SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087

1

ครู เสวตร

084 - 1284087

บทที่ 2 พหุนาม
1) เอกนาม
่
เอกนามเป็ นนิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยูในรู ปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้
กาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็ นศูนย์หรื อจานวนเต็มบวก
2 3
xy ,  4 x 2 yz , 7 , 0.2a 2bc3 เป็ นเอกนาม
3
3
2
x
5
3x ,
, 2 , 3x 3 y 2 z , 3a  b5 , 6  x 2 ไม่เป็ นเอกนาม
y t

เช่น นิพจน์

3x ,  5 x 2 ,

ส่วนนิพจน์

ดังนั้นเอกนามจึงประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนที่เป็ นค่าคงตัวเรี ยกว่า สั มประสิ ทธิ์ของเอกนามและส่วนที่
เป็ นตัวแปรและเรี ยกผลบวกของเลขชี้กาลังของตัวแปรว่า ดีกรีของเอกนาม เช่น 3x 2 y5 มีสมประสิทธิ์เป็ น 3
ั
และดีกรี เป็ น 7

2) การบวกและการลบเอกนาม
่
เอกนามสองเอกนามคล้ายกันก็ตอเมื่อเอกนามทั้งสองมีตวแปรชุดเดียวกันและเลขชี้กาลังของตัวแปรตัว
ั
เดียวกันในแต่ละเอกนามเท่ากัน เช่น
2x คล้ายกับ 5x
3x 2 y คล้ายกับ 5x 2 y
2 2 3
abc
3

คล้ายกับ

3 2 3
abc
5

5a 2b0

คล้ายกับ

3a 2b0c0

เอกนามที่คล้ายกันสามารถหาผลบวกและผลลบได้โดยใช้สมบัติแจกแจง ส่วนเอกนามทีไม่คล้ายกันจะไม่
่
สามารถหาผลบวกได้ เช่น 3x2  4 x กับ 2 x2  3x มีผลบวกเป็ น 5x2  x
ส่วน 3x 2 กับ 2x มีผลบวกเป็ น 3x2  2 x

่ ้
ตัวอย่ างที่ 1 จงหาผลบวกและผลลบของเอกนามในแต่ละคู่ต่อไปนี้โดยใช้เอกนามที่อยูดานหน้าเป็ นตัวตั้ง
1.

5x

กับ

2.

4xy

3.

7x 2 y

3x

กับ
กับ

2xy

มีผลบวกเป็ น ……………….

มีผลลบเป็ น ……………………...

มีผลบวกเป็ น ……………….

มีผลลบเป็ น ……………………...

9x 2 y

มีผลบวกเป็ น ……………….

มีผลลบเป็ น ……………………...
บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087

2

ครู เสวตร

084 - 1284087

3) พหุนาม
พหุนามเป็ นนิพจน์ที่สามารถเขียนในรู ปเอกนามหรื อสามารถเขียนในรู ปการบวกของเอกนามตั้งแต่สองเอก
นามขึ้นไป เช่น 3x2  4 x , xy 2  4 xy  2 x เป็ นต้น
เพือความสะดวกต่อไปนี้จะเรี ยกแต่ละเอกนามว่า พจน์ ดังนั้นเอกนามทีคล้ายกันจะเรี ยกว่า พจน์ที่คล้ายกัน
่
่
และถ้าพหุนามใดมีพจน์ที่คล้ายกันจะสามารถรวมพจน์ที่คล้ายกันได้ซ่ ึงพหุนามทีไม่มีพจน์ที่คล้ายกันจะเรี ยกว่า
่
พหุนามในรู ปผลสาเร็จ และดีกรี สูงสุดของพจน์ในพหุนามจะเป็ นดีกรีของพหุนาม
เช่น พหุนาม 9x2 y  3xy  4x2 y  7 xy  3
มีพหุนามในรู ปผลสาเร็ จ คือ 5x2 y  10xy  3 และมีดีกรี เป็ น 3
ตัวอย่ างที่ 2 จงเขียนพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้เป็ นพหุนามในรู ปผลสาเร็จ พร้อมทั้งบอกดีกรี ของพหุนามนั้น
1)

3 y2  5 y  3 y  2

ผลสาเร็จ คือ …………………………… มีดีกรี เท่ากับ …………

2)

3xy 2  2 xy  2 y 2 x  5  xy

ผลสาเร็จ คือ …………………………… มีดีกรี เท่ากับ …………

3)

6 x 3  3x 4  x  7  x 3  4 x 5  6 x 4

ผลสาเร็จ คือ …………………………… มีดีกรี เท่ากับ …………
หมายเหตุ ในการเขียนพหุนามในรู ปผลสาเร็จนิยมเขียนเรี ยงพจน์ตามลาดับดีกรี ของแต่ละพจน์จากดีกรี มากไป
น้อยหรื อจากดีกรี นอยไปมาก เช่น พหุนาม 4x3  3x2  5x4  7 x  9
้
เรี ยงดีกรี ของแต่ละพจน์จากมากไปน้อยได้เป็ น 5x4  4x3  3x2  7 x  9
เรี ยงดีกรี ของแต่ละพจน์จากน้อยไปมากได้เป็ น 9  7 x  3x2  4x3  5x4

4) การบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนามสามารถทาได้โดยการนาพจน์ที่คล้ายกันมาบวกหรื อลบกัน
่ ้
ตัวอย่ างที่ 3 จงหาผลบวกและผลลบของพหุนามในแต่ละคู่ต่อไปนี้โดยใช้พหุนามที่อยูดานหน้าเป็ นตัวตั้ง
1) 3x  5 y  4 กับ 2xy  5x  7 y  1
บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087

2)

5 y2  3y  2

กับ

3

ครู เสวตร

084 - 1284087

y3  y 2  2 y  7

5) การคูณพหุนาม
(5.1) เอกนามคูณกับเอกนาม ทาได้โดยให้ค่าคงที่คูณกับค่าคงที่และตัวแปรคูณกับตัวแปร
เช่น  5xy   2 xy 2   ………………………………………
3x   4 x2 y 5 yz 3   ………………………………….

 6ab c    3 bc   a b   …………………………..


 2

2

2

3

(5.2) เอกนามคูณกับพหุนาม ทาได้โดยนาเอกนามไปคูณทุกๆ พจน์ของพหุนาม
เช่น  2 x  3xy  5x2 y3   …………………………………………………….

5xy  4x y
2

3

 2 z   3xyz  

…………………………………………………….

(5.3) พหุนามคูณพหุนาม ทาได้โดยคูณแต่ละพจน์ของพหุนามหนึ่งกับทุกๆพจน์ของพหุนามหนึ่ง แล้วนาผลคูณ
เหล่านั้นมาบวกกัน เช่น
 2 x  13x  2  ………………………………………………………………………………………..

5x  y  2 x  3 y   ………………………………………………………………………………………..

x

2

 2 y  3xy  2 x  y 2  

……………………………………………………………………………………
บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087

4

ครู เสวตร

084 - 1284087

ตัวอย่ างที่ 4 จงหาผลคูณของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้
1)  2 x  y   x2  5xy  y 2   ……………………………………………………………………………..
2) 3x  y  2 z  2 x  y  3z   …………………………………………………………………………….

3)  x  y   x2  xy  y 2   ……………………………………………………………………………..

4)  a  b  c  a  b  c   ……………………………………………………………………………..

6) การหารพหุนาม
(6.1) เอกนามหารด้วยเอกนาม ทาได้โดยให้ตวคงที่หารกับตัวคงที่และตัวแปรหารกับตัวแปร
ั
เช่น

12 x3 y 2

3x 2 y

……………………………………………….

20a 2b5c3

5a 2b3c

……………………………………………….

(6.2) การหารพหุนามด้ วยเอกนาม ทาได้โดยนาเอกนามไปหารพหุนามทีละพจน์
เช่น

12 x 4  6 x3  4 x 2  2 x

2x
6 x3 y 2  9 x 2 y  3xy

3xy

……………………………………………….

…………………………………………………………..
บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087

5

ครู เสวตร

084 - 1284087

(6.3) การหารพหุนามด้วยพหุนาม ทาได้โดยใช้วิธีต้งหารแต่ก่อนจะตั้งหารควรเขียนพหุนามทั้งที่เป็ นตัวตั้งและ
ั
ตัวหารให้เป็ นพหุนามที่มีการเรี ยงพจน์จากดีกรี มากไปดีกรี นอย
้
เช่น จะหารพหุนาม 6x3  x2  22  2x ด้วย 2 x  3

ตัวอย่ างที่ 5 จงหาผลหารของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) พหุนาม 5x2  4x3  4x4  4 14x หารด้วย 1  2x

2) พหุนาม

26 y  10 y3  23 y 2  21

หารด้วย

2y  3
บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087

3) พหุนาม

5x4  28x2 19 x3  26 x  11

ตัวอย่ างที่ 6 จงหาค่า

k

ที่ทาให้

6

ครู เสวตร

หารด้วย

3 y 2  12  ky  y3

2  3x  x2

หารด้วย

y2  y  3

ลงตัว

084 - 1284087
บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087

7

ครู เสวตร

ตัวอย่ างที่ 7 จงหาค่า

a

ที่ทาให้

2 x3  5x2  ax  4

หารด้วย

x2  2 x  3

ตัวอย่ างที่ 8 จงหาค่า

k

ที่ทาให้

4 x3  kx2  5x  7

หารด้วย

x 1

เหลือเศษ

เหลือเศษ

10

084 - 1284087

11x  7

More Related Content

What's hot

การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต komeeyun
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4คุณครูพี่อั๋น
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2kanjana2536
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากันAon Narinchoti
 

What's hot (20)

การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
ปลายภาค คณิต ม.4 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
แบบฝึกทักษะเอกนาม
แบบฝึกทักษะเอกนามแบบฝึกทักษะเอกนาม
แบบฝึกทักษะเอกนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
 
ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 4
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 12 โจทย์ปัญหาการหารเศษส่วน
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากัน
 

Similar to บทที่ 2 พหุนาม

ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้pummath
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมsawed kodnara
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์sawed kodnara
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังFern Baa
 
การบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนามการบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนามkroojaja
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1guychaipk
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1narong2508
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานNittaya Noinan
 

Similar to บทที่ 2 พหุนาม (20)

ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
Complex Number Practice
Complex Number PracticeComplex Number Practice
Complex Number Practice
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
 
การบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนามการบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนาม
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรีแบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
 
monomial and polynomail
monomial and polynomailmonomial and polynomail
monomial and polynomail
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
 

More from sawed kodnara

เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560sawed kodnara
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 sawed kodnara
 
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์sawed kodnara
 
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560sawed kodnara
 
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560sawed kodnara
 
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยsawed kodnara
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556sawed kodnara
 
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันsawed kodnara
 
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารบทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารsawed kodnara
 
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลsawed kodnara
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1sawed kodnara
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1sawed kodnara
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์sawed kodnara
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานsawed kodnara
 

More from sawed kodnara (20)

เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
 
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
 
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
 
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
 
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
 
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
 
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารบทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
 
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
 
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
 
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
 
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
 

บทที่ 2 พหุนาม

  • 1. บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 1 ครู เสวตร 084 - 1284087 บทที่ 2 พหุนาม 1) เอกนาม ่ เอกนามเป็ นนิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยูในรู ปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้ กาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็ นศูนย์หรื อจานวนเต็มบวก 2 3 xy ,  4 x 2 yz , 7 , 0.2a 2bc3 เป็ นเอกนาม 3 3 2 x 5 3x , , 2 , 3x 3 y 2 z , 3a  b5 , 6  x 2 ไม่เป็ นเอกนาม y t เช่น นิพจน์ 3x ,  5 x 2 , ส่วนนิพจน์ ดังนั้นเอกนามจึงประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนที่เป็ นค่าคงตัวเรี ยกว่า สั มประสิ ทธิ์ของเอกนามและส่วนที่ เป็ นตัวแปรและเรี ยกผลบวกของเลขชี้กาลังของตัวแปรว่า ดีกรีของเอกนาม เช่น 3x 2 y5 มีสมประสิทธิ์เป็ น 3 ั และดีกรี เป็ น 7 2) การบวกและการลบเอกนาม ่ เอกนามสองเอกนามคล้ายกันก็ตอเมื่อเอกนามทั้งสองมีตวแปรชุดเดียวกันและเลขชี้กาลังของตัวแปรตัว ั เดียวกันในแต่ละเอกนามเท่ากัน เช่น 2x คล้ายกับ 5x 3x 2 y คล้ายกับ 5x 2 y 2 2 3 abc 3 คล้ายกับ 3 2 3 abc 5 5a 2b0 คล้ายกับ 3a 2b0c0 เอกนามที่คล้ายกันสามารถหาผลบวกและผลลบได้โดยใช้สมบัติแจกแจง ส่วนเอกนามทีไม่คล้ายกันจะไม่ ่ สามารถหาผลบวกได้ เช่น 3x2  4 x กับ 2 x2  3x มีผลบวกเป็ น 5x2  x ส่วน 3x 2 กับ 2x มีผลบวกเป็ น 3x2  2 x ่ ้ ตัวอย่ างที่ 1 จงหาผลบวกและผลลบของเอกนามในแต่ละคู่ต่อไปนี้โดยใช้เอกนามที่อยูดานหน้าเป็ นตัวตั้ง 1. 5x กับ 2. 4xy 3. 7x 2 y 3x กับ กับ 2xy มีผลบวกเป็ น ………………. มีผลลบเป็ น ……………………... มีผลบวกเป็ น ………………. มีผลลบเป็ น ……………………... 9x 2 y มีผลบวกเป็ น ………………. มีผลลบเป็ น ……………………...
  • 2. บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 2 ครู เสวตร 084 - 1284087 3) พหุนาม พหุนามเป็ นนิพจน์ที่สามารถเขียนในรู ปเอกนามหรื อสามารถเขียนในรู ปการบวกของเอกนามตั้งแต่สองเอก นามขึ้นไป เช่น 3x2  4 x , xy 2  4 xy  2 x เป็ นต้น เพือความสะดวกต่อไปนี้จะเรี ยกแต่ละเอกนามว่า พจน์ ดังนั้นเอกนามทีคล้ายกันจะเรี ยกว่า พจน์ที่คล้ายกัน ่ ่ และถ้าพหุนามใดมีพจน์ที่คล้ายกันจะสามารถรวมพจน์ที่คล้ายกันได้ซ่ ึงพหุนามทีไม่มีพจน์ที่คล้ายกันจะเรี ยกว่า ่ พหุนามในรู ปผลสาเร็จ และดีกรี สูงสุดของพจน์ในพหุนามจะเป็ นดีกรีของพหุนาม เช่น พหุนาม 9x2 y  3xy  4x2 y  7 xy  3 มีพหุนามในรู ปผลสาเร็ จ คือ 5x2 y  10xy  3 และมีดีกรี เป็ น 3 ตัวอย่ างที่ 2 จงเขียนพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้เป็ นพหุนามในรู ปผลสาเร็จ พร้อมทั้งบอกดีกรี ของพหุนามนั้น 1) 3 y2  5 y  3 y  2 ผลสาเร็จ คือ …………………………… มีดีกรี เท่ากับ ………… 2) 3xy 2  2 xy  2 y 2 x  5  xy ผลสาเร็จ คือ …………………………… มีดีกรี เท่ากับ ………… 3) 6 x 3  3x 4  x  7  x 3  4 x 5  6 x 4 ผลสาเร็จ คือ …………………………… มีดีกรี เท่ากับ ………… หมายเหตุ ในการเขียนพหุนามในรู ปผลสาเร็จนิยมเขียนเรี ยงพจน์ตามลาดับดีกรี ของแต่ละพจน์จากดีกรี มากไป น้อยหรื อจากดีกรี นอยไปมาก เช่น พหุนาม 4x3  3x2  5x4  7 x  9 ้ เรี ยงดีกรี ของแต่ละพจน์จากมากไปน้อยได้เป็ น 5x4  4x3  3x2  7 x  9 เรี ยงดีกรี ของแต่ละพจน์จากน้อยไปมากได้เป็ น 9  7 x  3x2  4x3  5x4 4) การบวกและการลบพหุนาม การบวกและการลบพหุนามสามารถทาได้โดยการนาพจน์ที่คล้ายกันมาบวกหรื อลบกัน ่ ้ ตัวอย่ างที่ 3 จงหาผลบวกและผลลบของพหุนามในแต่ละคู่ต่อไปนี้โดยใช้พหุนามที่อยูดานหน้าเป็ นตัวตั้ง 1) 3x  5 y  4 กับ 2xy  5x  7 y  1
  • 3. บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 2) 5 y2  3y  2 กับ 3 ครู เสวตร 084 - 1284087 y3  y 2  2 y  7 5) การคูณพหุนาม (5.1) เอกนามคูณกับเอกนาม ทาได้โดยให้ค่าคงที่คูณกับค่าคงที่และตัวแปรคูณกับตัวแปร เช่น  5xy   2 xy 2   ……………………………………… 3x   4 x2 y 5 yz 3   ………………………………….  6ab c    3 bc   a b   …………………………..    2  2 2 3 (5.2) เอกนามคูณกับพหุนาม ทาได้โดยนาเอกนามไปคูณทุกๆ พจน์ของพหุนาม เช่น  2 x  3xy  5x2 y3   ……………………………………………………. 5xy  4x y 2 3  2 z   3xyz   ……………………………………………………. (5.3) พหุนามคูณพหุนาม ทาได้โดยคูณแต่ละพจน์ของพหุนามหนึ่งกับทุกๆพจน์ของพหุนามหนึ่ง แล้วนาผลคูณ เหล่านั้นมาบวกกัน เช่น  2 x  13x  2  ……………………………………………………………………………………….. 5x  y  2 x  3 y   ……………………………………………………………………………………….. x 2  2 y  3xy  2 x  y 2   ……………………………………………………………………………………
  • 4. บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 4 ครู เสวตร 084 - 1284087 ตัวอย่ างที่ 4 จงหาผลคูณของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1)  2 x  y   x2  5xy  y 2   …………………………………………………………………………….. 2) 3x  y  2 z  2 x  y  3z   ……………………………………………………………………………. 3)  x  y   x2  xy  y 2   …………………………………………………………………………….. 4)  a  b  c  a  b  c   …………………………………………………………………………….. 6) การหารพหุนาม (6.1) เอกนามหารด้วยเอกนาม ทาได้โดยให้ตวคงที่หารกับตัวคงที่และตัวแปรหารกับตัวแปร ั เช่น 12 x3 y 2  3x 2 y ………………………………………………. 20a 2b5c3  5a 2b3c ………………………………………………. (6.2) การหารพหุนามด้ วยเอกนาม ทาได้โดยนาเอกนามไปหารพหุนามทีละพจน์ เช่น 12 x 4  6 x3  4 x 2  2 x  2x 6 x3 y 2  9 x 2 y  3xy  3xy ………………………………………………. …………………………………………………………..
  • 5. บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 5 ครู เสวตร 084 - 1284087 (6.3) การหารพหุนามด้วยพหุนาม ทาได้โดยใช้วิธีต้งหารแต่ก่อนจะตั้งหารควรเขียนพหุนามทั้งที่เป็ นตัวตั้งและ ั ตัวหารให้เป็ นพหุนามที่มีการเรี ยงพจน์จากดีกรี มากไปดีกรี นอย ้ เช่น จะหารพหุนาม 6x3  x2  22  2x ด้วย 2 x  3 ตัวอย่ างที่ 5 จงหาผลหารของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) พหุนาม 5x2  4x3  4x4  4 14x หารด้วย 1  2x 2) พหุนาม 26 y  10 y3  23 y 2  21 หารด้วย 2y  3
  • 6. บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 3) พหุนาม 5x4  28x2 19 x3  26 x  11 ตัวอย่ างที่ 6 จงหาค่า k ที่ทาให้ 6 ครู เสวตร หารด้วย 3 y 2  12  ky  y3 2  3x  x2 หารด้วย y2  y  3 ลงตัว 084 - 1284087
  • 7. บ้ านเลขที่ 70 ซอยข้ างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 7 ครู เสวตร ตัวอย่ างที่ 7 จงหาค่า a ที่ทาให้ 2 x3  5x2  ax  4 หารด้วย x2  2 x  3 ตัวอย่ างที่ 8 จงหาค่า k ที่ทาให้ 4 x3  kx2  5x  7 หารด้วย x 1 เหลือเศษ เหลือเศษ 10 084 - 1284087 11x  7