SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
การใช้เฟซบุ๊ก
 อย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์


   ผศ. ดร. กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว
อาจารย์ประจําภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
รองผู้อํานวยการศูนย์คอมพิวเตอร์ ฝ่ายบริหาร
            มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สิ่งที่จะพูด

•  โซเชียลมีเดียคืออะไร
•  เฟซบุ๊กคืออะไร
•  สถิติการใช้เฟซบุ๊ก
•  ข้อควรปฏิบัติเมื่อใช้เฟซบุ๊ก
•  สรุป
โซเชียลมีเดียคืออะไร

•  มีเดีย (“Media”) หมายถึงสื่อหรือเครื่องมือที่ใช้เพื่อการ
   สื่อสาร
•  โซเชียล (“Social”) หมายถึงสังคมในบริบทของโซเชียลมี
   เดีย โซเชียลหมายถึงการแบ่งปันใน สังคม ซึ่งอาจจะ
   เป็นการแบ่งปันเนื้อหา (ไฟล์, รสนิยม ความเห็น รูป
   วิดีโอ) หรือปฏิสัมพันธ์ในสังคม (การรวมกับเป็นกลุ่ม)
•  โซเชียลมีเดียในที่นี้หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทําให้ผู้ใช้
   แสดง ความเป็นตัวตนของตนเองเพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับ
   หรือแบ่งปันข้อมูลกับบุคคลอื่น
ตัวอย่างโซเชียลมีเดีย
ผู้สร้างเฟซบุ๊ก Mark Zuckerberg
สถิติการใช้เฟซบุ๊กทั่วโลก
สถิติการใช้เฟซบุ๊กทั่วโลก
สถิตการใช้เฟซบุ๊กทั่วโลก
สถิติการใช้เฟซบุ๊กของคนไทย
เฟซบุ๊กแบรนด์ที่มีคนคลิก like มากที่สุด
ช่วงอายุและเพศของคนไทยที่ใช้เฟซบุ๊ก
สถิติคนที่ใช้เฟซบุ๊กตามช่วงอายุ
บัญญัติ 10 ประการ
         ของการใช้อินเทอร์เน็ต (1/2)
1.  ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทําร้าย หรือ ละเมิดผู้อื่น

2.  ต้องไม่รบกวนการทํางานของผูอื่น

3.  ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือ เปิดดูแฟ้มข้อมูลของผูอื่น

4.  ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร

5.  ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
บัญญัติ 10 ประการ
         ของการใช้อินเทอร์เน็ต (2/2)
6.  ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์

7.  ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ โดยที่ตนเอง
    ไม่มีสิทธิ์

8.  ต้องไม่นําเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน

9.  ต้องคํานึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคม ที่เกิดจากการกระ
    ทําของท่าน

10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมี
   มารยาท
ข้อควรปฏิบัติเมื่อใช้เฟซบุ๊ก

•    ใช้อย่างปลอดภัย
•    ใช้อย่างรักษาความเป็นส่วนตัว
•    ใช้อย่างสุภาพ
•    ใช้อย่างมีประโยชน์
•    ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้เฟซบุ๊กอย่างไรให้ปลอดภัย

•  ตั้งรหัสผ่านที่ดีและเข้มงวด
•  ตั้งค่าให้คอมพิวเตอร์ส่วนรวมไม่จํารหัสผ่าน
•  ใช้การเชื่อมต่อกับเว็บเซิร์ฟเวอร์แบบ https
•  ตั้งค่าให้มีการแจ้งให้ทราบเมื่อคอมพิวเตอร์หรือ
   อุปกรณ์โมบายใหม่เข้ามาใช้บัญชีเฟซบุ๊กของเรา
•  ไม่เปิดเผยข้อมูลที่ควรเป็นความลับบนเฟซบุ๊ก
•  ระมัดระวังการใช้เว็บไซต์ที่คล้ายกับเฟซบุ๊ก แต่ไม่ใช่
   เป็นเว็บไซต์เฟซบุ๊กที่แท้จริง (Facebook Phishing)
วิธีการตั้งรหัสผ่านที่ดี
•  ไม่เป็นคําที่หาได้จากพจนานุกรมใดๆ
•  มีความยาวอย่างน้อย 8 ตัวอักษร
•  มีตัวอักขระที่ไม่ใช่ตัวอักษรปะปน เช่น * , - ? & $
•  มีการใช้ตัวอักษรผสมตัวเลข
•  มีทั้งตัวอักษรตัวใหญ่และตัวเล็ก
•  คนอื่นเดาได้ยากแต่ตัวเองจําได้ง่าย
•  ทดสอบระดับคะแนนของรหัสผ่านของตนเองได้ที่ http://
   www.passwordmeter.com/
•  ตัวอย่างของรหัสผ่านที่ดี
    o  MeeSatiSaNgob*RakSiam7 (Score 100%)
    o  RakTherNaKrub?KhonDee4 (Score 100%)
•  ตัวอย่างของรหัสผ่านที่ไม่ดี
    o  myfacebook (Score 10%)
    o  lovemomdad (Score 10%)
ตั้งค่าให้คอมพิวเตอร์ส่วนรวมไม่จํารหัสผ่าน

•  ไม่เลือกช่อง Keep me logged in เมื่อใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คน
   อื่นสามารถใช้งานได้




•  เลือก Never remember password for this site กับเว็บเบราว์
   เซอร์ที่ถามว่าต้องการให้จํารหัสผ่านสําหรับไซต์นี้ตลอดไปหรือไม่
ใช้การเชื่อมต่อกับเว็บเซิร์ฟเวอร์แบบ https

•  ถ้าเราติดต่อเว็บเซิร์ฟเวอร์แบบใช้ที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ขึ้นต้นด้วย http
   ผู้อื่นอาจจะดักจับดูข้อความที่เราส่งไปที่เซิร์ฟเวอร์ได้
•  ตัวอย่างของที่อยู่ของเฟซบุ๊กทั้งแบบใช้ http และ https




•  วิธีการตั้งค่าให้เราใช้ https เท่านั้นเวลาเราใช้เฟซบุ๊ก
    o  ใช้ Firefox plugin "HTTPS Everywhere"
    o  กําหนดการตั้งค่าให้ใช้ https เท่านั้นในบัญชีเฟซบุ๊กของเรา
การใช้ Firefox Plugin HTTPS Everywhere​ (1/2)


•  เปิดเบราว์เซอร์ Firefox ไปที่เว็บไซต์ http://www.eff.org/https-
   everywhere แล้วคลิก Clicking here เพื่อดาวน์โหลดปลั๊กอิน
การใช้ Firefox Plugin HTTPS Everywhere​ (2/2)

•  Firefox จะขออนุญาตเราว่าในการติดตั้งปลั๊กอินตัวนี้ ให้คลิก Allow
   (อนุญาต)




•  จากนั้นให้คลิก Install Now
การตั้งค่าความปลอดภัยในการใช้บัญชีเฟซบุ๊ก (1/2)



1. ไปที่แถบเมนูขวาบน คลิกที่ลูกศรข้างเมนู หน้าแรก แล้วเลือก
ตั้งค่าบัญชีผู้ใช้
กําหนดการตั้งค่าให้ใช้ https เท่านั้นในบัญชีเฟซบุ๊ก



2. ไปที่ การตั้งค่าความปลอดภัย แล้วเลือกเมนู แก้ไข



3. คลิกเลือกใช้ https แล

3. คลิกที่ช่อง เรียกดู Facebook บนการเชื่อต่อที่ปลอดภัย
ข้อมูลเหล่านี้ไม่ควรเปิดเผยบนเฟซบุ๊ก

•  วันเดือนปีเกิดเพราะมิจฉาชีพอาจจะนําข้อมูลนี้ไปอ้างอิงกับธนาคาร
   บริษัทเครดิต หรือหน่วยงานที่ต้องการจะยืนยันความเป็นตัวตนของ
   เราโดยการอ้างอิงวันเดือนปีเกิด
•  ชื่อ นามสกุล อายุของลูก และโรงเรียนของลูก เพราะมิจฉาชีพอาจจะ
   อ้างตัวว่าตัวเองเป็นผู้ปกครองของลูกและลักพาตัวลูกไป
•  ที่อยู่ อีเมลและเบอร์โทรศัพท์ของตนเอง เพราะมิจฉาชีพอาจนํ
   ข้อมูลนี้ไปอ้างว่าเป็นตัวคุณกับหน่วยงานอื่น หรืออาจจะโทรมา
   รบกวนคุณ หรืออาจส่งอีเมลมารบกวน
•  แผนการท่องเที่ยว หรือการเดินทางไปที่อื่น ไม่ควรบอกล่วงหน้า
   เพราะมิจฉาชีพอาจฉวยโอกาสนี้มาขโมยสิ่งของของที่บ้านคุณได้
ตัวอย่างของบัญชีเฟซบุ๊กที่ไม่ปลอดภัย
การแก้ไขข้อมูลส่วนตัว

•  หากต้องการแก้ไขข้อมูลส่วนตัว
•  ไปที่เมนู เกียวกับ
การแก้ไขข้อมูลวันเกิดในเฟซบุ๊ก

•  ไม่ควรแสดงวันเกิดแบบเต็ม
การซ่อนเบอร์โทรศัพท์ของตนในเฟซบุ๊ก
ระมัดระวังอย่าใช้เฟซบุ๊กปลอม

•  หน้าตาและเนื้อหาดูเหมือนจะเป็นของเฟซบุ๊ก แต่ไม่ใช่
•  ขอให้สังเกตดูที่ที่อยู่ของเว็บ จะเห็นว่าโดเมนคือ view-
   facebookprofiles.com ไม่ใช่ facebook.com
ข้อควรปฏิบัติเมื่อใช้เฟซบุ๊ก

•    ใช้อย่างปลอดภัย
•    ใช้อย่างรักษาความเป็นส่วนตัว
•    ใช้อย่างสุภาพ
•    ใช้อย่างมีประโยชน์
•    ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้อย่างไรให้รักษาความเป็นส่วนตัว

•  คนทั่วไปไม่สามารถค้นพบบัญชีเฟซบุ๊กเราจากเสิรช์เอ็นจินได้
   (Public search)
•  ไม่รับคนแปลกหน้าเป็นเพื่อน
•  เลือกกลุ่มเพื่อนที่ให้ดูข้อความหรือไม่ให้ดูข้อความได้
•  ไม่เปิดเผยว่าชอบอะไรให้กับเพื่อนทราบทันทีหรือโดยอัตโนมัติจาก
   กิจกรรมที่เราทําในเว็บไซต์พันธมิตร (Instant personalization)
การตั้งค่ากําหนดความเป็นส่วนตัวของบัญชีเฟซบุ๊ก


•  คลิกที่ลูกศรข้าง หน้าแรก และเลือก ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
การตั้งค่าไม่ให้เสิรช์เอ็นจินค้นพบบัญชีเฟซบุ๊กของเรา (1/2)

•  ไปที่ โฆษณา แอพ และเว็บไซต์ แล้วคลิกที่ แก้ไขการตั้งค่า
การตั้งค่าไม่ให้เสิรช์เอ็นจินค้นพบบัญชีเฟซบุ๊กของเรา (2/2)


•  ไปที่ส่วน การค้นหาสาธารณะ แล้วคลิก แก้ไขการตั้งค่า




•  ไม่เลือกช่อง เปิดใช้การค้นหาสาธารณะ
ตัวอย่างของบัญชีเฟซบุ๊กที่คนอื่นดูไม่ได้
•  คนที่ไม่ใช่เพื่อนดูข้อมูลไม่ได้
ผลของการค้นหาชื่อในกูเกิล

•  ไม่พบการอ้างอิงถึงบัญชีเฟซบุ๊กของเรา
การไม่รับคนแปลกหน้าเป็นเพื่อน

•  หากไม่รู้จักคนที่ขอเป็นเพื่อน เพื่อความปลอดภัยควรจะเพิกเฉยการ
   ร้องขอเป็นเพื่อนของเขา โดยการคลิกปุ่ม Not Now
การลบคําร้องขอจากคนที่เราไม่รับเป็นเพื่อน

•  คลิกที่เมนู Request ทางด้านซ้ายมือบน




•  คลิก Delete Request ที่เพื่อนที่เราไม่รับ
การเลือกผู้ที่จะเราจะให้ดูสิ่งที่เราโพสต์ได้

•  การจัดรายการเพื่อนบนเฟซบุ๊ก
    o  ทําได้โดยการคลิกที่เมนูเพื่อน
    o  สร้างรายการที่เราต้องการ
    o  จัดให้เพื่อนบนเฟซบุ๊กอยู่ในรายการ
•  การตั้งค่าในสิ่งที่เราโพสต์ว่าจะให้เฉพาะเพื่อนหรือรายการเพื่อนดู
    o  หากเป็นโพสต์ รูปภาพ หรือวิดีโอ ให้คลิก เพื่อน ที่ใต้สิ่งที่เรา
       จะโพสต์
    o  หากเป็นอัลบั้ม ให้เข้าไปแก้ไขที่ข้อมูลของอัลบั้ม
•  การเลือกกลุ่มคนที่จะให้ดูข้อมูล เฟซบุ๊กจะมีเมนูให้เลือก
    o  สาธารณะ
    o  เพื่อน
    o  แค่ฉัน
    o  ปรับปรุงให้เหมาะสม
    o  รายการเพื่อนต่าง ๆ
การจัดลิสต์ของคนที่เป็นเพื่อนบนเฟซบุ๊ก (1/3)


•  ไปทีโปรไฟล์ของเรา โดยคลิกไปที่ชื่อของเจ้าของโปรไฟล์ ใน
       ่
   คอลัมน์ด้านซ้ายมือ ในส่วน เพื่อน ให้คลิก เพิ่มเติม ด้านขวามือ ใน
   ส่วนเพื่อน
การสร้างลิสต์เพื่อนใหม่
•  คลิกที่เมนู Create List
การสร้างรายการเพื่อนใหม่
การตั้งค่าความเป็นส่วนตัวของโพสต์ (1/3)

•  คลิกที่เมนูเพื่อน เพื่อกําหนดค่าความเป็นส่วนตัวของโพสต์ให้เฉพาะ
   รายการเพื่อนบางคน
การตั้งค่าปลอดภัยของโพสต์ (2/3)
•  คลิกเลือก กําหนดบุคคลหรือรายการ...
•  จากนั้นให้คลิก บันทึกการเปลี่ยนแปลง
การตั้งค่าปลอดภัยของโพสต์ (3/3)

•  พิมพ์ชื่อหรือคนที่ต้องการให้ดูข้อความแล้ว
•  จากนั้นให้คลิก บันทึกการเปลี่ยนแปลง
ข้อควรปฏิบัติเมื่อใช้เฟซบุ๊ก

•    ใช้อย่างปลอดภัย
•    ใช้อย่างรักษาความเป็นส่วนตัว
•    ใช้อย่างสุภาพ
•    ใช้อย่างมีประโยชน์
•    ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้เฟซบุ๊กอย่างไรให้สุภาพ

•  จงระลึกเสมอว่าสิ่งที่เราโพสต์นั้น เพื่อนทุกคนสามารถเห็นได้ หรือ
   อาจจะ capture screen เก็บไว้ นอกจากเราจะตั้งความปลอดภัยให้
   เพื่อนบางคนเห็น หรือตั้งความปลอดภัยไม่ให้เพื่อนบางคนเห็น
•  จงระลึกว่าคนที่เห็นสิ่งที่เขาโพสต์ อาจจะพิจารณารับคุณทํางานหรือ
   เลื่อนตําแหน่งให้คุณ
•  คําพูดที่สุภาพคือคําที่ถ้าพ่อแม่ครูบาอาจารย์ฟังเราพูดแล้วไม่เสียใจ
   ถ้าคําพูดไหนที่ท่านฟังแล้วเสียใจ แสดงว่าคําพูดนั้นคงไม่สุภาพ หรือ
   คําพูดไหนที่ถ้าเราพูดให้ลูกเราได้ยิน แล้วเราอาย คําพูดนั้นก็คงไม่
   สุภาพ
•  เวลาเขียนตอบผู้ใหญ่ ควรจะมีการใช้คําว่า ครับ หรือ ค่ะ ด้วย
•  หากท่านถามให้อธิบาย ก็ควรจะอธิบาย ไม่ใช่ตอบสั้นๆ แล้วให้ท่าน
   ถามแล้วถามอีก
ใช้เฟซบุ๊กอย่างไรให้มีประโยชน์
•  มีเพื่อนดีบนเฟซบุ๊ก
    o  เพื่อนที่ให้ข้อคิดดีๆ
           § Achara Klinsuwan http://www.facebook.com/
           acharaklinsuwan
           § Vajiramedhi http://www.facebook.com/vajiramedhi
       § Phra Paisal Visalo
      http://www.facebook.com/profile.php?id=819251623
          § Worapat Phuchaoren http://www.facebook.com/
          profile.php?id=569934653
   o  เพื่อนที่ให้ความรู้ดีๆ
          § English Breakfast http://www.facebook.com/ebgang
          § Thai Health Promotion Foundation http://
          www.facebook.com/thaihealth
          § นมแม่ http://www.facebook.com/thaibreastfeeding
ใช้เฟซบุ๊กอย่างไรไม่ให้เกิดโทษ

•  ใช้โดยไม่เปลืองเวลา เสียสุขภาพ หรือเป็นอันตราย
   o    หลีกเลี่ยงการเล่นเกมนานๆ
   o    หลีกเลี่ยงการเล่นเกมบ่อยๆ
   o    หลีกเลี่ยงการใช้เฟซบุ๊กเมื่ออินเทอร์เน็ตช้า
   o    ควรจะมีการจับเวลาพิจารณาว่าแต่ละวัน เราใช้เวลาบน เฟซบุ๊กมากเกิน
        ไปโดยไม่จําเป็นหรือไม่
   o    หลีกเลี่ยงการใช้เฟซบุ๊กบนอุปกรณ์โมบายในระหว่างขับรถหรือทําอะไรที่
        ต้องใช้สมาธิเพียงอย่างเดียว
•  ใช้โดยไม่เสียสัมพันธภาพกับคนใกล้ชิด
   o    หากเพื่อนอยู่ใกล้ๆ ก็เข้าไปคุยกับเพื่อน ไม่ควรเข้าไปตอบโต้กับ       เพื่อ
        นบนเฟซบุ๊ก
   o    หลีกเลี่ยงการใช้เฟซบุ๊กในเวลาที่ควรให้กับเพื่อนที่นั่งข้างๆ หรือสมาชิกใน
        ครอบครัว
ใช้เฟซบุ๊กอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ

•  ไม่เป็นเพื่อนกับคนที่ขายของ เพราะทําให้เปลืองเวลาอ่านสิ่งที่เขา
   โพสต์
•  บล็อกไม่ให้เห็นการร้องขอการมีส่วนร่วมในการเล่นเกมหรือใช้
   แอปพลิเคชันที่เพื่อนใช้
•  บล็อกไม่ให้เห็นกิจกรรมการเล่นเกมของเพื่อน
•  จัดกลุ่มและติดตามการอัปเดตเฉพาะกลุ่มคนที่เราสนใจ
•  สร้างกลุ่มและเฟซบุ๊กเพจเพื่อการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับองค์กร
   หรือผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการของเรา
•  การจัดอีเมลที่มาจากเฟซบุ๊กไม่ให้ปะปันกับเมลอื่นในกล่องรับเมล
การบล็อกผู้ใช้และแอปพลิเคชัน (1/3)


•  คลิกที่ลูกศรข้าง หน้าแรก และเลือก ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
การบล็อกผู้ใช้และแอปพลิเคชัน (2/3)

•  บล็อกผู้ใช้บางคนและการเชิญชวนใช้แอปจากผู้ใช้
การบล็อกผู้ใช้และแอปพลิเคชัน (3/3)
การป้องกันการแท็กหรือโพสต์จากโฆษณา (1/3)


•  คลิกที่ลูกศรข้าง หน้าแรก และเลือก ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
การป้องกันการแท็กจากโฆษณา (2/3)


•  ในส่วน ไทม์ไลน์และการแท็ก เลือก แก้ไขการตั้งค่า
การป้องกันการแท็กจากโฆษณา (3/3)
•  ในส่วน ไทม์ไลน์และการแท็ก เลือก แก้ไขการตั้งค่า
การเพิ่มข้อมูลและการดูรายการโปรด
ผลของการดูอัปเดตของรายการเพื่อน
การใช้กลุ่มเพื่อสื่อสารเฉพาะภายในกลุ่ม
การใช้เพจเพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้คนทั่วไป
การกรองอีเมลที่มาจากเฟซบุ๊กในกูเกิลเมล (1/3)
การกรองอีเมลที่มาจากเฟซบุ๊กในกูเกิลเมล (2/3)
การกรองอีเมลที่มาจากเฟซบุ๊กในกูเกิลเมล (3/3)
สรุป
•  เฟซบุ๊กเป็นโซเชียลมีเดียที่คนทั่วโลกและคนไทยนิยมใช้มากที่สุด
•  เราสามารถใช้เฟซบุ๊กได้อย่างปลอดภัย
    o  ตั้งรหัสผ่านให้ดี
    o  ใช้ https ตลอด
    o  ตั้งค่าไม่ให้เว็บเสิร์ชเอ็นจินค้นพบบัญชีเฟซบุ๊กเรา
    o  ตั้งค่าไม่ให้คนทั่วไปเข้ามาดูข้อมูลเกี่ยวกับบัญชีเฟซบุ๊กเรา
    o  ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวให้กับเพื่อนที่ไม่ใช่เพื่อนสนิท
    o  ไม่โพสต์หรือเขียนข้อคิดเห็นในสิ่งที่จะทําให้เสียใจภายหลัง
•  เราสามารถใช้เฟซบุ๊กได้อย่างสร้างสรรค์
    o  มีเพื่อนดีๆ และแบ่งปันสิ่งดีๆ ให้กับคนอื่น
    o  ใช้กลุ่มเพื่อติดต่อสื่อสารกับผู้คนเฉพาะในกลุ่ม หรือใช้เพื่อการ
       เรียนการสอน
    o  ใช้เพจเพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้กับคนทั่วไป
แหล่งข้อมูลอ้างอิง (1/2)

•  SocialBakers.com, "Thailand Facebook Statistics", [online] 2011
   [cited 2011 Mar 1] Available from http://www.socialbakers.com/
   facebook-statistics/thailand.
•  InsideFacebook.com, "Thailand May Be Facebooks Next Big Asian
   Market", [online] 2010 [cited 2011 Mar 1]
•  http://www.facebook.com/pages/Aum-Patcharapa-Chaichuea/
   72245723182
•  http://www.facebook.com/Abhisit.M.Vejjajiva
•  http://www.facebook.com/pages/Korn-Chatikavanij/71254499739
•  http://www.facebook.com/boyd.kosiyabong
•  ConsumerReports.org, "7 Things to Stop Doing Now on Facebook",
   [online] 2010 [cited 2011 Mar 1] Available from http://
   www.consumerreports.org/cro/magazine-archive/2010/june/
   electronics-computers/social-insecurity/7-things-to-stop-doing-on-
   facebook/index.htm
แหล่งข้อมูลอ้างอิง (2/2)

•  Facebook Phishing Scam Awareness http://www.facebook.com/
   photo.php?fbid=555263879800&set=o.
   9874388706&theater& pid=37395173&id=22919593
•  http://adkoillusion.com/wp-content/uploads/2010/09/
   facebooknotnow.png
•  http://www.dreamgrow.com/facebook-statistics-2012-taking-over-the-
   world/
•  http://tonyahn.com/2012/02/2012-facebook-statistics-new-data-
   revealed-ipo-filing/
•  http://www.trendhunter.com/trends/facebook-2012-infographic
ขอบคุณค่ะ

•  อีเมล krunapon@kku.ac.th
•  ข้อมูลอื่นๆและสไลด์อื่นๆ ของวิทยากร
    o  http://gear.kku.ac.th/~krunapon
    o  http://gotoknow.org/blog/krunapon
    o  http://twitter.com/krunapon
    o  http://www.slideshare.net/krunapon

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้าใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้าDuangsuwun Lasadang
 
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียนNU
 
แบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการแบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการNatthawut Sutthi
 
ประเภทของตัวแปร
ประเภทของตัวแปรประเภทของตัวแปร
ประเภทของตัวแปรPor Oraya
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำบันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำสภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศKunnanatya Pare
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยKruthai Kidsdee
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์Kittayaporn Changpan
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 

What's hot (20)

ใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้าใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้า
 
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
 
แบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการแบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการ
 
ประเภทของตัวแปร
ประเภทของตัวแปรประเภทของตัวแปร
ประเภทของตัวแปร
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
การเลี้ยงไก่พื้นเมืองการเลี้ยงไก่พื้นเมือง
การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
 
CPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMKCPBL21sarapatchangMK
CPBL21sarapatchangMK
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำบันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
ประโยคสนทนาภาษาอังกฤษ 4,500 ประโยค
ประโยคสนทนาภาษาอังกฤษ 4,500 ประโยคประโยคสนทนาภาษาอังกฤษ 4,500 ประโยค
ประโยคสนทนาภาษาอังกฤษ 4,500 ประโยค
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Data mining
Data   miningData   mining
Data mining
 

Viewers also liked

การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอนการใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอนKanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้Kanda Runapongsa Saikaew
 
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้Kanda Runapongsa Saikaew
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Kanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้Facebookเพื่อการเรียนการสอน
การใช้Facebookเพื่อการเรียนการสอนการใช้Facebookเพื่อการเรียนการสอน
การใช้Facebookเพื่อการเรียนการสอนPornpanit Chan
 
FACEBOOK(โครงงาน)
FACEBOOK(โครงงาน)FACEBOOK(โครงงาน)
FACEBOOK(โครงงาน)Pumbaa Stk
 
ายเทคนิคการแทรกรูปภาพอย่างรวดเร็ว
ายเทคนิคการแทรกรูปภาพอย่างรวดเร็วายเทคนิคการแทรกรูปภาพอย่างรวดเร็ว
ายเทคนิคการแทรกรูปภาพอย่างรวดเร็วNoTe Tumrong
 
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Dokhed Gam
 
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้Kanda Runapongsa Saikaew
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้Kanda Runapongsa Saikaew
 
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social mediaรายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social mediaKobwit Piriyawat
 
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social media
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social mediaรายงานเข้าร่วมโครงการ Social media
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social mediaKobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บKobwit Piriyawat
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (20)

การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอนการใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
 
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
 
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
 
การใช้Facebookเพื่อการเรียนการสอน
การใช้Facebookเพื่อการเรียนการสอนการใช้Facebookเพื่อการเรียนการสอน
การใช้Facebookเพื่อการเรียนการสอน
 
FACEBOOK(โครงงาน)
FACEBOOK(โครงงาน)FACEBOOK(โครงงาน)
FACEBOOK(โครงงาน)
 
ควยยยยยย
ควยยยยยยควยยยยยย
ควยยยยยย
 
ายเทคนิคการแทรกรูปภาพอย่างรวดเร็ว
ายเทคนิคการแทรกรูปภาพอย่างรวดเร็วายเทคนิคการแทรกรูปภาพอย่างรวดเร็ว
ายเทคนิคการแทรกรูปภาพอย่างรวดเร็ว
 
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Wiki Presentation
Wiki PresentationWiki Presentation
Wiki Presentation
 
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
 
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social mediaรายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
 
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social media
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social mediaรายงานเข้าร่วมโครงการ Social media
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social media
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 

Similar to การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์

10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้วัจนี ศรีพวงผกาพันธุ์
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ความลับ กลยุทธ์การตลาดออนไลน์ อสังหาฯ
ความลับ กลยุทธ์การตลาดออนไลน์ อสังหาฯ ความลับ กลยุทธ์การตลาดออนไลน์ อสังหาฯ
ความลับ กลยุทธ์การตลาดออนไลน์ อสังหาฯ ธิติพล เทียมจันทร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานAutcharapun Kanya
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานAutcharapun Kanya
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคMontra Songsee
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebookkruspt2
 

Similar to การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์ (20)

10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
 
Twitter (ทวิตเตอร์)
Twitter (ทวิตเตอร์)Twitter (ทวิตเตอร์)
Twitter (ทวิตเตอร์)
 
มาทำความร จ_ก facebook
มาทำความร  จ_ก facebookมาทำความร  จ_ก facebook
มาทำความร จ_ก facebook
 
สายลมแห่งอาสา
สายลมแห่งอาสาสายลมแห่งอาสา
สายลมแห่งอาสา
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
ความลับ กลยุทธ์การตลาดออนไลน์ อสังหาฯ
ความลับ กลยุทธ์การตลาดออนไลน์ อสังหาฯ ความลับ กลยุทธ์การตลาดออนไลน์ อสังหาฯ
ความลับ กลยุทธ์การตลาดออนไลน์ อสังหาฯ
 
GHangout
GHangoutGHangout
GHangout
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
53010516023 (1)
53010516023 (1)53010516023 (1)
53010516023 (1)
 
ชีวิตดิจิตอล ฉบับ 1
ชีวิตดิจิตอล ฉบับ 1ชีวิตดิจิตอล ฉบับ 1
ชีวิตดิจิตอล ฉบับ 1
 
My life is digital in aug 2012-1
My life is digital in  aug 2012-1My life is digital in  aug 2012-1
My life is digital in aug 2012-1
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
facebook
facebookfacebook
facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 

More from Kanda Runapongsa Saikaew

ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัยใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัยKanda Runapongsa Saikaew
 
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษาบริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษาKanda Runapongsa Saikaew
 
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and LearningUsing Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and LearningKanda Runapongsa Saikaew
 
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropboxวิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ DropboxKanda Runapongsa Saikaew
 
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing InformationUsing Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing InformationKanda Runapongsa Saikaew
 
คู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ Dropboxคู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ DropboxKanda Runapongsa Saikaew
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Kanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้นKanda Runapongsa Saikaew
 
Analysis of Facebook Usage by College Students in Thailand
Analysis of Facebook Usage by College Students in ThailandAnalysis of Facebook Usage by College Students in Thailand
Analysis of Facebook Usage by College Students in ThailandKanda Runapongsa Saikaew
 
คู่มือการใช้ Zotero
คู่มือการใช้ Zotero คู่มือการใช้ Zotero
คู่มือการใช้ Zotero Kanda Runapongsa Saikaew
 

More from Kanda Runapongsa Saikaew (20)

Google Apps Basic for Education
Google Apps Basic for Education Google Apps Basic for Education
Google Apps Basic for Education
 
Moodle basics
Moodle basicsMoodle basics
Moodle basics
 
Thai socialmedia
Thai socialmediaThai socialmedia
Thai socialmedia
 
Introduction to JSON
Introduction to JSONIntroduction to JSON
Introduction to JSON
 
Introduction to Google App Engine
Introduction to Google App EngineIntroduction to Google App Engine
Introduction to Google App Engine
 
Android dev tips
Android dev tipsAndroid dev tips
Android dev tips
 
Introduction to Google+
Introduction to Google+Introduction to Google+
Introduction to Google+
 
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัยใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
 
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษาบริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
 
Baby Health Journal
Baby Health Journal Baby Health Journal
Baby Health Journal
 
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and LearningUsing Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
 
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropboxวิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
 
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing InformationUsing Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
 
คู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ Dropboxคู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ Dropbox
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
 
Google bigtableappengine
Google bigtableappengineGoogle bigtableappengine
Google bigtableappengine
 
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้น
 
Statistical Modeling of Extreme Values
Statistical Modeling of Extreme ValuesStatistical Modeling of Extreme Values
Statistical Modeling of Extreme Values
 
Analysis of Facebook Usage by College Students in Thailand
Analysis of Facebook Usage by College Students in ThailandAnalysis of Facebook Usage by College Students in Thailand
Analysis of Facebook Usage by College Students in Thailand
 
คู่มือการใช้ Zotero
คู่มือการใช้ Zotero คู่มือการใช้ Zotero
คู่มือการใช้ Zotero
 

การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์