SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง




                   โดย
           นางสาวขนิษฐา วทัญญู
           ตาแหน่ง ครูชานาญการ




    โรงเรียนเมืองใหม่(ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์)
              สพป.ลพบุรี เขต 1
คานา


         สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา (2554 :1-2) พระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 80 บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูน
ความรู้ ทักษะ เจตคติ และจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งจะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล และความก้าวหน้าแก่ราชการ ประกอบกับ ก.ค.ศ. กาหนดมาตรฐานวิทยฐานะเกี่ยวกับ
หน้าที่รับผิดชอบ คุณภาพการปฏิบัติงานและคุณสมบัติเฉพาะสาหรับวิทยฐานะชานาญการพิเศษ ซึ่ง
ระบุว่าต้องได้รับการพัฒนาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด โดยระบุให้สถาบันพัฒนาครู
คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาร่วมกับส่วนราชการและสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานอื่น
ดาเนินการจัดทาหลักสูตรและคูมือการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรก่อนแต่งตั้งให้มีและเลื่อนเป็น
                            ่
วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ ซึ่งในหลักสูตรกาหนดให้ข้าราชการครูที่เข้าอบรมเพื่อพัฒนาตนเองตาม
เกณฑ์ ต้องศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองตามประเด็นที่หลักสูตรกาหนด
         รายงานการศึก ษาค้นคว้าด้ว ยตนเอง ได้รบรวมองค์ความรู้ที่ไ ด้จากการศึก ษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า จักเป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อไป

                                                                            ขนิษฐา วทัญญู
สารบัญ

บทที่ 1 บทนา                                                                 1
บทที่ 2 การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติในหน้าที่ครูชานาญการพิเศษ                 2
         หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผูเรียน
                                                                      ้      2
         หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภาวะผู้นาทางวิชาการ                           4
บทที่ 3 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและวางแผนพัฒนา                  7
        คุณภาพการปฏิบัติงานของครูชานาญการพิเศษ
           หน่วยการเรียนรูที่ 3 ความเป็นครู
                            ้                                                 7
           หน่วยการเรียนรูที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน
                            ้                                       ้        8
บทที่ 4 บทสรุป                                                               10
บทที่ 1
                                         บทนา
         สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา (2554 :1-2) พระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 80 บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูน
ความรู้ ทักษะ เจตคติ และจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งจะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล และความก้าวหน้าแก่ราชการ ประกอบกับ ก.ค.ศ. กาหนดมาตรฐานวิทยฐานะเกี่ยวกับ
หน้าที่รับผิดชอบ คุณภาพการปฏิบัติงานและคุณสมบัติเฉพาะสาหรับวิทยฐานะชานาญการพิเศษ ซึ่ง
ระบุว่าต้องได้รับการพัฒนาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด โดยระบุให้สถาบันพัฒนาครู
คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาร่วมกับส่วนราชการและสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานอื่น
ดาเนินการจัดทาหลักสูตรและคูมือการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรก่อนแต่งตั้ง ให้มีและเลื่อนเป็น
                              ่
วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ
         จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ข้าพเจ้าได้ศึกษาในประเด็นหัวข้อดังต่อไปนี้
             1. การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติในหน้าที่ครูชานาญการพิเศษ
                 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคนิคการออกแบบการเรียนรูเพื่อพัฒนาผู้เรียน
                                                                 ้
                 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภาวะผูนาทางวิชาการ
                                             ้
             2. การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและวางแผนพัฒนา คุณภาพการ
                 ปฏิบัติงานของครูชานาญการพิเศษ
                 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ความเป็นครู
                 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน
                                                                          ้
บทที่ 2
               การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติในหน้าที่ครูชานาญการ
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
        1. การวิเคราะห์และพัฒนาหลักสูตร
           การวิเคราะห์หลักสูตรเป็นการวิเคราะห์รายละเอียดต่าง ๆ หลักสูตร เพื่อนาหลักสูตรไปสู่
การปฏิบัติและการจัด การเรี ย นการสอน ของครู โดยศึ ก ษาวิเ คราะห์ เ กี่ย วกั บ วิสัย ทัศน์ หลัก การ
จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และ
สาระการเรียนรู้
        การพัฒนาหลักสูตร
        ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตรของนักการศึกษาอีกหลายท่าน แต่ขอเสนอทฤษฎีของการพัฒนา
หลักสูตรโดย Tyler (1949, p. 68 ) ที่ให้ขอคิดเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรและการสอนว่าควรจะตอบ
                                        ้
คาถามพืนฐาน 4 ประการ คือ
         ้
             1) มีความมุงหมายทางการศึกษาอะไรบ้างที่โรงเรียนควรจะแสวงหา
                         ่
             2) มีประสบการณ์ทางการศึกษาอย่างไรที่จะช่วยให้บรรลุจุดประสงค์ที่หนด
             3) จะจัดประสบการณ์ทางการศึกษาอย่างไร จึงจะทาให้การสอนมีประสิทธิภาพ
             4) จะประเมินผลประสิทธิภาพของประสบการณ์ในการเรียนอย่างไร จึงจะตัดสินได้ว่า
บรรลุถึงจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ ดังรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของ Tyler
        2. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับและบริบทของสถานศึกษา
        เนื่องการจัดการเรียนการสอน ครูต้องจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร และ
บริบ ทของานศึก ษา รูป แบบการออกแบบกรจัด การเรีย นรู้จึง เป็นการออกแบบการจั ดการเรีย นรู้
อิงมาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
        สาหรับการออกแบบหน่วยการเรียนรูอิงมาตรฐาน ควรมีสิ่งที่ครูจะต้องคานึงและถามตัวเองให้
                                            ้
ได้ เสมอ คือ
             1) ทาการวางเป้าหมาย ในการเรียนรู้ของหน่วยเชื่อมโยงกับมาตรฐาน/ตัวชีวัดหรือไม่
                                                                                      ้
             2) ได้กาหนดชิ้นงาน/ภารงาน รวมทั้ง การประเมินชิ้นงาน/ภารงาน ที่สะท้อนว่านักเรียน
บรรลุมาตรฐาน/ตัวชีวัดหรือไม่
                     ้
             3) ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่สามารถนาพาให้นักเรียนทุกคนทาชิ้นงาน/ภารงาน
ได้หรือไม่ และนักเรียนจะเกิดคุณภาพได้ตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่
        ดังนันการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
             ้
พุทธศักราช 2551 จึงได้นาแนวคิด Backward Design มาใช้ ซึ่งเป็นการออกแบบการเรียนรู้ที่นา
เป้าหมายสุดท้ายของผูเรียนมาเป็นจุดเริ่มต้นในการออกแบบ นั่นก็คือ มาตรฐานการเรียนรู้หรือตัวชี้วัด
                       ้
แล้วนามาวางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อเป็นเครื่องมือที่นาไปสู่การสร้างผลงานหลักฐาน/ร่องรอยแห่ง
การเรียนรู้ของผู้เรียนนั่นเอง จากแนวคิดของ Wiggins และ McTighe ซึ่งเป็นนักวัดผลที่วงการศึกษา
ไทยรู้จักกันค่อนข้างมาก ได้แก้ปัญหาความไม่เชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรกับการประเมินผลของผู้เรียน
ว่า จะวัดและประเมินผลผู้เรียนอย่างไรจึงจะแสดงถึงความเข้าใจที่ลึกซึ้ง(Enduring Understanding)
ตามที่หลักสูตรกาหนดได้อย่างไร ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง (Enduring Understanding) ที่ Wiggins และ
McTighe ได้เขียนไว้ว่าเมื่อผู้เรียนเกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งแล้วจะสามารถทาในสิ่งต่อไปนี้ได้ มี 6 ด้าน
คือ 1) สามารถอธิบาย (Can explain) 2) สามารถแปลความ (Can interpret) 3) สามารถประยุกต์ใช้
(Can apply) 4) สามารถมีมุมมองที่หลากหลาย (Can perspective) 5) สามารถเข้าใจผู้อื่น (Can
empathize) โดยผู้เรียนเป็นผู้ที่เข้าใจผู้อื่น สนองตอบและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นผู้ที่มีความ
ละเอียดอ่อนรู้สกถึงความรูสึกนึกคิดของผู้เกี่ยวข้อง 6) สามารถรู้จักตนเอง (Can self-knowledge)
                 ึ          ้
          3. การออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
          กระทรวงศึกษาธิการ (2546:15-16) ได้นาเสนอหลักการประเมินผลการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ (Learner-centered assessment) ซึ่งนามาใช้เป็นหลักในการประเมินตามสภาพจริงไว้ดังนี้
              1) จุดหมายเบืองต้นของการประเมินผู้เรียนคือ เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผู้เรียน
                              ้                                                         ้
              2) การประเมิน ควรเปิด โอกาสให้ผู้เ รี ย นได้ แสดงความสามารถที่แ ท้จริง ออกมา และ
สะท้อนให้เห็นถึงแรงจูงใจและความตังใจในการเรียนรู้ พร้อมทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักก ากับ ดูแล และ
                                       ้
ประเมินการเรียนรู้ด้วยตนเอง
              3) การประเมินผลควรอาศัยข้อมูลจากการปฏิบัติภาระงานที่มีความหมาย สอดคล้องกับ
สภาพจริง (Authentic tasks) และสอดคล้องกับหลักสูตรและการเรียน การสอนในชันเรียน             ้
              4) การประเมินและตัดสินผลการเรียนไม่ควรใช้ข้อมูลจากผลการสอบด้วยแบบทดสอบ
เพียงอย่างเดียว เพราะไม่เป็นธรรมกับผูเรียนที่ความหลากหลายด้านความสามารถและผลสัมฤทธิ์
                                            ้
              5) การประเมินในชันเรียนควรกระทาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ข้อมูลระยะยาวในการใช้เป็น
                                   ้
หลักฐานการพัฒนาและความก้าวหน้าของผูเรียน       ้
              6) การประเมินผลควรรวมถึงการวัดแรงจูงใจ เจตคติ และปฏิกิรยาทางจิตพิสัย (Affective
                                                                                   ิ
reaction) ของผู้เรียนต่อหลักสูตรและการเรียนการสอน นอกเหนือไปจากการวัดด้านความรู้ ทักษะทาง
ปัญญา และยุทธศาสตร์การคิด
              7) การประเมินผลควรครอบคลุมถึงตัวอย่างผลงาน (Exhibits) แฟ้มสะสมงาน (Portfolios)
และการปฏิบัติจริง นอกเหนือไปจากการทดสอบแบบ Paper-and-pencil
              8) ผลการประเมิ น ควรให้ ข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บ ที่ ชั ด เจน เข้ า ใจง่ า ย และเป็ น ปั จ จุ บั น แก่
ผูเกี่ยวข้องในระดับต่าง ๆ
  ้
9) การประเมินไม่ควรถือความถูก -ผิด ของคาตอบอย่างเคร่งครัดและคับแคบ แต่ควร
พิจารณาถึงคาตอบที่เป็นไปได้และสมเหตุสมผล และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากความ
ผิดพลาด
                 10) การประเมินควรเปิด โอกาสให้ผู้เ รีย นได้แสดงออกซึ่งความรู้และความเข้าใจอย่า ง
สร้างสรรค์ และไม่ควรจากัดเพียงแค่โจทย์ปัญหาและคาตอบที่ได้เตรียมไว้ล่วงหน้า
           สรุปได้วาในการประเมินตามสภาพจริง ผู้สอนต้องอาศัยข้อมูลการประเมินจากการปฏิบัติภาระ
                     ่
งานที่มีความหมาย และสอดคล้องกับสภาพจริง (Authentic tasks) ผู้สอนต้องมีความยืดหยุ่นในการ
ประเมินสูง โดยการให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้แสดงศักยภาพของตนเองออกมาอย่างหลากหลายและเต็มที่
เสียก่อน แล้วจึงประเมินผู้เรียนให้ครอบคลุมทุกด้านทั้งแรงจูงใจ เจตคติ และปฏิกิริยาทางจิตพิสัย ซึ่ง
อาจจะต้องพิจารณาจากตัวอย่าง ผลงาน(Exhibits) แฟ้มสะสมงาน (Portfolios) และการปฏิบัติจริง
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ภาวะนาทางวิชาการ
           1. การเป็นผู้นาทางวิชาการ
           ผู้นา คือ “บุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ปัญญาชี้นา เพื่อปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์
บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ต่อองค์กรและต่อตนเอง โดยอาศัยเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ในทิศทางที่พึงประสงค์”
           ผู้นาทางวิชาการ จึงหมายถึง บุคคลที่มีความรู้ความสามารถในทางวิชาการ ที่สามารถชี้นา
ด้วยปัญญา เพื่อปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์ บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ต่อองค์กรและต่อ
ตนเอง โดยอาศัยเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมให้เ กิดการเปลี่ย นแปลงไปสู่ในทิศทางที่พึงประสงค์บ ท
หลักการ ทฤษฎี และความถูกต้องตามเชิงวิชาการ
           ขั้นตอนการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ มีดังนี้ 1) ศึกษาสารวจตนเอง 2)เลือกคุณสมบัติ
พฤติก รรมใดพฤติก รรมหนึ่ง เพีย งพฤติก รรมเดีย วในการพัฒนาแต่ละครั้ง 3)ก าหนดวัตถุป ระสงค์
พฤติกรรม / คุณลักษณะที่ตนต้องการเปลี่ยนแปลง 4)หาความรู้ในการพัฒนาพฤติกรรม / คุณลักษณะ
เหล่ า นั้ น จั ด ท าแผนปฏิ บั ติ ก ารที่ ส ามารถด าเนิ น การได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ให้ ร ะบุ วั นเวลาที่ จ ะปฏิ บั ติ
ช่วงเวลาที่จะใช้ทั้งหมด วิธีการที่กาหนดขั้นตอนไว้ชัดเจน 5)ปฏิบัติการตามแผนที่กาหนดไว้บันทึกผลที่
เกิดขึ้นทุกครั้งที่ปฏิบัติ 6)เมื่อประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์หาทางเผยแพร่นวัตกรรมที่ค้นพบ
           2. การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
           บรรยากาศชั้นเรียนเรียนต้องมีลักษณะทางกายภาพที่อานวยความสะดวกต่อการจัดกิจกรรม
การเรียนรูสร้างความสนใจใฝ่รู้และศรัทธาต่อการเรียน นอกจากนี้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มนักเรียนและ
               ้
ระหว่างครูกับนักเรียน ความรักและศรัทธาที่ครูและนักเรียนมีต่อกัน การเรียนที่ร่ืนรมย์ปราศจากความ
กลัวและวิตกกังวล สิ่งเหล่านี้จะช่วยสร้างบรรยากาศการเรียนได้ดี ดังนั้นจึงสามารถแบ่งประเภทของ
บรรยากาศในชั้น เรี ย นได้ 2 ประเภทคือ 1) บรรยากาศทางกายภาพ 2) บรรยากาศทาง
จิตวิทยา บรรยากาศทั้ง 2 ประเภท นี้ มีสวนส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งสิ้น
                                                ่
บรรยากาศทางกายภาพ (Physical Atmosphere)
           บรรยากาศทางกายภาพหรือบรรยากาศทางด้านวัตถุ หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
ภายในห้องเรียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย น่าดู มีความสะอาด มีเครื่องใช้ และสิ่งอานวยความสะดวก
ต่าง ๆ ที่จะส่งเสริมให้การเรียนของนักเรียนสะดวกขึ้น เช่น ห้องเรียนมีขนาดเหมาะสม แสงเข้าถูกทาง
และมีแสงสว่างเพียงพอ กระดานดามีขนาดเหมาะสม โต๊ะเก้าอีมีขนาดเหมาะสมกับวัยนักเรียน เป็นต้น
                                                                        ้
           บรรยากาศทางจิตวิทยา (Psychological Atmosphere)
           บรรยากาศทางจิตวิทยา หมายถึง บรรยากาศทางด้านจิตใจที่นักเรียนรู้สึกสบายใจ มีความ
อบอุ่น มีความเป็นกันเอง มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และมีความรักความศรัทธาต่อผู้สอน ตลอดจนมี
อิสระในความกล้าแสดงออกอย่างมีระเบียบวินัยในชั้นเรียน
           3. นวัตกรรมการบริหารจัดการชั้นเรียนแนวใหม่
           การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็นสิ่งสาคัญอันดับต้น ๆ อันจะเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ
กระตื อ รื อ ร้ น ในการเรี ย นการสอน ร่ ว มกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ภายในห้ อ งเรี ย นและน าไปสู่ ก ารประสบ
ความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและได้ประสิทธิผลสูงสุด
             ชั้นเรียนแบบนวัตกรรม เป็นชั้นเรียนที่เอื้ออานวยต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้
เทคนิควิธีการแบบสอนใหม่ ๆ เช่น การเรียนรู้แบบร่วมมือ แบบโฟร์แมท แบบสตอรี่ไลน์ แบบโครงงาน
เป็นต้น ซึ่งทาให้นักเรียนจะมีอิสระในการเรียน อาจเรียนเป็นกลุ่ม หรือเป็น รายบุคคล การจัดชั้นเรียน
จึงมีรูปแบบการจัดโต๊ะเก้าอี้ในลักษณะต่าง ๆ ไม่จาเป็นต้องเรียนแถวหันหน้าเข้าหาครู เช่น จัดเป็นรูป
ตัวที ตัวยู วงกลมหรือจัดเป็นกลุ่ม
           ลักษณะการจัดชั้นเรียน การจัดชั้นเรียนแบบนวัตกรรมนี้ โต๊ะครูไม่จาเป็นต้องอยู่หน้าชั้น อาจ
เคลื่อนย้ายไปตามมุนต่าง ๆ การจัดโต๊ะนักเรียนจะเปลี่ยนรูปแบบไปตามลักษณะการจัด กิจกรรมการ
เรียนการสอนของครู ส่วนใหญ่นิยมจัดโต๊ะเป็นกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรร่วมกัน มีการจัดศูนย์
สนใจ มีสื่อการสอนในรูปของชุดการสอนของครู ส่วนใหญ่นิยมจัดโต๊ะเป็นกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติ
กิจกรรมร่วมกัน มีการจัดศูนย์สนใจ มีสื่อการสอนในรูปของชุดการสอน หรือเครื่ องช่วยสอนต่าง ๆ ไว้
ให้ นั ก เรี ย นศึ ก ษาด้ ว ยตนเอง หรื อ ศึ ก ษาร่ ว มกั บ เพื่ อ น มี ก ารตกแต่ ง ผนั ง ห้ อ งและเปลี่ ย นแปลง
สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับเรื่องที่นักเรียนกาลังเรียน
           4. จิตวิทยาการเรียนรู้ท่เหมาะสมกับผู้เรียน
                                     ี
         ทฤษฎีการเรียนรู้มีอทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนมาก เพราะจะเป็นแนวทางในการกาหนด
                               ิ
ปรัชญาการศึกษาและการจัดประสบการณ์ เนื่องจากทฤษฎีการเรียนรู้เป็นสิ่งที่อธิบายถึงกระบวนการ
วิธีการและเงื่อนไขที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้และตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการเปลี่ยนแปลง
ได้อย่างไร
         ทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีสาคัญ แบ่งออกได้ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง
(Associative Theories) ทฤษฎีกลุ่มความรูความเข้าใจ (Cognitive Theories)
                                              ้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง ทฤษฎีนี้เห็นว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่าง
สิ่งเร้า (Stimulus) และการตอบสนอง (Response) ปัจจุบันเรียกนักทฤษฎีกลุ่มนี้ว่า "พฤติกรรมนิยม"
(Behaviorism) ซึ่งเน้นเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่มองเห็น และสังเกตได้มากกว่า
กระบวนการคิด และปฏิกิริยาภายในของผู้เรียน ตัวอย่างการนามาประยุกต์ใช้ 1)ครูควรใช้หลักการ
เรี ย นรู้ จากทฤษฎี ป ลู ก ฝัง ความรู้ สึก และเจตคติ ที่ ดีต่ อเนื้ อหาวิ ช า กิจ กรรมนั ก เรี ย น ครู ผู้ส อนและ
สิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดในตัวผู้เรียน 2) ครูสามารถป้องกันความรู้สึกล้มเหลว ผิดหวัง และ
วิตกกังวลของผู้เรียนได้โดยการส่งเสริมให้กาลังใจในการเรียนและการทากิจกรรม ไม่คาดหวังผลเลิศ
จากผู้เรียน และหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรงจนเกิดการวางเงื่อนไขขึ้น 3)
การเสริมแรงและ การลงโทษ 4) การปรับพฤติกรรม และ การแต่งพฤติกรรม
         ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ก ลุ่ ม ความรู้ ค วามเข้ า ใจ ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ที่ ม องเห็ น ความส าคั ญ ของ
กระบวนการคิดซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวบุคคลในระหว่างการเรียนรู้มากกว่าสิ่งเร้าและการตอบสนอง นัก
ทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่า พฤติกรรมหรือการตอบสนองใดๆ ที่บุคคลแสดงออกมานั้นต้องผ่านกระบวนการ
คิดที่เกิดขึ้นระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งหมายถึงการหยั่งเห็น (Insight) คือความรู้ความ
เข้าใจในการแก้ปัญหา โดยการจัดระบบการรับรู้แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ตัวอย่างการนามา
ประยุกต์ใช้ 1) ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง และมีอิสระที่จะให้ผู้เรียนแสดงความ
คิดเห็นอย่างเต็มที่ทั้งที่ถูกและผิด เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล และเกิดการหยั่งเห็น
2) เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายในชั้นเรียน 3)การกาหนดบทเรียนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็นขั้นตอน
เนื้อหามีความสอดคล้องต่อเนื่องกัน
            5. การให้คาปรึกษา คาแนะนา และข้อเสนอแนะ
หลักการของการให้การปรึกษา (Counseling) แบบสร้างแรงจูงใจ มีความเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีศักยภาพ
ที่จ ะเปลี่ย นแปลงตนเองได้ บทบาทของผู้ ใ ห้ก ารปรึ ก ษาจึ ง เป็ น การช่ ว ยให้ผู้ รั บ บริก ารมี โ อกาสใช้
ศักยภาพพัฒนากระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เกิดขึ้นได้ ประกอบด้วยหลักการสาคัญดังนี้ (1.)
แสดงความเข้าใจผู้รับบริการ (Express Empathy) โดยการฟังที่ตั้งใจจะเข้าใจความรู้สึก ไม่ตัดสินใจ ไม่
วิจารณ์ ช่วยให้เข้าใจถึงความลังเล และมีเหตุผลในการสร้างแรงจูงใจที่จะเปลี่ยนแปลง ( 2.) ช่วยให้
การรับบริการเห็นถึงความขัดแย้ง (Develop Discrepancy) ทาให้ช่องว่างระหว่างพฤติกรรมปัจจุบัน กับ
สิ่งที่ต้องบรรลุ จะช่วยให้การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ (3.) หลีกเลี่ยงการทะเลอะวิวาทขัดแย้งหรือ
เอาชนะ (Avoid Argumentation) ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งไร้ป ระโยชน์ (4.)โอนตามแรงต้าน (Roll with
Resistance) เพื่อเปลี่ยนการรับรู้หรือมุมมองของผู้รับบริการ แต่ไม่ได้บังคับให้เห็นคล้อยตาม (5.)
สนับสนุนความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองของผู้รับบริการ (Support Seif - Efficacy) โดยสื่อให้
ผูรับบริการรูว่าสามารถประสบความสาเร็จได้ ซึ่งเป็นแรงจูงใจที่สาคัญยิ่ง (6)สาหรับรูปแบบของการให้
  ้            ้
คาปรึกษาแบ่งได้ เป็น 2 ประเภท คือ (1) การให้คาปรึกษารายบุคคล (Individual Counseling)และ (2)
การให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม(Group Counseling)
บทที่ 3
   การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและวางแผนพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของ
                                         ครูชานาญการพิเศษ
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 ความเป็นครู
        1. พัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นครูเพื่อสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรม
        การพัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นครูควรต้องคานึงถึงความต้องการและความคาดหวังที่มี
ต่อการทางานของตนให้ประสบผลสาเร็จ โดยจะมีแนวทางและวิธีการในการสร้างความสาเร็จในหน้าที่
การงานที่แตกต่างกันไป บางท่านชอบเอาใจและหาวิธีการต่างๆ เพื่อสร้างความพึงพอใจจากหัวหน้า
งานหรือผูเข้ารับบริการ เพราะคิดว่าสามารถสนับสนุนความส าเร็จที่เกิดขึ้นให้กับตนเองได้แต่บางท่าน
          ้
ประสบความสาเร็จได้ จากการสนับสนุนของผู้ร่วมงานโดยพยายามทาทุกวิถีทาง ให้สมาชิกรักใคร่เพื่อ
จะได้สนับสนุนให้ตนเองประสบความสาเร็จใน และก็ยังมีอีกหลายต่อหลายคนที่มีความต้องการและ
ความมุ่งหวังที่จะให้หน้าที่ การงานของตนประสบความสาเร็จด้วความสามารถและฝีมือของตัวเอง
ความสาเร็จด้วยฝีมือของเราเองจะเป็นสิ่งที่น่าภาคภูมิใจที่สุดในชีวิต ดังนั้นการพัฒนาจิตวิญญาณ
ความเป็นครูในเบืองต้นจึงขอนาเสนอเทคนิคและวิธีการเพื่อการสร้างความสาเร็จในการทางานในฐานะ
                   ้
วิชาชีพครู ซึ่งจัดเป็นวิชาชีพชั้นสูงด้วยหลักการของ " D-E-V-EL-O-P " ดังนี้ Development : ไม่
หยุดยั้งการพัฒนา Endurance : มุ่งเน้นความอดทน Versatile : หลากหลายความสามารถ Love : รัก
งานที่ทา Organizing : จัดการเป็นเลิศ Positive Thinking : คิดแต่ทางบวก
        2. วินัยและจรรยาบรรณวิชาชีพครู
        จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539
                  1) ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศษย์โดยเสมอหน้า
                                                        ิ
                  2) ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัย ที่ถูกต้องดีงาม ให้
เกิดแก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
                  3) ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
                  4) ครูต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ตอความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์
                                                      ่
และสังคมของศิษย์
                  5) ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษ ย์ ในการปฏิบัติหน้าที่
ตามปกติ และไม่ใช้ให้ศษย์กระทาการใด ๆ อันเป็นการหาผลประโยชน์ ให้แก่ตนโดยมิชอบ
                         ิ
                  6) ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งทางด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการ
พัฒนาทาง วิทยาการเศรษฐกิจสังคมและการเมืองอยู่เสมอ
                  7) ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครูและเป็นสมาชิกที่ดต่อองค์กรวิชาชีพครู
                                                                       ี
                  8) ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์
9) ครูพึง ประพฤติ ปฏิ บัติต น เป็ นผู้น าในการอนุรั ก ษ์ และพั ฒนาภูมิปั ญ ญา และ
วัฒนธรรมไทย
         3. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
          “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะ
แนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่
และปฏิบัติตนในทางที่ค วรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามา
ประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการ
รอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจ
พอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง
และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
          คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้
                  1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่
เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
                  2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้อง
เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
จากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
                  3) การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการ
เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะ
เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
         เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง
ความรุ้ และคุณธรรมเป็นพืนฐาน กล่าวคือ 1. เงื่อนไขความรู้ 2. เงื่อนไขความธรรม มีความตระหนักใน
                             ้
คุณธรรม
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
         1. การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
         หน้าที่และความรับผิดชอบของครูเป็นส่วนสาคัญยิ่งในการประกอบวิชาชีพครูและการดารง
ความเป็นครูของครูแต่ละคน งานครูอาจกาหนดได้ว่ามีงานสอนงานอบรม และงานพัฒนาศิษย์ให้
บรรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องหลั ก สู ต รและแผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ครู ต้ อ งมี ห น้ า ที่ แ ละรั บ ผิ ด ชอบ
มากมายกว้ า งขวางยิ่ ง งานสอนเป็ น หน้ า ที่ ค รู ที่ มุ่ ง ไปที่ ศิ ษ ย์ ใ นด้ า นการให้ ข้ อ มู ล การให้ เ นื้ อ หา
ความรู้ เป็นการเผชิญกันระหว่างครูกับศิษย์ งานอบรมเป็นการจัดกระบวนการเรียนให้ศิษย์ได้มี
ประสบการณ์ต่างๆที่ครูวางแผนไว้เพื่อให้ศิษย์เติบโตและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ส่วนงานพัฒนา
ศิษย์นั้นครูมีหน้าที่และความรับผิดชอบมากมายทั้งงานที่ต้องสัมผัสกับบุคคลภายนอกโรงเรียนและ
รวมถึงตัวครูเองด้วย
หน้าที่ตามภาระกิจของงานครู หน้าที่และความรับผิดชอบของครูจากคาว่า TEACHERS สรุป
ได้ดังนี้ T = Teaching and Training การสั่งสอนและการฝึกฝนอบรม E = Ethics Instruction การ
อบรมคุณธรรมและจริยธรรม A = Action Research การค้นคว้าวิจัยหรือการแสวงหาความรู้
ใหม่ๆ C = Cultural Heritage การถ่ายทอดวัฒนธรรม H = Human Relationship การสร้าง
มนุษยสัมพันธ์ E = Extra Jobs การปฏิบัติหน้าที่พิเศษต่างๆ R = Reporting and Counseling การ
รายงานผลและการแนะแนว S = Student Activities การจัดกิจกรรมนักเรียน
          2. การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
          การวางแผน เป็ น กระบวนการก าหนดทางเลื อ กที่ จ ะด าเนิ น การในอนาคต เพื่ อ ให้ บ รรลุ
วัตถุประสงค์ที่ตองการ โดยวิธีการที่ให้ประโยชน์สูงสุด
                   ้
          ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน     ้
               1) ศึก ษารวบรวมข้อมูล สารเทศ โดยศึกษา แผนยุ ท ธศาสตร์ แผนพัฒนาคุณภาพของ
กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ
สถานศึกษา ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษา
               2) การวางแผนและนาแผนไปปฏิบัติ โดยใช้วงจร " Deming " คือวงจรบริหารงานคุณภาพ
ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ PDCA
          3. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
           พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2554 ได้
กาหนดให้นาการวิจัยมาใช้การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ดังนี้
                     1) การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ มุ่งให้ผู้เรียนทาวิจัย เพื่อใช้กระบวนการวิจัยเป็นส่วน
หนึ่งของการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถวิจัยในเรื่องที่สนใจหรือต้องการหาความรู้หรื อต้องการแก้ไขปัญหา
การเรียนรู้
                     2) การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้ มุ่งให้ผู้สอนสามารถทาวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้วย
การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ วางแผนแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์
ข้อมูลอย่างเป็นระบบ ผู้ส อนสามารถท าวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่นาไปสู่คุณภาพการ
เรียนรู้
                     3) การวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มุ่งให้ผู้บริหารทาการวิจัยและนา
ผลการวิจัยมาประกอบการตัดสินใจ รวมทั้งจัดทานโยบายและวางแผนบริหารจัดการสถานศึกษาให้
เป็นองค์กรที่นาไป สู่คุณภาพการจัดการศึกษา และเป็นแหล่งสร้างเสริมประสบการณ์เรียนรู้ของผู้เรียน
อย่างมีคุณภาพ
          กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ความต้องการ/
พัฒนาการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอน
ที่ 4 ประเมินผลการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 5 ทารายงานผลการเรียนรู้
บทที่ 4
                                             บทสรุป
         ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในฐานะของผูปฏิบัติหน้าที่ขาราชการครู จึงต้องคานึกถึง
                                                     ้           ้
การพัฒนาศักยภาพผูเรียน ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. การศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายของการ
                    ้
จัดการศึกษา ดังนั้นก กระบวนการที่ครูต้องทาให้อย่างเป็นระบบเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะตามที่หลักสูตรกาหนด มีดังนี้
       1. วิเคราะห์หลักสูตร บริบทพืนฐานด้านผู้เรียน สถานที่ การจัดชั้นเรียน
                                   ้
       2. วางแผน ออกแบบการเรียนจัดการเรียนรู้
       3. ทาแผนการจัดการเรียนรู้
       4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ สื่อ กระบวนการที่หลากหลาย
       5. ประเมินผลการจัดการเรียนรู้
       6. วิเคราะห์ปัญหา จุดพัฒนา หรือแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน
บรรณานุกรม
Tyler, R. W. (1949). Basic principles of curriculum and instruction. London: Kluwer Academic
            Publishers.
 จิตรศรา ดาด้า ทรงนาศึก เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555
            http://www.learners.in.th/blogs/posts/511425
ชัยวัฒน์ สุทธิรตน์ ,บทความ เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555
                   ั
            http://office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-การออกแบบการวัดและประเมินผล
            การเรียนรู้- อ.ชัยวัฒน์ -new.pdf
พรรณี ชูทัย เจนจิต . 2538 . จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4 ; กรุงเทพ , บริษัท
            คอมแพคท์พริ้นท์จากัด.
บุหงา วชิระศักดิ์มงคล ,บทความ ภาวะผูนาทางวิชาการ : ภาวะผูนาทางวิชาการ รองศาสตราจารย์
                                            ้                      ้
            http://office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-B1.ภาวะผูนาทางวิชาการ.pdf
                                                                          ้
อัจฉรา ธรรมาภรณ์ .2531. จิตวิทยาการเรียนรู้. ปัตตานี : คณะศึกษาศาสตร์ หาวิทยาลัยสงขลา
            นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2531.
http://office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-ความเป็นครู-อ.ภูฟ้า.pdf เข้าถึงเมื่อ 28
            กันยายน 2555
http://www.moobankru.com/special_subject3.html เข้าถึงเมื่อ 24 กันยายน 2555
http://www.inspect9.moe.go.th/economic_king80.htm เข้าถึงเมื่อ 22 กันยายน 2555
http://panchalee.wordpress.com/2011/06/17/การวิจัยเพื่อพัฒนา เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555
http://inded.rmutsv.ac.th/datapdf/08/2010-08-09_07-52-43_chaiya.pdf เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน
            2555

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยEakkamol Dechudom
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด O-SOT Kanesuna POTATO
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
แผน Some และany
แผน Some และanyแผน Some และany
แผน Some และanynumnim1234
 
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัยเทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัยFern's Phatchariwan
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
แผน Some และany
แผน Some และanyแผน Some และany
แผน Some และany
 
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัยเทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 

Similar to รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56Thanaporn Sangthong
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7Dook dik
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 

Similar to รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ (20)

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
งานส่งคศ.3
งานส่งคศ.3งานส่งคศ.3
งานส่งคศ.3
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
Lewwiss
LewwissLewwiss
Lewwiss
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 

More from kanidta vatanyoo

เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรมเล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรมkanidta vatanyoo
 
รายวิชาคอมพิวเตอร์
รายวิชาคอมพิวเตอร์รายวิชาคอมพิวเตอร์
รายวิชาคอมพิวเตอร์kanidta vatanyoo
 
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการบทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการkanidta vatanyoo
 
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55kanidta vatanyoo
 
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐kanidta vatanyoo
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 2หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 2kanidta vatanyoo
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 1หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 1kanidta vatanyoo
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 2หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 2kanidta vatanyoo
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 1หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 1kanidta vatanyoo
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 2หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 2kanidta vatanyoo
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 1หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 1kanidta vatanyoo
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2kanidta vatanyoo
 

More from kanidta vatanyoo (20)

Scan tool 3
Scan tool 3Scan tool 3
Scan tool 3
 
Drawing+in+flash
Drawing+in+flashDrawing+in+flash
Drawing+in+flash
 
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรมเล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
 
Asean flag
Asean flag Asean flag
Asean flag
 
แท็บเล็ต
แท็บเล็ตแท็บเล็ต
แท็บเล็ต
 
รายวิชาคอมพิวเตอร์
รายวิชาคอมพิวเตอร์รายวิชาคอมพิวเตอร์
รายวิชาคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการบทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
 
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
 
Mou tablet
Mou tabletMou tablet
Mou tablet
 
Mou tablet
Mou tabletMou tablet
Mou tablet
 
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 2หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 2
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 1หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 1
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 2หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 2
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 1หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 1
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 2หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 2
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 1หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 1
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
 

รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ

  • 1. รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดย นางสาวขนิษฐา วทัญญู ตาแหน่ง ครูชานาญการ โรงเรียนเมืองใหม่(ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์) สพป.ลพบุรี เขต 1
  • 2. คานา สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา (2554 :1-2) พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 80 บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูน ความรู้ ทักษะ เจตคติ และจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งจะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความก้าวหน้าแก่ราชการ ประกอบกับ ก.ค.ศ. กาหนดมาตรฐานวิทยฐานะเกี่ยวกับ หน้าที่รับผิดชอบ คุณภาพการปฏิบัติงานและคุณสมบัติเฉพาะสาหรับวิทยฐานะชานาญการพิเศษ ซึ่ง ระบุว่าต้องได้รับการพัฒนาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด โดยระบุให้สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาร่วมกับส่วนราชการและสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานอื่น ดาเนินการจัดทาหลักสูตรและคูมือการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรก่อนแต่งตั้งให้มีและเลื่อนเป็น ่ วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ ซึ่งในหลักสูตรกาหนดให้ข้าราชการครูที่เข้าอบรมเพื่อพัฒนาตนเองตาม เกณฑ์ ต้องศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองตามประเด็นที่หลักสูตรกาหนด รายงานการศึก ษาค้นคว้าด้ว ยตนเอง ได้รบรวมองค์ความรู้ที่ไ ด้จากการศึก ษาค้นคว้าด้วย ตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า จักเป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อไป ขนิษฐา วทัญญู
  • 3. สารบัญ บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติในหน้าที่ครูชานาญการพิเศษ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผูเรียน ้ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภาวะผู้นาทางวิชาการ 4 บทที่ 3 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและวางแผนพัฒนา 7 คุณภาพการปฏิบัติงานของครูชานาญการพิเศษ หน่วยการเรียนรูที่ 3 ความเป็นครู ้ 7 หน่วยการเรียนรูที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน ้ ้ 8 บทที่ 4 บทสรุป 10
  • 4. บทที่ 1 บทนา สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา (2554 :1-2) พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 80 บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูน ความรู้ ทักษะ เจตคติ และจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งจะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความก้าวหน้าแก่ราชการ ประกอบกับ ก.ค.ศ. กาหนดมาตรฐานวิทยฐานะเกี่ยวกับ หน้าที่รับผิดชอบ คุณภาพการปฏิบัติงานและคุณสมบัติเฉพาะสาหรับวิทยฐานะชานาญการพิเศษ ซึ่ง ระบุว่าต้องได้รับการพัฒนาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด โดยระบุให้สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาร่วมกับส่วนราชการและสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานอื่น ดาเนินการจัดทาหลักสูตรและคูมือการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรก่อนแต่งตั้ง ให้มีและเลื่อนเป็น ่ วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ข้าพเจ้าได้ศึกษาในประเด็นหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติในหน้าที่ครูชานาญการพิเศษ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคนิคการออกแบบการเรียนรูเพื่อพัฒนาผู้เรียน ้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภาวะผูนาทางวิชาการ ้ 2. การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและวางแผนพัฒนา คุณภาพการ ปฏิบัติงานของครูชานาญการพิเศษ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ความเป็นครู หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน ้
  • 5. บทที่ 2 การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติในหน้าที่ครูชานาญการ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน 1. การวิเคราะห์และพัฒนาหลักสูตร การวิเคราะห์หลักสูตรเป็นการวิเคราะห์รายละเอียดต่าง ๆ หลักสูตร เพื่อนาหลักสูตรไปสู่ การปฏิบัติและการจัด การเรี ย นการสอน ของครู โดยศึ ก ษาวิเ คราะห์ เ กี่ย วกั บ วิสัย ทัศน์ หลัก การ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และ สาระการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตรของนักการศึกษาอีกหลายท่าน แต่ขอเสนอทฤษฎีของการพัฒนา หลักสูตรโดย Tyler (1949, p. 68 ) ที่ให้ขอคิดเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรและการสอนว่าควรจะตอบ ้ คาถามพืนฐาน 4 ประการ คือ ้ 1) มีความมุงหมายทางการศึกษาอะไรบ้างที่โรงเรียนควรจะแสวงหา ่ 2) มีประสบการณ์ทางการศึกษาอย่างไรที่จะช่วยให้บรรลุจุดประสงค์ที่หนด 3) จะจัดประสบการณ์ทางการศึกษาอย่างไร จึงจะทาให้การสอนมีประสิทธิภาพ 4) จะประเมินผลประสิทธิภาพของประสบการณ์ในการเรียนอย่างไร จึงจะตัดสินได้ว่า บรรลุถึงจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ ดังรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของ Tyler 2. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับและบริบทของสถานศึกษา เนื่องการจัดการเรียนการสอน ครูต้องจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร และ บริบ ทของานศึก ษา รูป แบบการออกแบบกรจัด การเรีย นรู้จึง เป็นการออกแบบการจั ดการเรีย นรู้ อิงมาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาหรับการออกแบบหน่วยการเรียนรูอิงมาตรฐาน ควรมีสิ่งที่ครูจะต้องคานึงและถามตัวเองให้ ้ ได้ เสมอ คือ 1) ทาการวางเป้าหมาย ในการเรียนรู้ของหน่วยเชื่อมโยงกับมาตรฐาน/ตัวชีวัดหรือไม่ ้ 2) ได้กาหนดชิ้นงาน/ภารงาน รวมทั้ง การประเมินชิ้นงาน/ภารงาน ที่สะท้อนว่านักเรียน บรรลุมาตรฐาน/ตัวชีวัดหรือไม่ ้ 3) ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่สามารถนาพาให้นักเรียนทุกคนทาชิ้นงาน/ภารงาน ได้หรือไม่ และนักเรียนจะเกิดคุณภาพได้ตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่ ดังนันการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ้ พุทธศักราช 2551 จึงได้นาแนวคิด Backward Design มาใช้ ซึ่งเป็นการออกแบบการเรียนรู้ที่นา เป้าหมายสุดท้ายของผูเรียนมาเป็นจุดเริ่มต้นในการออกแบบ นั่นก็คือ มาตรฐานการเรียนรู้หรือตัวชี้วัด ้
  • 6. แล้วนามาวางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อเป็นเครื่องมือที่นาไปสู่การสร้างผลงานหลักฐาน/ร่องรอยแห่ง การเรียนรู้ของผู้เรียนนั่นเอง จากแนวคิดของ Wiggins และ McTighe ซึ่งเป็นนักวัดผลที่วงการศึกษา ไทยรู้จักกันค่อนข้างมาก ได้แก้ปัญหาความไม่เชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรกับการประเมินผลของผู้เรียน ว่า จะวัดและประเมินผลผู้เรียนอย่างไรจึงจะแสดงถึงความเข้าใจที่ลึกซึ้ง(Enduring Understanding) ตามที่หลักสูตรกาหนดได้อย่างไร ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง (Enduring Understanding) ที่ Wiggins และ McTighe ได้เขียนไว้ว่าเมื่อผู้เรียนเกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งแล้วจะสามารถทาในสิ่งต่อไปนี้ได้ มี 6 ด้าน คือ 1) สามารถอธิบาย (Can explain) 2) สามารถแปลความ (Can interpret) 3) สามารถประยุกต์ใช้ (Can apply) 4) สามารถมีมุมมองที่หลากหลาย (Can perspective) 5) สามารถเข้าใจผู้อื่น (Can empathize) โดยผู้เรียนเป็นผู้ที่เข้าใจผู้อื่น สนองตอบและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นผู้ที่มีความ ละเอียดอ่อนรู้สกถึงความรูสึกนึกคิดของผู้เกี่ยวข้อง 6) สามารถรู้จักตนเอง (Can self-knowledge) ึ ้ 3. การออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ (2546:15-16) ได้นาเสนอหลักการประเมินผลการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ (Learner-centered assessment) ซึ่งนามาใช้เป็นหลักในการประเมินตามสภาพจริงไว้ดังนี้ 1) จุดหมายเบืองต้นของการประเมินผู้เรียนคือ เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผู้เรียน ้ ้ 2) การประเมิน ควรเปิด โอกาสให้ผู้เ รี ย นได้ แสดงความสามารถที่แ ท้จริง ออกมา และ สะท้อนให้เห็นถึงแรงจูงใจและความตังใจในการเรียนรู้ พร้อมทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักก ากับ ดูแล และ ้ ประเมินการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) การประเมินผลควรอาศัยข้อมูลจากการปฏิบัติภาระงานที่มีความหมาย สอดคล้องกับ สภาพจริง (Authentic tasks) และสอดคล้องกับหลักสูตรและการเรียน การสอนในชันเรียน ้ 4) การประเมินและตัดสินผลการเรียนไม่ควรใช้ข้อมูลจากผลการสอบด้วยแบบทดสอบ เพียงอย่างเดียว เพราะไม่เป็นธรรมกับผูเรียนที่ความหลากหลายด้านความสามารถและผลสัมฤทธิ์ ้ 5) การประเมินในชันเรียนควรกระทาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ข้อมูลระยะยาวในการใช้เป็น ้ หลักฐานการพัฒนาและความก้าวหน้าของผูเรียน ้ 6) การประเมินผลควรรวมถึงการวัดแรงจูงใจ เจตคติ และปฏิกิรยาทางจิตพิสัย (Affective ิ reaction) ของผู้เรียนต่อหลักสูตรและการเรียนการสอน นอกเหนือไปจากการวัดด้านความรู้ ทักษะทาง ปัญญา และยุทธศาสตร์การคิด 7) การประเมินผลควรครอบคลุมถึงตัวอย่างผลงาน (Exhibits) แฟ้มสะสมงาน (Portfolios) และการปฏิบัติจริง นอกเหนือไปจากการทดสอบแบบ Paper-and-pencil 8) ผลการประเมิ น ควรให้ ข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บ ที่ ชั ด เจน เข้ า ใจง่ า ย และเป็ น ปั จ จุ บั น แก่ ผูเกี่ยวข้องในระดับต่าง ๆ ้
  • 7. 9) การประเมินไม่ควรถือความถูก -ผิด ของคาตอบอย่างเคร่งครัดและคับแคบ แต่ควร พิจารณาถึงคาตอบที่เป็นไปได้และสมเหตุสมผล และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากความ ผิดพลาด 10) การประเมินควรเปิด โอกาสให้ผู้เ รีย นได้แสดงออกซึ่งความรู้และความเข้าใจอย่า ง สร้างสรรค์ และไม่ควรจากัดเพียงแค่โจทย์ปัญหาและคาตอบที่ได้เตรียมไว้ล่วงหน้า สรุปได้วาในการประเมินตามสภาพจริง ผู้สอนต้องอาศัยข้อมูลการประเมินจากการปฏิบัติภาระ ่ งานที่มีความหมาย และสอดคล้องกับสภาพจริง (Authentic tasks) ผู้สอนต้องมีความยืดหยุ่นในการ ประเมินสูง โดยการให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้แสดงศักยภาพของตนเองออกมาอย่างหลากหลายและเต็มที่ เสียก่อน แล้วจึงประเมินผู้เรียนให้ครอบคลุมทุกด้านทั้งแรงจูงใจ เจตคติ และปฏิกิริยาทางจิตพิสัย ซึ่ง อาจจะต้องพิจารณาจากตัวอย่าง ผลงาน(Exhibits) แฟ้มสะสมงาน (Portfolios) และการปฏิบัติจริง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ภาวะนาทางวิชาการ 1. การเป็นผู้นาทางวิชาการ ผู้นา คือ “บุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ปัญญาชี้นา เพื่อปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์ บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ต่อองค์กรและต่อตนเอง โดยอาศัยเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ในทิศทางที่พึงประสงค์” ผู้นาทางวิชาการ จึงหมายถึง บุคคลที่มีความรู้ความสามารถในทางวิชาการ ที่สามารถชี้นา ด้วยปัญญา เพื่อปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์ บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ต่อองค์กรและต่อ ตนเอง โดยอาศัยเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมให้เ กิดการเปลี่ย นแปลงไปสู่ในทิศทางที่พึงประสงค์บ ท หลักการ ทฤษฎี และความถูกต้องตามเชิงวิชาการ ขั้นตอนการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ มีดังนี้ 1) ศึกษาสารวจตนเอง 2)เลือกคุณสมบัติ พฤติก รรมใดพฤติก รรมหนึ่ง เพีย งพฤติก รรมเดีย วในการพัฒนาแต่ละครั้ง 3)ก าหนดวัตถุป ระสงค์ พฤติกรรม / คุณลักษณะที่ตนต้องการเปลี่ยนแปลง 4)หาความรู้ในการพัฒนาพฤติกรรม / คุณลักษณะ เหล่ า นั้ น จั ด ท าแผนปฏิ บั ติ ก ารที่ ส ามารถด าเนิ น การได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ให้ ร ะบุ วั นเวลาที่ จ ะปฏิ บั ติ ช่วงเวลาที่จะใช้ทั้งหมด วิธีการที่กาหนดขั้นตอนไว้ชัดเจน 5)ปฏิบัติการตามแผนที่กาหนดไว้บันทึกผลที่ เกิดขึ้นทุกครั้งที่ปฏิบัติ 6)เมื่อประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์หาทางเผยแพร่นวัตกรรมที่ค้นพบ 2. การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน บรรยากาศชั้นเรียนเรียนต้องมีลักษณะทางกายภาพที่อานวยความสะดวกต่อการจัดกิจกรรม การเรียนรูสร้างความสนใจใฝ่รู้และศรัทธาต่อการเรียน นอกจากนี้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มนักเรียนและ ้ ระหว่างครูกับนักเรียน ความรักและศรัทธาที่ครูและนักเรียนมีต่อกัน การเรียนที่ร่ืนรมย์ปราศจากความ กลัวและวิตกกังวล สิ่งเหล่านี้จะช่วยสร้างบรรยากาศการเรียนได้ดี ดังนั้นจึงสามารถแบ่งประเภทของ บรรยากาศในชั้น เรี ย นได้ 2 ประเภทคือ 1) บรรยากาศทางกายภาพ 2) บรรยากาศทาง จิตวิทยา บรรยากาศทั้ง 2 ประเภท นี้ มีสวนส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งสิ้น ่
  • 8. บรรยากาศทางกายภาพ (Physical Atmosphere) บรรยากาศทางกายภาพหรือบรรยากาศทางด้านวัตถุ หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ภายในห้องเรียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย น่าดู มีความสะอาด มีเครื่องใช้ และสิ่งอานวยความสะดวก ต่าง ๆ ที่จะส่งเสริมให้การเรียนของนักเรียนสะดวกขึ้น เช่น ห้องเรียนมีขนาดเหมาะสม แสงเข้าถูกทาง และมีแสงสว่างเพียงพอ กระดานดามีขนาดเหมาะสม โต๊ะเก้าอีมีขนาดเหมาะสมกับวัยนักเรียน เป็นต้น ้ บรรยากาศทางจิตวิทยา (Psychological Atmosphere) บรรยากาศทางจิตวิทยา หมายถึง บรรยากาศทางด้านจิตใจที่นักเรียนรู้สึกสบายใจ มีความ อบอุ่น มีความเป็นกันเอง มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และมีความรักความศรัทธาต่อผู้สอน ตลอดจนมี อิสระในความกล้าแสดงออกอย่างมีระเบียบวินัยในชั้นเรียน 3. นวัตกรรมการบริหารจัดการชั้นเรียนแนวใหม่ การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็นสิ่งสาคัญอันดับต้น ๆ อันจะเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ กระตื อ รื อ ร้ น ในการเรี ย นการสอน ร่ ว มกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ภายในห้ อ งเรี ย นและน าไปสู่ ก ารประสบ ความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและได้ประสิทธิผลสูงสุด ชั้นเรียนแบบนวัตกรรม เป็นชั้นเรียนที่เอื้ออานวยต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ เทคนิควิธีการแบบสอนใหม่ ๆ เช่น การเรียนรู้แบบร่วมมือ แบบโฟร์แมท แบบสตอรี่ไลน์ แบบโครงงาน เป็นต้น ซึ่งทาให้นักเรียนจะมีอิสระในการเรียน อาจเรียนเป็นกลุ่ม หรือเป็น รายบุคคล การจัดชั้นเรียน จึงมีรูปแบบการจัดโต๊ะเก้าอี้ในลักษณะต่าง ๆ ไม่จาเป็นต้องเรียนแถวหันหน้าเข้าหาครู เช่น จัดเป็นรูป ตัวที ตัวยู วงกลมหรือจัดเป็นกลุ่ม ลักษณะการจัดชั้นเรียน การจัดชั้นเรียนแบบนวัตกรรมนี้ โต๊ะครูไม่จาเป็นต้องอยู่หน้าชั้น อาจ เคลื่อนย้ายไปตามมุนต่าง ๆ การจัดโต๊ะนักเรียนจะเปลี่ยนรูปแบบไปตามลักษณะการจัด กิจกรรมการ เรียนการสอนของครู ส่วนใหญ่นิยมจัดโต๊ะเป็นกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรร่วมกัน มีการจัดศูนย์ สนใจ มีสื่อการสอนในรูปของชุดการสอนของครู ส่วนใหญ่นิยมจัดโต๊ะเป็นกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติ กิจกรรมร่วมกัน มีการจัดศูนย์สนใจ มีสื่อการสอนในรูปของชุดการสอน หรือเครื่ องช่วยสอนต่าง ๆ ไว้ ให้ นั ก เรี ย นศึ ก ษาด้ ว ยตนเอง หรื อ ศึ ก ษาร่ ว มกั บ เพื่ อ น มี ก ารตกแต่ ง ผนั ง ห้ อ งและเปลี่ ย นแปลง สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับเรื่องที่นักเรียนกาลังเรียน 4. จิตวิทยาการเรียนรู้ท่เหมาะสมกับผู้เรียน ี ทฤษฎีการเรียนรู้มีอทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนมาก เพราะจะเป็นแนวทางในการกาหนด ิ ปรัชญาการศึกษาและการจัดประสบการณ์ เนื่องจากทฤษฎีการเรียนรู้เป็นสิ่งที่อธิบายถึงกระบวนการ วิธีการและเงื่อนไขที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้และตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการเปลี่ยนแปลง ได้อย่างไร ทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีสาคัญ แบ่งออกได้ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Associative Theories) ทฤษฎีกลุ่มความรูความเข้าใจ (Cognitive Theories) ้
  • 9. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง ทฤษฎีนี้เห็นว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่าง สิ่งเร้า (Stimulus) และการตอบสนอง (Response) ปัจจุบันเรียกนักทฤษฎีกลุ่มนี้ว่า "พฤติกรรมนิยม" (Behaviorism) ซึ่งเน้นเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่มองเห็น และสังเกตได้มากกว่า กระบวนการคิด และปฏิกิริยาภายในของผู้เรียน ตัวอย่างการนามาประยุกต์ใช้ 1)ครูควรใช้หลักการ เรี ย นรู้ จากทฤษฎี ป ลู ก ฝัง ความรู้ สึก และเจตคติ ที่ ดีต่ อเนื้ อหาวิ ช า กิจ กรรมนั ก เรี ย น ครู ผู้ส อนและ สิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดในตัวผู้เรียน 2) ครูสามารถป้องกันความรู้สึกล้มเหลว ผิดหวัง และ วิตกกังวลของผู้เรียนได้โดยการส่งเสริมให้กาลังใจในการเรียนและการทากิจกรรม ไม่คาดหวังผลเลิศ จากผู้เรียน และหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรงจนเกิดการวางเงื่อนไขขึ้น 3) การเสริมแรงและ การลงโทษ 4) การปรับพฤติกรรม และ การแต่งพฤติกรรม ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ก ลุ่ ม ความรู้ ค วามเข้ า ใจ ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ที่ ม องเห็ น ความส าคั ญ ของ กระบวนการคิดซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวบุคคลในระหว่างการเรียนรู้มากกว่าสิ่งเร้าและการตอบสนอง นัก ทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่า พฤติกรรมหรือการตอบสนองใดๆ ที่บุคคลแสดงออกมานั้นต้องผ่านกระบวนการ คิดที่เกิดขึ้นระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งหมายถึงการหยั่งเห็น (Insight) คือความรู้ความ เข้าใจในการแก้ปัญหา โดยการจัดระบบการรับรู้แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ตัวอย่างการนามา ประยุกต์ใช้ 1) ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง และมีอิสระที่จะให้ผู้เรียนแสดงความ คิดเห็นอย่างเต็มที่ทั้งที่ถูกและผิด เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล และเกิดการหยั่งเห็น 2) เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายในชั้นเรียน 3)การกาหนดบทเรียนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็นขั้นตอน เนื้อหามีความสอดคล้องต่อเนื่องกัน 5. การให้คาปรึกษา คาแนะนา และข้อเสนอแนะ หลักการของการให้การปรึกษา (Counseling) แบบสร้างแรงจูงใจ มีความเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีศักยภาพ ที่จ ะเปลี่ย นแปลงตนเองได้ บทบาทของผู้ ใ ห้ก ารปรึ ก ษาจึ ง เป็ น การช่ ว ยให้ผู้ รั บ บริก ารมี โ อกาสใช้ ศักยภาพพัฒนากระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เกิดขึ้นได้ ประกอบด้วยหลักการสาคัญดังนี้ (1.) แสดงความเข้าใจผู้รับบริการ (Express Empathy) โดยการฟังที่ตั้งใจจะเข้าใจความรู้สึก ไม่ตัดสินใจ ไม่ วิจารณ์ ช่วยให้เข้าใจถึงความลังเล และมีเหตุผลในการสร้างแรงจูงใจที่จะเปลี่ยนแปลง ( 2.) ช่วยให้ การรับบริการเห็นถึงความขัดแย้ง (Develop Discrepancy) ทาให้ช่องว่างระหว่างพฤติกรรมปัจจุบัน กับ สิ่งที่ต้องบรรลุ จะช่วยให้การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ (3.) หลีกเลี่ยงการทะเลอะวิวาทขัดแย้งหรือ เอาชนะ (Avoid Argumentation) ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งไร้ป ระโยชน์ (4.)โอนตามแรงต้าน (Roll with Resistance) เพื่อเปลี่ยนการรับรู้หรือมุมมองของผู้รับบริการ แต่ไม่ได้บังคับให้เห็นคล้อยตาม (5.) สนับสนุนความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองของผู้รับบริการ (Support Seif - Efficacy) โดยสื่อให้ ผูรับบริการรูว่าสามารถประสบความสาเร็จได้ ซึ่งเป็นแรงจูงใจที่สาคัญยิ่ง (6)สาหรับรูปแบบของการให้ ้ ้ คาปรึกษาแบ่งได้ เป็น 2 ประเภท คือ (1) การให้คาปรึกษารายบุคคล (Individual Counseling)และ (2) การให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม(Group Counseling)
  • 10. บทที่ 3 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและวางแผนพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของ ครูชานาญการพิเศษ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 ความเป็นครู 1. พัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นครูเพื่อสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นครูควรต้องคานึงถึงความต้องการและความคาดหวังที่มี ต่อการทางานของตนให้ประสบผลสาเร็จ โดยจะมีแนวทางและวิธีการในการสร้างความสาเร็จในหน้าที่ การงานที่แตกต่างกันไป บางท่านชอบเอาใจและหาวิธีการต่างๆ เพื่อสร้างความพึงพอใจจากหัวหน้า งานหรือผูเข้ารับบริการ เพราะคิดว่าสามารถสนับสนุนความส าเร็จที่เกิดขึ้นให้กับตนเองได้แต่บางท่าน ้ ประสบความสาเร็จได้ จากการสนับสนุนของผู้ร่วมงานโดยพยายามทาทุกวิถีทาง ให้สมาชิกรักใคร่เพื่อ จะได้สนับสนุนให้ตนเองประสบความสาเร็จใน และก็ยังมีอีกหลายต่อหลายคนที่มีความต้องการและ ความมุ่งหวังที่จะให้หน้าที่ การงานของตนประสบความสาเร็จด้วความสามารถและฝีมือของตัวเอง ความสาเร็จด้วยฝีมือของเราเองจะเป็นสิ่งที่น่าภาคภูมิใจที่สุดในชีวิต ดังนั้นการพัฒนาจิตวิญญาณ ความเป็นครูในเบืองต้นจึงขอนาเสนอเทคนิคและวิธีการเพื่อการสร้างความสาเร็จในการทางานในฐานะ ้ วิชาชีพครู ซึ่งจัดเป็นวิชาชีพชั้นสูงด้วยหลักการของ " D-E-V-EL-O-P " ดังนี้ Development : ไม่ หยุดยั้งการพัฒนา Endurance : มุ่งเน้นความอดทน Versatile : หลากหลายความสามารถ Love : รัก งานที่ทา Organizing : จัดการเป็นเลิศ Positive Thinking : คิดแต่ทางบวก 2. วินัยและจรรยาบรรณวิชาชีพครู จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539 1) ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศษย์โดยเสมอหน้า ิ 2) ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัย ที่ถูกต้องดีงาม ให้ เกิดแก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ 3) ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ 4) ครูต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ตอความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ ่ และสังคมของศิษย์ 5) ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษ ย์ ในการปฏิบัติหน้าที่ ตามปกติ และไม่ใช้ให้ศษย์กระทาการใด ๆ อันเป็นการหาผลประโยชน์ ให้แก่ตนโดยมิชอบ ิ 6) ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งทางด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการ พัฒนาทาง วิทยาการเศรษฐกิจสังคมและการเมืองอยู่เสมอ 7) ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครูและเป็นสมาชิกที่ดต่อองค์กรวิชาชีพครู ี 8) ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์
  • 11. 9) ครูพึง ประพฤติ ปฏิ บัติต น เป็ นผู้น าในการอนุรั ก ษ์ และพั ฒนาภูมิปั ญ ญา และ วัฒนธรรมไทย 3. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะ แนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ค วรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามา ประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการ รอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจ พอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้ 1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้อง เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3) การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการ เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง ความรุ้ และคุณธรรมเป็นพืนฐาน กล่าวคือ 1. เงื่อนไขความรู้ 2. เงื่อนไขความธรรม มีความตระหนักใน ้ คุณธรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1. การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หน้าที่และความรับผิดชอบของครูเป็นส่วนสาคัญยิ่งในการประกอบวิชาชีพครูและการดารง ความเป็นครูของครูแต่ละคน งานครูอาจกาหนดได้ว่ามีงานสอนงานอบรม และงานพัฒนาศิษย์ให้ บรรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องหลั ก สู ต รและแผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ครู ต้ อ งมี ห น้ า ที่ แ ละรั บ ผิ ด ชอบ มากมายกว้ า งขวางยิ่ ง งานสอนเป็ น หน้ า ที่ ค รู ที่ มุ่ ง ไปที่ ศิ ษ ย์ ใ นด้ า นการให้ ข้ อ มู ล การให้ เ นื้ อ หา ความรู้ เป็นการเผชิญกันระหว่างครูกับศิษย์ งานอบรมเป็นการจัดกระบวนการเรียนให้ศิษย์ได้มี ประสบการณ์ต่างๆที่ครูวางแผนไว้เพื่อให้ศิษย์เติบโตและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ส่วนงานพัฒนา ศิษย์นั้นครูมีหน้าที่และความรับผิดชอบมากมายทั้งงานที่ต้องสัมผัสกับบุคคลภายนอกโรงเรียนและ รวมถึงตัวครูเองด้วย
  • 12. หน้าที่ตามภาระกิจของงานครู หน้าที่และความรับผิดชอบของครูจากคาว่า TEACHERS สรุป ได้ดังนี้ T = Teaching and Training การสั่งสอนและการฝึกฝนอบรม E = Ethics Instruction การ อบรมคุณธรรมและจริยธรรม A = Action Research การค้นคว้าวิจัยหรือการแสวงหาความรู้ ใหม่ๆ C = Cultural Heritage การถ่ายทอดวัฒนธรรม H = Human Relationship การสร้าง มนุษยสัมพันธ์ E = Extra Jobs การปฏิบัติหน้าที่พิเศษต่างๆ R = Reporting and Counseling การ รายงานผลและการแนะแนว S = Student Activities การจัดกิจกรรมนักเรียน 2. การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การวางแผน เป็ น กระบวนการก าหนดทางเลื อ กที่ จ ะด าเนิ น การในอนาคต เพื่ อ ให้ บ รรลุ วัตถุประสงค์ที่ตองการ โดยวิธีการที่ให้ประโยชน์สูงสุด ้ ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน ้ 1) ศึก ษารวบรวมข้อมูล สารเทศ โดยศึกษา แผนยุ ท ธศาสตร์ แผนพัฒนาคุณภาพของ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษา ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษา 2) การวางแผนและนาแผนไปปฏิบัติ โดยใช้วงจร " Deming " คือวงจรบริหารงานคุณภาพ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ PDCA 3. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2554 ได้ กาหนดให้นาการวิจัยมาใช้การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ดังนี้ 1) การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ มุ่งให้ผู้เรียนทาวิจัย เพื่อใช้กระบวนการวิจัยเป็นส่วน หนึ่งของการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถวิจัยในเรื่องที่สนใจหรือต้องการหาความรู้หรื อต้องการแก้ไขปัญหา การเรียนรู้ 2) การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้ มุ่งให้ผู้สอนสามารถทาวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้วย การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ วางแผนแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ ข้อมูลอย่างเป็นระบบ ผู้ส อนสามารถท าวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่นาไปสู่คุณภาพการ เรียนรู้ 3) การวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มุ่งให้ผู้บริหารทาการวิจัยและนา ผลการวิจัยมาประกอบการตัดสินใจ รวมทั้งจัดทานโยบายและวางแผนบริหารจัดการสถานศึกษาให้ เป็นองค์กรที่นาไป สู่คุณภาพการจัดการศึกษา และเป็นแหล่งสร้างเสริมประสบการณ์เรียนรู้ของผู้เรียน อย่างมีคุณภาพ กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ความต้องการ/ พัฒนาการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอน ที่ 4 ประเมินผลการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 5 ทารายงานผลการเรียนรู้
  • 13. บทที่ 4 บทสรุป ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในฐานะของผูปฏิบัติหน้าที่ขาราชการครู จึงต้องคานึกถึง ้ ้ การพัฒนาศักยภาพผูเรียน ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. การศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายของการ ้ จัดการศึกษา ดังนั้นก กระบวนการที่ครูต้องทาให้อย่างเป็นระบบเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะตามที่หลักสูตรกาหนด มีดังนี้ 1. วิเคราะห์หลักสูตร บริบทพืนฐานด้านผู้เรียน สถานที่ การจัดชั้นเรียน ้ 2. วางแผน ออกแบบการเรียนจัดการเรียนรู้ 3. ทาแผนการจัดการเรียนรู้ 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ สื่อ กระบวนการที่หลากหลาย 5. ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ 6. วิเคราะห์ปัญหา จุดพัฒนา หรือแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน
  • 14. บรรณานุกรม Tyler, R. W. (1949). Basic principles of curriculum and instruction. London: Kluwer Academic Publishers. จิตรศรา ดาด้า ทรงนาศึก เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555 http://www.learners.in.th/blogs/posts/511425 ชัยวัฒน์ สุทธิรตน์ ,บทความ เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555 ั http://office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-การออกแบบการวัดและประเมินผล การเรียนรู้- อ.ชัยวัฒน์ -new.pdf พรรณี ชูทัย เจนจิต . 2538 . จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4 ; กรุงเทพ , บริษัท คอมแพคท์พริ้นท์จากัด. บุหงา วชิระศักดิ์มงคล ,บทความ ภาวะผูนาทางวิชาการ : ภาวะผูนาทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ้ ้ http://office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-B1.ภาวะผูนาทางวิชาการ.pdf ้ อัจฉรา ธรรมาภรณ์ .2531. จิตวิทยาการเรียนรู้. ปัตตานี : คณะศึกษาศาสตร์ หาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2531. http://office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-ความเป็นครู-อ.ภูฟ้า.pdf เข้าถึงเมื่อ 28 กันยายน 2555 http://www.moobankru.com/special_subject3.html เข้าถึงเมื่อ 24 กันยายน 2555 http://www.inspect9.moe.go.th/economic_king80.htm เข้าถึงเมื่อ 22 กันยายน 2555 http://panchalee.wordpress.com/2011/06/17/การวิจัยเพื่อพัฒนา เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555 http://inded.rmutsv.ac.th/datapdf/08/2010-08-09_07-52-43_chaiya.pdf เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555