SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
เทคโนโลยี
เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง
     วิทยาการที่เกี่ยวกับการนาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มา
 ใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม
             •   Biotechnology
             •   Food technology
             •   Agricultural technology
             •   Polymer technology
             •   Environmental technology
             •   Information communication technology
เทคโนโลยี

           เทคโนโลยี คือ การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ
 ศาสตร์อื่นๆมาผสมผสาน ประยุกต์เพื่อสนองเป้าหมาย เฉพาะ
 ความต้องการนาทรัพยากรต่างๆมาใช้ในการผลิตและจาหน่าย
 ให้ต่อเนื่องตลอดทั้งกระบวนการเทคโนโลยีจึงมีประโยชน์และ
 เหมาะสมเฉพาะเวลาและสถานที่ หากเทคโนโลยีนั้นสอดคล้อง
 กับสังคมการเมืองวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี
เทคโนโลยีประกอบด้วยปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบ 2 ประการ

1.   ความชานาญด้านความรู้ทางวิชาการ (conceptual skill) มักได้มา
     จากการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง การสารวจข้อมูล การปฏิบัติงาน
     การสังเกตการณ์

2.   ความชานาญทางด้านเทคนิคของการปฏิบัติงาน (craft skill) มัก
     ได้มาจากการฝึกฝน ฝึกงาน การอบรม
ระดับของเทคโนโลยี
แบ่งตามความรู้ที่ใช้ได้เป็น ๓ ระดับ ดังนี้
1. เทคโนโลยีระดับพื้นฐาน (Basic Technology) เป็นเทคโนโลยียุคแรกของ
    บรรพบุรุษที่มีการสร้างเครื่องใช้และอาวุธเพื่อการยังชีพ เป็นสังคม
    เกษตรกรรมพื้นบ้าน ผลิตโดยใช้วัสดุและทรัพยากรในท้องถิ่น และมีการ
    ถนอมอาหาร เทคโนโลยีในระดับนี้ เช่น ขวาน มีด พร้า อวน แห หม้อ เรือ
    พาย
2. เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate Technology) เป็นเทคโนโลยีที่มี
    การใช้เครื่องมือที่ซับซ้อนมากขึ้น ใช้ความรู้และประสบการณ์ในการ
    แก้ปัญหาจากเกษตรพื้นบ้านเป็นเกษตรกรรมเมือง เทคโนโลยีในระดับนี้
    เช่น การใช้เครื่องจักรแทนคน การใช้เครื่องทุ่นแรงต่างๆ การใช้สิ่งอานวย
    ความสะดวกต่างๆ เป็นต้น
3. เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) เป็นเทคโนโลยีที่อาศัยความรู้และ
    ประสบการณ์ขั้นสูง มีการศึกษา วิจัย และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ใช้
    ระบบฐานข้อมูล การติดต่อสื่อสารในยุคไร้พรมแดน เทคโนโลยีในระดับนี้
    เช่น การอุปกรณ์การแพทย์ ทีใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการวินิจฉัยและรักษา
                               ่
    โรค
พัฒนาการของเทคโนโลยี แบ่งออกเป็น 5 ช่วง
     1.   ระยะคิดค้นขึ้นมา (incubation)
     2.   ระยะเริ่มนามาใช้ (introduction)
     3.   ระยะที่มีการเจริญเติบโตสูง (growth)
     4.   ระยะที่โตเต็มที่แล้ว (maturity)
     5.   ระยะที่เริ่มเสื่อมความนิยม (decline)
ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.       สมัยประวัตศาสตร์
                   ิ
     •     มนุษย์สนใจศึกษาและกระทาในสิ่งที่อยากรู้อยากเห็น
     •     ก่อให้เกิดวิทยาการต่างๆ มากมาย และมักเกิดรวมกับศิลปะศาสตร์อื่นๆ
     •     พัฒนาการที่เห็นชัดเจน เช่น การถลุงโลหะ การสร้างเตาความร้อนสูง
     •     สิ่งประดิษฐ์ของจีนที่สาคัญและถ่ายทอดไปสู่ยุโรป เช่น เข็มทิศ แม่เหล็ก
           ดินปืน และเครื่องพิมพ์หนังสือ
     •     อินเดียมีความรุ่งเรืองทางเภสัชวิทยา จิตวิทยา และคณิตศาสตร์
ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2. สมัยปฏิวติอุตสาหกรรม
           ั
   –   มีการเปลี่ยนแปลงความเชื่อถือจากปรัชญาวิทยาศาสตร์โบราณมาสู่
       วิทยาศาสตร์แนวใหม่
   –   ค้นพบ และตั้งทฤษฏีใหม่จานวนมาก
   –   มีการสนับสนุนการสร้างสิ่งประดิษฐ์ มีการใช้เครื่องมือเครื่องจักร
   –   เกิดปัญหาสังคม การอพยพ ชนชั้นกรรมกรถูกกดขี่และทารุณ
   –   เริ่มมีการแสวงหาอาณานิคมเพิ่มขึ้นเพื่อเป็นแหล่งทรัพยากรใหม่
ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. สมัยสงครามโลก
   สงครามมักเป็นทางออกเมื่อเกิดข้อขัดแย้งหรือข้อพิพาทโดยเฉพาะ
    เรื่องของผลประโยชน์
   ยุคแห่งการทุ่มเทการพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์ กลวิธีการทาลายข้าศึก
   วิวัฒนาการของเครื่องบินรบ

   สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดสงครามเคมี
   สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดระเบิดปรมาณู
ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4. สมัยปัจจุบัน
      ยุคของการศึกษาค้นคว้า ความก้าวหน้าของการประยุกต์ใช้
       วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูงสุด
      ยุคของเทคโนโลยีการสื่อสาร (communication technology)
      ยุคของเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology)
      ยุคของนาโนเทคโนโลยี (nanotechnology)
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

1. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์
     1.1 ศึกษาประวัติความเป็นมาของเทคโนโลยี ทั้งอดีต ปัจจุบัน อนาคต
     1.2 เทคโนโลยีช่วยสร้างสรรค์มนุษยชาติ แต่ต้องให้ผู้ผลิตและผู้ใช้ตระหนัก
    ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม
     1.3 การสารวจบทบาทของเทคโนโลยีที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ ทั้งด้าน
    การศึกษา เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง
     1.4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้สนองความต้องการได้อย่างชาญฉลาด
    โดยนาเทคโนโลยีมาสนับสนุนการจัดการ
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

1. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์
    1.5 การนาปัจจัยต่างๆ ทางสังคมมาประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้
    เช่น ค่านิยม โครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม และประเพณี
    1.6 การศึกษา วิจัย วิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีในสังคมเพื่อสร้างความ
    ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนวัฒนธรรมที่
    แตกต่างกัน
    1.7 การศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบทางเทคโนโลยีที่มีต่อสังคมและ
    ประเทศชาติ
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

     2. ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับมนุษยศาสตร์
            2.1 ทักษะการฟังและการพูด พูดและฟังอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อ
        ประโยชน์ต่อการแลกเปลียนความคิดเห็นทางเทคโนโลยีกับบุคคลอื่น
                                 ่
            2.2 ทักษะการเขียน เป็นการนาเสนอข้อมูลหรือการอธิบายแนวคิด
        เกี่ยวกับเทคโนโลยีให้บุคคลอื่นได้รับทราบด้วยการเขียน
         2.3 ทักษะการสรุป
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

     3. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์
            ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ก่อให้เกิดความก้าวหน้าทาง
        เทคโนโลยี เพราะวิทยาศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่ศกษาถึงปรากฏการณ์
                                                      ึ
        ธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่งและสภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วน
        เทคโนโลยี คือ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เป็นทั้งกระบวนการและเครื่องมือ
        ที่เกิดจากการประยุกต์ และผสมผสานความรูทางวิทยาศาสตร์และ
                                                    ้
        ศาสตร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ
  3. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์
        3.1 เทคโนโลยีเกิดจากการใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่
        3.2 การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในเทคโนโลยีนั้นมี
     จุดประสงค์เพื่อแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี

         วิทยาศาสตร์เป็นตัวความรู้ ส่วนเทคโนโลยีเป็นการนาความรู้ไปใช้ให้
    เกิดสิ่งที่เป็นรูปธรรม วัดหรือจับต้องได้ ด้วยการนาทรัพยากรธรรมชาติ
    ต่างๆ มาใช้ในการปฏิบัติจริง
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ




    ความรู้ทาง             ทรัพยากร          เทคโนโลยี
   วิทยาศาสตร์             ธรรมชาติ
ระบบเทคโนโลยี

 เทคโนโลยีประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วน ได้แก่

 1.ตัวป้อน (Input)
 2.กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process)
 3.ผลผลิต (Output) หรือ ผลลัพธ์
 4.ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resource)
 5.ปัจจัยที่เอือหรือขัดขวางต่อเทคโนโลยี (Consideration)
               ้
ตัวป้อน (INPUT)

   ความต้องการของมนุษย์ (Need, Want) หรือ
  ปัญหาที่ต้องการหาคาตอบ เช่น ความต้องการที่
  อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ยารักษาโรค
กระบวนการเทคโนโลยี (TECHNOLOGICAL
PROCESS)

       ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความ
 ต้องการ ซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Change) จาก
 ทรัพยากรมาเป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์
ขั้นตอนของกระบวนการจะประกอบด้วย
          7 ขั้นตอนดังนี้
1.กาหนดปัญหาหรือความต้องการ
2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความ
     ต้องการ
3.เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ
4.ออกแบบและปฏิบติการั
5.ทดสอบ
6.ปรับปรุงแก้ไข
7.ประเมินผล
ผลผลิตหรือผลลัพธ์
(OUTPUT OR OUTCOME)

          สิ่งที่ออกมาจากกระบวนการได้สิ่งของ
  เครื่องใช้หรือวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความ
  ต้องการของมนุษย์
ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (RESOURCE)
  1.คน (Human)
  2.ข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ (Data and Informations)
  3.วัสดุ (Materials)
  4.เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Machine and Tools)
  5.พลังงาน (Energy)
  6.ทุน (Capital) และทรัพย์สิน (Asset)
  7.เวลา (Time)
ปัจจัยที่สนับสนุนหรือขัดขวางต่อเทคโนโลยี
(CONSIDERATION)


        เป็นข้อจากัด ข้อพิจารณาหรือสิ่งที่ต้องคานึงถึงซึ่งจะทา
ให้ระบบทางานได้มากน้อยต่างกันซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับทรัพยากร
ทางเทคโนโลยี นั่นคือ ทรัพยากรจะเป็นทั้งตัวทรัพยากร และ
เป็นปัจจัยที่เอื้อ หรือขัดขวางต่อเทคโนโลยีด้วย เช่น ทุนทรัพย์
น้อย เวลาจากัด ข้อจากัดของความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ของ
แต่ ล ะบุ ค คล จุ ด มุ่ ง หมายจ าเพาะ นอกจากจะเป็ น ข้ อ จ ากั ด
แล้ ว ยั งอาจรวมไปถึ ง ความเคารพนั บ ถื อ ความเชื่ อ ความ
ศรัทธา ศาสนา วัฒนธรรม และบารมี ซึ่งจะมีส่วนช่วยให้ระบบ
ทางานได้มากน้อยต่างกันด้วย
เทคโนโลยีกับมนุษย์
         1.เทคโนโลยีเกิดจากความต้องการตามจุดมุ่งหมายของมนุษย์เพื่อ
 ส่งผลตามที่ตนปรารถนา
        2.เทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากรในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้
 และสารสนเทศ เครื่องมือ อุปกรณ์ พลังงานในการสร้างเทคโนโลยี เป็นต้น
         3.เทคโนโลยีเป็นกิจกรรมของมนุษย์ที่เกิดจากการคิด การแก้ปัญหา
 การทดลอง และ การออกแบบสิ่งประดิษฐ์และวิธีการซึ่งได้มาจากกระบวนการ
 นาความรู้และประสบการณ์ โดยใช้เทคนิควิธีการตลอดจนใช้ทักษะและ
 ทรัพยากรต่าง ๆ
           4.มนุษย์ใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อให้ได้ผลผลิต (Product)
 หรือวิธีการต่าง ๆเป็นกิจกรรมที่มุ่งสนองจุดประสงค์ตามความพึงพอใจของ
 มนุษย์
ปัจจัยที่ทาให้เกิดเทคโนโลยี
           1.ความจาเป็นในการดารงชีวิต มนุษย์จาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ
ปัจจัยหลัก ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค รวมไปถึงปัจจัย
อื่น ๆที่จาเป็นที่เกี่ยวข้องชีวิตประจาวันอีกมากมาย
          2.ความต้องการอยู่รอดให้พ้นจากภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว น้าท่วม ทาให้
มนุษย์ ต้องดิ้นรนป้องกันและหาวิธีการต่างๆ ทาให้เกิดเทคโนโลยีการตรวจจับและ
พยากรณ์แผ่นดินไหว
             3.ความใฝ่รู้ของมนุษย์ทาให้เกิดการคิดค้นเทคโนโลยีประเภทอุปกรณ์และ
เครื่องมือ
        4.ต้องการความบันเทิงและการพักผ่อน ซึ่งเป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่ชอบ
กิจกรรมบันเทิงจึงทาให้เกิดเทคโนโลยีเพื่อสนองตอบความต้องการ
       5.การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม เป็นสิ่งที่ผลักดันให้มีการคิดค้น
เทคโนโลยี
การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี
      การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีทาให้ทราบเกี่ยวกับปัจจัยในด้านต่างๆ ที่
 มีผลต่อการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ทังปัจจัยด้านตัวป้อน ด้าน
                                              ้
 กระบวนการ และผลลัพธ์ ดังนี้
  1.ความต้องการใช้พลังงาน มีความต้องการใช้มากขึ้น
 2.การเกิดโรงงานอุตสาหกรรมขึ้นจานวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาด้านมลพิษ
 ทั้งทางน้า อากาศ ฯลฯ
  3.การคมนาคมและการขนส่ง ก่อให้เกิดปัญหาด้านมลพิษอากาศ ทาง
 เสียง ฯลฯ
  4.คุณธรรมจริยรรม เทคโนโลยีเปรียบเสมือนดาบสองคม ถ้าใช้ถูกทาง
 ก่อเกิดประโยชน์ ถ้าผิดทางก็เป็นภัยอย่างมหันต์ เช่น การเผยแพร่ภาพ
 อนาจารบนอินเตอร์เน็ต
การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี

 4.คุณธรรมจริยธรรม เทคโนโลยีเปรียบเสมือนดาบสองคม ถ้าใช้ถูกทางก็ก่อ
 เกิดประโยชน์ ถ้าใช้ผิดทางก็เป็นภัยอย่างมหันต์ เช่น การเผยแพร่ภาพ
 อนาจารบนอินเตอร์เน็ต การผลิตอาวุธชีวภาพ ฯลฯ
     หากทุกคนดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภายใต้กติกา 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ก็จะเป็นการ
 สร้างทรัพยากรเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ
 3 ห่วง คือ 1.พอประมาณ 2.มีเหตุผล 3.มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
 2 เงื่อนไข คือ 1.เงื่อนไขความรู้ 2.เงื่อนไขคุณธรรม

More Related Content

What's hot

ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโนWichai Likitponrak
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processTeetut Tresirichod
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 

What's hot (20)

ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโน
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in process
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 

Similar to ระบบเทคโนโลยี

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Toeyyysn Sirisir
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1warayut jongdee
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาa35974185
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาTeerasak Nantasan
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 

Similar to ระบบเทคโนโลยี (20)

Kn technology
Kn technologyKn technology
Kn technology
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 

More from สุรินทร์ ดีแก้วเกษ

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 

More from สุรินทร์ ดีแก้วเกษ (20)

คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
 
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
Googlesites v.2
Googlesites v.2Googlesites v.2
Googlesites v.2
 

ระบบเทคโนโลยี

  • 2. เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง วิทยาการที่เกี่ยวกับการนาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มา ใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม • Biotechnology • Food technology • Agricultural technology • Polymer technology • Environmental technology • Information communication technology
  • 3. เทคโนโลยี เทคโนโลยี คือ การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ ศาสตร์อื่นๆมาผสมผสาน ประยุกต์เพื่อสนองเป้าหมาย เฉพาะ ความต้องการนาทรัพยากรต่างๆมาใช้ในการผลิตและจาหน่าย ให้ต่อเนื่องตลอดทั้งกระบวนการเทคโนโลยีจึงมีประโยชน์และ เหมาะสมเฉพาะเวลาและสถานที่ หากเทคโนโลยีนั้นสอดคล้อง กับสังคมการเมืองวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี
  • 4. เทคโนโลยีประกอบด้วยปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบ 2 ประการ 1. ความชานาญด้านความรู้ทางวิชาการ (conceptual skill) มักได้มา จากการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง การสารวจข้อมูล การปฏิบัติงาน การสังเกตการณ์ 2. ความชานาญทางด้านเทคนิคของการปฏิบัติงาน (craft skill) มัก ได้มาจากการฝึกฝน ฝึกงาน การอบรม
  • 5. ระดับของเทคโนโลยี แบ่งตามความรู้ที่ใช้ได้เป็น ๓ ระดับ ดังนี้ 1. เทคโนโลยีระดับพื้นฐาน (Basic Technology) เป็นเทคโนโลยียุคแรกของ บรรพบุรุษที่มีการสร้างเครื่องใช้และอาวุธเพื่อการยังชีพ เป็นสังคม เกษตรกรรมพื้นบ้าน ผลิตโดยใช้วัสดุและทรัพยากรในท้องถิ่น และมีการ ถนอมอาหาร เทคโนโลยีในระดับนี้ เช่น ขวาน มีด พร้า อวน แห หม้อ เรือ พาย
  • 6. 2. เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate Technology) เป็นเทคโนโลยีที่มี การใช้เครื่องมือที่ซับซ้อนมากขึ้น ใช้ความรู้และประสบการณ์ในการ แก้ปัญหาจากเกษตรพื้นบ้านเป็นเกษตรกรรมเมือง เทคโนโลยีในระดับนี้ เช่น การใช้เครื่องจักรแทนคน การใช้เครื่องทุ่นแรงต่างๆ การใช้สิ่งอานวย ความสะดวกต่างๆ เป็นต้น
  • 7. 3. เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) เป็นเทคโนโลยีที่อาศัยความรู้และ ประสบการณ์ขั้นสูง มีการศึกษา วิจัย และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ใช้ ระบบฐานข้อมูล การติดต่อสื่อสารในยุคไร้พรมแดน เทคโนโลยีในระดับนี้ เช่น การอุปกรณ์การแพทย์ ทีใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการวินิจฉัยและรักษา ่ โรค
  • 8. พัฒนาการของเทคโนโลยี แบ่งออกเป็น 5 ช่วง 1. ระยะคิดค้นขึ้นมา (incubation) 2. ระยะเริ่มนามาใช้ (introduction) 3. ระยะที่มีการเจริญเติบโตสูง (growth) 4. ระยะที่โตเต็มที่แล้ว (maturity) 5. ระยะที่เริ่มเสื่อมความนิยม (decline)
  • 9. ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. สมัยประวัตศาสตร์ ิ • มนุษย์สนใจศึกษาและกระทาในสิ่งที่อยากรู้อยากเห็น • ก่อให้เกิดวิทยาการต่างๆ มากมาย และมักเกิดรวมกับศิลปะศาสตร์อื่นๆ • พัฒนาการที่เห็นชัดเจน เช่น การถลุงโลหะ การสร้างเตาความร้อนสูง • สิ่งประดิษฐ์ของจีนที่สาคัญและถ่ายทอดไปสู่ยุโรป เช่น เข็มทิศ แม่เหล็ก ดินปืน และเครื่องพิมพ์หนังสือ • อินเดียมีความรุ่งเรืองทางเภสัชวิทยา จิตวิทยา และคณิตศาสตร์
  • 10. ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. สมัยปฏิวติอุตสาหกรรม ั – มีการเปลี่ยนแปลงความเชื่อถือจากปรัชญาวิทยาศาสตร์โบราณมาสู่ วิทยาศาสตร์แนวใหม่ – ค้นพบ และตั้งทฤษฏีใหม่จานวนมาก – มีการสนับสนุนการสร้างสิ่งประดิษฐ์ มีการใช้เครื่องมือเครื่องจักร – เกิดปัญหาสังคม การอพยพ ชนชั้นกรรมกรถูกกดขี่และทารุณ – เริ่มมีการแสวงหาอาณานิคมเพิ่มขึ้นเพื่อเป็นแหล่งทรัพยากรใหม่
  • 11. ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. สมัยสงครามโลก  สงครามมักเป็นทางออกเมื่อเกิดข้อขัดแย้งหรือข้อพิพาทโดยเฉพาะ เรื่องของผลประโยชน์  ยุคแห่งการทุ่มเทการพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์ กลวิธีการทาลายข้าศึก  วิวัฒนาการของเครื่องบินรบ  สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดสงครามเคมี  สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดระเบิดปรมาณู
  • 12. ความเป็นมาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. สมัยปัจจุบัน  ยุคของการศึกษาค้นคว้า ความก้าวหน้าของการประยุกต์ใช้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูงสุด  ยุคของเทคโนโลยีการสื่อสาร (communication technology)  ยุคของเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology)  ยุคของนาโนเทคโนโลยี (nanotechnology)
  • 13. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์ 1.1 ศึกษาประวัติความเป็นมาของเทคโนโลยี ทั้งอดีต ปัจจุบัน อนาคต 1.2 เทคโนโลยีช่วยสร้างสรรค์มนุษยชาติ แต่ต้องให้ผู้ผลิตและผู้ใช้ตระหนัก ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม 1.3 การสารวจบทบาทของเทคโนโลยีที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ ทั้งด้าน การศึกษา เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง 1.4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้สนองความต้องการได้อย่างชาญฉลาด โดยนาเทคโนโลยีมาสนับสนุนการจัดการ
  • 14. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์ 1.5 การนาปัจจัยต่างๆ ทางสังคมมาประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้ เช่น ค่านิยม โครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม และประเพณี 1.6 การศึกษา วิจัย วิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีในสังคมเพื่อสร้างความ ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนวัฒนธรรมที่ แตกต่างกัน 1.7 การศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบทางเทคโนโลยีที่มีต่อสังคมและ ประเทศชาติ
  • 15. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ 2. ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับมนุษยศาสตร์ 2.1 ทักษะการฟังและการพูด พูดและฟังอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อ ประโยชน์ต่อการแลกเปลียนความคิดเห็นทางเทคโนโลยีกับบุคคลอื่น ่ 2.2 ทักษะการเขียน เป็นการนาเสนอข้อมูลหรือการอธิบายแนวคิด เกี่ยวกับเทคโนโลยีให้บุคคลอื่นได้รับทราบด้วยการเขียน 2.3 ทักษะการสรุป
  • 16. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ก่อให้เกิดความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี เพราะวิทยาศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่ศกษาถึงปรากฏการณ์ ึ ธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่งและสภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วน เทคโนโลยี คือ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เป็นทั้งกระบวนการและเครื่องมือ ที่เกิดจากการประยุกต์ และผสมผสานความรูทางวิทยาศาสตร์และ ้ ศาสตร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์
  • 17. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ 3.1 เทคโนโลยีเกิดจากการใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ 3.2 การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในเทคโนโลยีนั้นมี จุดประสงค์เพื่อแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์เป็นตัวความรู้ ส่วนเทคโนโลยีเป็นการนาความรู้ไปใช้ให้ เกิดสิ่งที่เป็นรูปธรรม วัดหรือจับต้องได้ ด้วยการนาทรัพยากรธรรมชาติ ต่างๆ มาใช้ในการปฏิบัติจริง
  • 18. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ ความรู้ทาง ทรัพยากร เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ
  • 19. ระบบเทคโนโลยี เทคโนโลยีประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วน ได้แก่ 1.ตัวป้อน (Input) 2.กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) 3.ผลผลิต (Output) หรือ ผลลัพธ์ 4.ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resource) 5.ปัจจัยที่เอือหรือขัดขวางต่อเทคโนโลยี (Consideration) ้
  • 20. ตัวป้อน (INPUT) ความต้องการของมนุษย์ (Need, Want) หรือ ปัญหาที่ต้องการหาคาตอบ เช่น ความต้องการที่ อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ยารักษาโรค
  • 21. กระบวนการเทคโนโลยี (TECHNOLOGICAL PROCESS) ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความ ต้องการ ซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Change) จาก ทรัพยากรมาเป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์
  • 22. ขั้นตอนของกระบวนการจะประกอบด้วย 7 ขั้นตอนดังนี้ 1.กาหนดปัญหาหรือความต้องการ 2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความ ต้องการ 3.เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ 4.ออกแบบและปฏิบติการั 5.ทดสอบ 6.ปรับปรุงแก้ไข 7.ประเมินผล
  • 23. ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (OUTPUT OR OUTCOME) สิ่งที่ออกมาจากกระบวนการได้สิ่งของ เครื่องใช้หรือวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความ ต้องการของมนุษย์
  • 24. ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (RESOURCE) 1.คน (Human) 2.ข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ (Data and Informations) 3.วัสดุ (Materials) 4.เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Machine and Tools) 5.พลังงาน (Energy) 6.ทุน (Capital) และทรัพย์สิน (Asset) 7.เวลา (Time)
  • 25. ปัจจัยที่สนับสนุนหรือขัดขวางต่อเทคโนโลยี (CONSIDERATION) เป็นข้อจากัด ข้อพิจารณาหรือสิ่งที่ต้องคานึงถึงซึ่งจะทา ให้ระบบทางานได้มากน้อยต่างกันซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับทรัพยากร ทางเทคโนโลยี นั่นคือ ทรัพยากรจะเป็นทั้งตัวทรัพยากร และ เป็นปัจจัยที่เอื้อ หรือขัดขวางต่อเทคโนโลยีด้วย เช่น ทุนทรัพย์ น้อย เวลาจากัด ข้อจากัดของความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ของ แต่ ล ะบุ ค คล จุ ด มุ่ ง หมายจ าเพาะ นอกจากจะเป็ น ข้ อ จ ากั ด แล้ ว ยั งอาจรวมไปถึ ง ความเคารพนั บ ถื อ ความเชื่ อ ความ ศรัทธา ศาสนา วัฒนธรรม และบารมี ซึ่งจะมีส่วนช่วยให้ระบบ ทางานได้มากน้อยต่างกันด้วย
  • 26. เทคโนโลยีกับมนุษย์ 1.เทคโนโลยีเกิดจากความต้องการตามจุดมุ่งหมายของมนุษย์เพื่อ ส่งผลตามที่ตนปรารถนา 2.เทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากรในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ และสารสนเทศ เครื่องมือ อุปกรณ์ พลังงานในการสร้างเทคโนโลยี เป็นต้น 3.เทคโนโลยีเป็นกิจกรรมของมนุษย์ที่เกิดจากการคิด การแก้ปัญหา การทดลอง และ การออกแบบสิ่งประดิษฐ์และวิธีการซึ่งได้มาจากกระบวนการ นาความรู้และประสบการณ์ โดยใช้เทคนิควิธีการตลอดจนใช้ทักษะและ ทรัพยากรต่าง ๆ 4.มนุษย์ใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อให้ได้ผลผลิต (Product) หรือวิธีการต่าง ๆเป็นกิจกรรมที่มุ่งสนองจุดประสงค์ตามความพึงพอใจของ มนุษย์
  • 27. ปัจจัยที่ทาให้เกิดเทคโนโลยี 1.ความจาเป็นในการดารงชีวิต มนุษย์จาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ปัจจัยหลัก ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค รวมไปถึงปัจจัย อื่น ๆที่จาเป็นที่เกี่ยวข้องชีวิตประจาวันอีกมากมาย 2.ความต้องการอยู่รอดให้พ้นจากภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว น้าท่วม ทาให้ มนุษย์ ต้องดิ้นรนป้องกันและหาวิธีการต่างๆ ทาให้เกิดเทคโนโลยีการตรวจจับและ พยากรณ์แผ่นดินไหว 3.ความใฝ่รู้ของมนุษย์ทาให้เกิดการคิดค้นเทคโนโลยีประเภทอุปกรณ์และ เครื่องมือ 4.ต้องการความบันเทิงและการพักผ่อน ซึ่งเป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่ชอบ กิจกรรมบันเทิงจึงทาให้เกิดเทคโนโลยีเพื่อสนองตอบความต้องการ 5.การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม เป็นสิ่งที่ผลักดันให้มีการคิดค้น เทคโนโลยี
  • 28. การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีทาให้ทราบเกี่ยวกับปัจจัยในด้านต่างๆ ที่ มีผลต่อการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ทังปัจจัยด้านตัวป้อน ด้าน ้ กระบวนการ และผลลัพธ์ ดังนี้ 1.ความต้องการใช้พลังงาน มีความต้องการใช้มากขึ้น 2.การเกิดโรงงานอุตสาหกรรมขึ้นจานวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาด้านมลพิษ ทั้งทางน้า อากาศ ฯลฯ 3.การคมนาคมและการขนส่ง ก่อให้เกิดปัญหาด้านมลพิษอากาศ ทาง เสียง ฯลฯ 4.คุณธรรมจริยรรม เทคโนโลยีเปรียบเสมือนดาบสองคม ถ้าใช้ถูกทาง ก่อเกิดประโยชน์ ถ้าผิดทางก็เป็นภัยอย่างมหันต์ เช่น การเผยแพร่ภาพ อนาจารบนอินเตอร์เน็ต
  • 29. การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี 4.คุณธรรมจริยธรรม เทคโนโลยีเปรียบเสมือนดาบสองคม ถ้าใช้ถูกทางก็ก่อ เกิดประโยชน์ ถ้าใช้ผิดทางก็เป็นภัยอย่างมหันต์ เช่น การเผยแพร่ภาพ อนาจารบนอินเตอร์เน็ต การผลิตอาวุธชีวภาพ ฯลฯ หากทุกคนดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภายใต้กติกา 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ก็จะเป็นการ สร้างทรัพยากรเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ 3 ห่วง คือ 1.พอประมาณ 2.มีเหตุผล 3.มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว 2 เงื่อนไข คือ 1.เงื่อนไขความรู้ 2.เงื่อนไขคุณธรรม