เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสนทนา อยางมีจุดมุงหมายระหวางผูสัมภาษณและผูถูกสัมภาษณ 2.2 ประเภทของการสัมภาษณ การสัมภาษณแบงออกไดเปน 2 (การสรางเครื่องมือวิจัย. ม.ป.ป.) ลักษณะดังนี้ 1) การสัมภาษณแบบที่มีโครงราง (Structured interview) เปนแบบที่มีคําถาม กําหนดไวแนนอน บางคําถามก็เปนแบบปลายเปด บางคําถามก็เปนแบบปลายปด การสัมภาษณแบบ นี้เหมือนกับแบบสอบถามที่กลาวมาแลว ตางกันตรงที่การสัมภาษณ ผูสัมภาษณเปนผูเขียนคําตอบ ของผูตอบเอง 2) การสั ม ภาษณ แ บบไม มี โ ครงร า ง (Unstructured interview) เป นการ สั ม ภาษณที่ ไม มี คํา ถามกํ า หนดไว ล วงหน า แน น อน ผู สั ม ภาษณ ส ามารถเปลี่ ย นแปลงคํา ถามได ตลอดเวลา ตามสถานการณแตตองมุงใหไดขอมูลตามจุดมุงหมายที่กําหนดไว การสัมภาษณแบบนี้ผู สัมภาษณจะตองมีความชํานาญการและตองจําคําถามตางๆ ได แบงตามวิธีการสัมภาษณได 2 ประเภท คือ 1) แบบสัมภาษณช นิดมีโครงสรางแนนอน มีลักษณะคลายคลึงกับ แบบสอบถาม แบบเลือกตอบ ประกอบดวยขอคําถาม และคําตอบเอาไวใหผูตอบเลือกหลายคําตอบ ผูเก็บรวบรวม ขอมูลจะสัมภาษณตามเนื้อหาในแบบสัมภาษณ เทานั้นโดยอานคําถามทีละขอ แลวใหผูตอบเลือ ก คําตอบที่ไดเตรียมไว
  • 15. เครื่องมือในการวิจัย | 15 2) แบบสัมภาษณชนิดไมมีโครงสรางแนนอน มักประกอบดวยแนวคําถามกวาง ๆ และมีลักษณะยืดหยุน เพื่อใหผูใหขอมูลสามารถใหขอคิดในแนวลึกคลายแบบสอบถามชนิดปลายเปด การสัมภาษณแบงออกไดเปน 2 ประเภท (เครื่องมือที่ใชในการวิจัย. 2555) ไดแก การ สัมภาษณแบบมีโครงสราง และการสัมภาษณแบบไมมีใครสราง 1) การสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured Interview) การสัมภาษณแบบนี้ จะตองมีการกําหนดโครงสรางของขอคําถามตางๆ ไวกอนลวงหนาแลวจัดพิมพเปนแบบสัมภาษณ ผู สัมภาษณจะซักถามผูถูกสัมภาษณทุกๆ คนดวยขอคําถามเดียวกันตามแบบสัมภาษณ โดยผูสัมภาษณ จะจดบันทึกคําตอบทั้งหมดลงในแบบสัมภาษณ 2) การสัมภาษณแบบไมมีโครงสราง (Unstructured Interview) การสัมภาษณ แบบนี้ผู สั มภาษณไมตอ งสร างขอคําถามตางๆ ไวก อ นล วงหนา เพียงแตกํ าหนดเป นแนวทางการ สั ม ภาษณ (Interview Guide) ไวคร าวๆ เท านั้น การสั ม ภาษณแบบนี้จึ ง มี ความยืดหยุนสู ง ผู สัมภาษณและผูถูกสัมภาษณจึงมีอิสระในการถามตอบอยางเต็มที่ ผูถูกสัมภาษณจึงตองมีความรูและ ความเชี่ยวชาญเปนพิเศษ กิติพัฒน นนทปทมะดุล (2554) ไดแบงประเภทการสัมภาษณไดดังนี้ 1) การสัมภาษณแบบไมเปนทางการ (informal interview) มักจะใชควบคูไปกับ การสังเกตแบบมีสวนรวม เพื่อใหเห็นภาพและเขาใจปรากฏการณทางสังคมวัฒนธรรม โดยการเตรียม คําถามแบบกวาง ๆมาลวงหนาแบบไมจํากัดคําตอบ การสัมภาษณแบบไมเปนทางการนี้อาจใชวิธีการ ตาง ๆ เชน การตะลอ ม กล อ มเกลา (probe) ซึ่ ง เป นการพู ดคุยซั ก ถามเพื่ อ ล วงเอาส วนลึก ของ ความคิดออกมา หรือการเงี่ยหูฟง (eavesdropping) ซึ่งเปนการฟงคําสนทนาของผูอื่นโดยผูวิจัยไม ตองตั้งคําถามเอง 2) การสัมภาษณแบบเปนทางการ (formal interview) หรือการสัมภาษณแบบมี โครงสราง เปนการสัมภาษณที่ผูวิจัยไดเตรียมคําถามและขอกําหนดไวแนนอนตายตัว โดยปกตินักวิจัย เชิง คุณภาพมัก จะไม ใชวิธีก ารนี้เป นหลัก เพราะไมไดชวยใหผู วิจัยไดขอ มูลที่ ลึก ซึ้ง และครอบคลุ ม เพียงพอ โดยเฉพาะในแงของวัฒนธรรม ความหมายและความรูสึกนึกคิด แตอาจเหมาะสมกับการ สัมภาษณผูนําชุมชนหรือผูบริหารองคกรมากกวา
  • 16. เครื่องมือในการวิจัย | 16 3) การสัมภาษณแบบเจาะลึก (in-depth interview) เปนการสัมภาษณผูใหขอมูล สําคัญ (key informant interview) ซึ่งเปนผูที่มีความรูหรือมีขอมูลในเรื่องที่ผูวิจัยกําลังศึกษาดีที่สุด หรือมีความเกี่ยวของมากที่สุด โดยกําหนดตัวผูตอบบางคนแบบเจาะจงเอาไวลวงหนา 4) การสนทนากลุม (focus group discussion) เปนการระดมสมองและการ อภิปรายในเรื่องที่ผูวิจัยกําลังศึกษา ซึ่งผูเขารวมสนทนาควรมีพื้นฐานประสบการณที่ใกลเคียงหรือ คลายคลึงกัน ในการจัดกลุมสนทนา จะใชคนประมาณ 8 - 12 คน โดยผูวิจัยเปนผูดําเนินการสนทนา และมีผูชวยอีก 1 - 2 คน อยางไรก็ตาม ในการสัมภาษณมีขั้นตอนที่สําคัญซึ่งผูวิจัยควรระลึกเอาไว ดวย คือ การแนะนําตัว การสรางความสัมพันธ การจดบันทึกคําตอบ การใชภาษา ตลอดจนเวลาและ สถานที่ที่ใชในการสัมภาษณ โดยทั่วไป การสัมภาษณในฐานะเครื่ องมือ หรือ วิธีการในการเก็ บรวบรวมขอ มูลการวิจั ย สามารถจําแนกไดเปน 3 (สุมิตร สุวรรณ. 2555) ประเภท คือ 1. การสัมภาษณแบบมีโครงสรางหรือแบบมาตรฐาน (Structured or standardized interviews) 2. การสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางหรือ แบบปลายเปด (Unstructured or open- ended interviews) 3. การสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง (Semi-structured or guided interviews) การสัมภาษณแบบมีโครงสราง การสัมภาษณแบบมีโครงสราง บางครั้งนิยมเรียกวา การสัม ภาษณแบบมาตรฐาน กลาวคือเปนการสั มภาษณที่มีการกําหนดคําถามเฉพาะเจาะจงและ ชัดเจน หลักการและเหตุผลของการสัมภาษณแบบมีโครงสราง คือ การพยายามทําใหผูถูกสัมภาษณ แตละคนไดรับชุดคําถามชุดเดียวกัน เพื่อวาจะสามารถเปรียบเทียบคําตอบของแตละคนไดสะดวกขึ้น การสัมภาษณประเภทนี้ตั้งอยูบนขอสันนิษฐานวา (1) การสัมภาษณแบบมีโครงสรางนั้นสามารถที่จะเก็บรวบรวมขอมูลไดครบถวนตรง ตามเรื่องที่นักวิจัยศึกษา (2) ชุดคาถามในการสัมภาษณแบบมีโครงสรางนั้นสามารถทําใหผูถูกสัมภาษณเขาใจ คาถามไดอยางชัดเจน และ (3) ความหมายของคําถามแตละขอนั้นเปนความหมายที่ผถูกสัมภาษณทุกคนจะเขาใจ ู ตรงกัน
  • 17. เครื่องมือในการวิจัย | 17 ในการตัดสินใจเลื อกใชการสัม ภาษณแบบมีโครงสรางหรือ แบบมาตรฐานนั้น หาก นัก วิจั ยจํ าเป นตอ งเก็ บ ขอ มู ล ดวยการสั ม ภาษณ ผู มี ส วนร วมในการวิจั ย จํ านวนมากและตอ งใช ผู สัมภาษณหลายคน ตลอดจนตองการนาขอมูลจากการสัมภาษณของผูมีสวนรวมในการวิจัยแตละราย มาเปรี ย บเที ยบกั น การตั ดสิ น ใจเลื อ กการสั ม ภาษณ แบบมี โ ครงสร า งน า จะมี ค วามเหมาะสม นอกจากนั้ น นั ก วิ จั ย ที่ ไ ม ใ คร มี ป ระสบการณ ในการสั ม ภาษณม าก อ นหรื อ เป น นั ก วิ จั ย มื อ ใหม โดยเฉพาะเมื่อนักวิจัยมือใหมพิจารณาวาการเดินทางไปพบผูมีสวนรวมในการวิจัยหรือการมีโอกาส สัมภาษณผูมีสวนรวมในการวิจัยบอยครั้งเปนไปไดยากลําบาก นักวิจัยมือใหมจึงนิยมเลือกสัมภาษณ แบบมี โ ครงสร า ง จนเมื่ อ นัก วิ จั ย มี ป ระสบการณ ม ากขึ้ น มี ค วามชํา นาญ และมี ค วามมั่ น ใจใน กระบวนการเก็บขอมูลดวยการสัมภาษณมากขึ้น อาจจะพิจารณาเลือกการสัมภาษณแบบอื่นๆที่ดูเปน ธรรมชาติมากกวาและเปดโอกาสในการมีปฏิสัมพันธกับผูมีสวนรวมในการวิจัยไดมากยิ่งขึ้น การสัมภาษณแบบมีโครงสรางหรือแบบมาตรฐานมีทั้งจุดที่เปนประโยชนและเปนขอ จากัด ในดานที่เปนประโยชน การสัมภาษณแบบมีโครงสรางทําใหนักวิจัยเก็บขอมูลไดครบถวนอยาง ที่ตองการ เนื่องจากตองจัดเตรียมชุดของขอคําถามมาอยางละเอียด โดยในคําถามบางขอ ผูมีสวนรวม ในการวิจัยอาจจะไม ส ามารถตอบไดทันที นัก วิจัยก็ อ าจจะให เ วลา หรื อ ถามในขอ อื่ นๆก อ นแล ว ยอนกลับมาถามใหมในขอที่ยังตอบไมได ซึ่งถาไมไดเตรียมขอคําถามไปแบบโครงสราง เมื่อถามไปขอ อื่นๆ พลวัตของการสนทนาและการสัมภาษณอาจจะทําใหนักวิจัยลืมกลับมาถามและไมไดเก็บขอมูล ไปอยางครบถวน ในสวนที่เปนขอจํากัด ซึ่งนับเปนเหตุผลสําคัญที่นักวิจัยเชิงคุณภาพที่มีประสบการณ ในการสัมภาษณไมนิยมใชก็คือ การสัมภาษณแบบมีโครงสรางมักทําใหนักวิจัยขาดความละเอียดออน ในการสังเกตอารมณความรูสกของผูมสวนรวมในการวิจัย เนื่องเพราะนักวิจัยจะเกร็งกับการไลถามไป ึ ี ตามชุดคําถามที่เตรียมมามากเกินไป ทําใหการถามมา-ตอบไปมีลักษณะเปนกลไกที่หยาบและแข็ง กระดางอยางมาก และในหลายกรณี ผูมีสวนรวมในการวิจัยจะรูสึกวามีกําแพงขวางกั้นการสนทนา ระหวางเขาหรือเธอกับนักวิจัยไดงายมาก นักวิจัยเชิงคุณภาพบางทานถึงกับมองวา การสัมภาษณแบบมีโครงสรางนั้นไมเหมาะ กับผูมีสวนรวมในการวิจัยหลายคน หรือบางทานก็วาไมเหมาะสมกับการวิจัยเชิงคุณภาพโดยสิ้นเชิง เราจึ ง มัก พบวา การวิจั ยเชิง คุณภาพส วนใหญ ไม นิยมใชก ารสั ม ภาษณแบบมี โ ครงสร างหรื อ แบบ มาตรฐาน
  • 18. เครื่องมือในการวิจัย | 18 การสั ม ภาษณ แ บบไม มี โ ครงสร า ง หรือ แบบปลายเปด การสั ม ภาษณ แ บบไม มี โครงสร างหรือ บางครั้ งก็เ รียกกันวาการสัม ภาษณแบบปลายเป ดนั้น ถือวาเปนวิธีการเก็ บขอ มูล ที่ เหมาะสมที่สุดในการเก็บรวบรวมสาระดานการรับรูโลกและประสบการณของผูมีสวนรวมในการวิจัย ทั้งนี้ การสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางหรือแบบปลายเปดมีลักษณะตรงกันขามกับการสัมภาษณแบบ มีโครงสรางหรือแบบมาตรฐานโดยสิ้นเชิง ในขณะที่การสัมภาษณแบบมีโครงสรางดูหยาบและแข็ง กระดาง การสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางดูยืดหยุนและลื่นไหลไปตามสถานการณไดดีกวา ทั้งนี้เพราะ การสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางไมไดใชขอคาถามที่กําหนดไวอยางตายตัว แตจะมีลักษณะรวบรวม ชุดของคาถามที่สําคัญๆ ที่มีที่มาจากขอสันนิษฐานอันหลากหลายกวาการสัมภาษณแบบมีโครงสราง นักวิจั ยที่ใชการสัม ภาษณแบบไมมี โครงสรางมัก ไมตองการกําหนดขอสั นนิษฐานที่ ตายตัวไวลวงหนา หรือนักวิจัยอาจจะไมทราบเลยวาขอสันนิษฐานของสิ่งที่จะเก็บรวบรวมนั้นเปน ประการใดบาง นักวิจัยอาจไมทราบลวงหนาวา คําถามที่นักวิจัยจําเปนตองถามนั้นคือคําถามอะไรบาง ดัง นั้น การสั ม ภาษณของนัก วิจั ยจึ ง มี ลัก ษณะเป นการสื บ คนหาขอ มู ล อยางแทจ ริ ง ยิ่ง ไปกวานั้น นักวิจัยที่นิยมการสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางยังเชื่อวาผูที่มีสวนรวมในการวิจัยหรือผูถูกสัมภาษณแต  ละคนจะมีการรับรูและเขาใจความหมายของขอคําถามที่มีโครงสรางหรือมีมาตรฐานอยางแตกตางกัน ไมมีทางที่คนหลายคนจะเขาใจคําถาม แมวาจะมีมาตรฐานเพียงใด ไดอยางเหมือนกันโดยสิ้นเชิง ในการสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางหรือแบบปลายเปด นักวิจัยจะพิจารณาสรางคา ถาม ปรั บ คําถาม และพั ฒ นาคําถามให ส อดคล องกั บ สถานการณจ ริ ง ในการสั มภาษณแตล ะครั้ ง ขณะเดียวกันก็พยายามปรับใหคําถามนั้นเปดรับกับการทําใหไดขอมูลที่ตอบสนองตอวัตถุประสงคของ การวิจั ยดวย ตัวอยางเชน ในการสั ม ภาษณเ ด็ ก เร ร อนที่ ให บ ริ ก ารทางเพศในพื้ นที่ แห ง หนึ่ง ของ กรุงเทพมหานคร นักวิจัยพบวาเด็กเรรอนบางคนกลาเปดเผยเรื่องราวของตนไดไมยากนัก ในขณะที่ เด็กเรรอนกลุมเดียวกันอีกหลายคนเริ่มดวยการปฏิเสธวา ตนไมไดคาประเวณี จนนักวิจัยตองสราง ความไววางใจอีกระยะเวลาหนึ่ง เด็กจึงเริ่มกลาที่จะบอกความจริงทีละเล็กละนอย หากนักวิจัยใชการ สัมภาษณแบบมีโครงสรางหรือแบบมาตรฐาน นาจะประสบความยุงยากหรือไมไดขอมูลที่มากพอ ใน การสัมภาษณครั้งนั้น นักวิจัยตองใชเวลาปรับเปลี่ยนคําถามและทาทีอยูนานพอสมควรจึงจะไดรับ คําตอบที่เพียงพอและมีคุณคาตอการวิจัยอยางมาก สําหรับนักวิจัยเชิงคุณภาพที่มีประสบการณนอยมาก มักจะวิตกกังวลในการสัมภาษณ แบบไมมีโครงสราง และเลือกที่จะใชแบบสัมภาษณมาตรฐานที่เตรียมมาแลวอยางละเอียดมากกวา
  • 19. เครื่องมือในการวิจัย | 19 อยางไรก็ตาม นักวิจัยเชิงคุณภาพมือใหมอาจจะตองเริ่มตนดวยความตั้งใจจริง ความรูสึกอยากรูอยาก เห็ นในขอ มู ล ที่ ไมเ คยล วงรู ม าก อน คํานึง ถึง ความแตกตางของบุคคล และการให ความเคารพใน ประสบการณที่ ห ลากหลายของแตล ะบุ ค คล เหล า นี้จ ะทํ าให เ ราเริ่ ม ตนการสั ม ภาษณแบบไม มี โครงสรางไดราบรื่นขึ้นและมีความมั่นใจยิ่งขึ้นเรื่อยๆ การสั ม ภาษณแบบไม มี โ ครงสร างหรื อ แบบปลายเป ด แม วา จะคล ายคลึ ง กั บ การ สัมภาษณในการใหการปรึกษา (Counseling) และการสัมภาษณในการทางานสังคมสงเคราะหเฉพาะ ราย (Social casework) ซึ่ ง ผู ให ก ารปรึ ก ษาหรื อ นัก สั งคมสงเคราะห อ าจจะตอ งรวมศูนยก าร สัมภาษณไปที่สถานการณปญหาที่ผใชบริการประสบ การที่นักสังคมสงเคราะหตอบสนองตอเรื่องราว ู ที่ผูใชบริการเลามาจะชวยใหผูใชบริการขยายความในรายละเอียดมากยิ่งขึ้นและในที่สุดก็จะเกิดการ ฉุกคิดหรือเริ่มพอจะมองเห็นโอกาสและแนวทางที่จะแกไขปญหาของตนเอง ในการสัมภาษณแบบไมมี โครงสรางของนักวิจัย มีวัตถุประสงคเพื่อตองการขอมูลที่สามารถนาไปวิเคราะหเพื่อตอบคําถามใน การวิจัยเปนหลัก กระนั้นก็ตาม ในการวิจั ยดานสวัสดิการสัง คมซึ่ง มีเ นื้อ หาเกี่ ยวกับ สภาพชีวิตความ เปนอยูของประชาชนอยางกวางขวาง เราพบวาสถานการณปญหาของผูมีสวนรวมในการวิจัยหลาย กรณีเปนสิ่งที่เมื่อพูดคุยสัมภาษณแลว มีผลในเชิงการใหความชวยเหลือในเชิงการสังคมสงเคราะห เฉพาะรายหรือการใหการปรึกษาไปพรอมกัน นอกจากนั้น ในบางสถานการณนักวิจัยอาจพิจารณาให ความชวยเหลือ โดยพื้นฐานของจริยธรรมทางวิชาชีพหรือโดยมนุษยธรรมของนักวิจยแตละบุคคล เชน ั นักวิจัยผูหนึ่งไปเก็บขอมูลจากกลุมสนทนาประเด็นเฉพาะ (Focus group) ในกลุมประชาชนที่อาศัย อยู ในเขตอําเภอแหงหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม การวิจัยนั้นเปนเรื่องราวของ ประชาชนที่มีความเดือดรอนจากที่ดินทากินซึ่งถูกทางราชการประกาศวาเปนเขตปา สงวนแหงชาติ ทั้งๆที่ประชาชนอาศัยทามาหากินมานานกวา 70 ป นักวิจัยไปเก็บขอมูล ทวาไปพบ กรณีเด็กหญิงคนหนึ่งในหมูบานนี้กําลังเดือดรอนเพราะพอแมเพิ่งเสียชีวิตดวยโรคเอดส ทําใหเด็กตอง ออกจากโรงเรียนกลางคัน เพราะไมมีผูใดสงเสียใหเลาเรียน นักวิจัยประเมินวาเด็กหญิงขาดโอกาส ทางการศึกษาอยางแนนอนและอาจเสี่ยงตอการถูกชักจูงไปดาเนินชีวิตอยางไมเหมาะสม นักวิจัยจึงได ติดตอองคกรที่เกี่ยวของใหความชวยเหลือดานทุนการศึกษาแกเด็กหญิงผูนี้