SlideShare a Scribd company logo
1 of 78
Download to read offline
สาระและมาตรฐานการเรียนรู
สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

                   มาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เปนขอกําหนดคุณภาพของ
ผูเรียนดานความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการเรียนรู คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม ซึ่งเปน
จุดมุงหมายที่จะพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ประกอบดวย มาตรฐานการเรียนรู
การศึกษา ขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียนทุกคนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการเรียนรูชวง
ชั้น สําหรับนักเรียนทุกคนเมื่อจบการศึกษาในแตละชวงชั้น

มาตรฐานการเรียนรูการศึกษาขั้นพื้นฐานของกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร มีดังนี้

สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของ
                  ระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู
                  สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
                  วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มี
                  ผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา
                  ศาสตร สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต
                  ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ
                  หาความรูและจิตวิทยาศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับ
                  ทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรง
               ยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร
               สื่อสารสิ่งที่เรียนรู นําความรูไปใชประโยชน
2

มาตรฐาน ว 3.2     เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด
                  สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร
                  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 4 แรงและการเคลือนที่
                       ่
มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร
               มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
               อยางถูกตองและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ
                สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช
                 ประโยชน

สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
                ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและ
                สิ่งแวดลอม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและ
                นําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6.1 เขาใจกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของ
                 
               กระบวนการตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน
               ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู
               และนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธภายในระบบ
               สุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยา
               ศาสตร การสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
มาตรฐาน ว 7.2 เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและ
               ทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหา
               ความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมี
               คุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม
3

สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การ
               แกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน
               สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลา
               นั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของ
               สัมพันธกัน
4

                      มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 4 (ม. 4 – 6)

สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
         สาระที่ 5 พลังงาน
                    มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การ
เปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและ
สิ่งแวดลอม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
5

                             แผนการจัดการเรียนรู (แผนหลัก)
รายวิชาฟสิกส 2                   รหัสวิชา ว30202             กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
โรงเรียนกระแชงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4                 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน                                    เวลา 12.00 ชั่วโมง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน แบงเปนแผนยอย ดังนี้
        แผนยอยที่ 1 เรื่อง แรงและงาน                              เวลา 2 ชั่วโมง
        แผนยอยที่ 2 เรื่อง พลังงานจลน                            เวลา 2 ชั่วโมง
        แผนยอยที่ 3 เรื่อง พลังงานศักย                           เวลา 2 ชั่วโมง
        แผนยอยที่ 4 เรื่อง กฎการอนุรักษพลังงาน                   เวลา 2 ชั่วโมง
        แผนยอยที่ 5 เรื่อง กําลัง                                 เวลา 2 ชั่วโมง
        แผนยอยที่ 6 เรื่อง แหลงพลังงานและการใชพลังงาน           เวลา 2 ชั่วโมง

จุดประสงคการเรียนรู
        1. สืบคนขอมูล สํารวจตรวจสอบและอธิบายเกี่ยวกับแรง งาน พลังงานจลน พลังงานศักย
        2. อธิบายกฎการอนุรักษพลังงานและคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของกับ งาน พลังงาน และ
กําลัง
        3. สืบคนขอมูลและอธิบายแหลงของพลังงานและการใชพลังงานประโยชนของเครื่องกลและ
การนําไปใชในชีวิตประจําวัน
6

                                  แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
รายวิชาฟสิกส 2                    รหัสวิชา ว30202                กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
โรงเรียนกระแชงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4                     ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
สาระที่ 5 : พลังงาน                หนวยการเรียนรูที่ 1                ชื่อหนวยยอย แรงและงาน
เวลา 2.00 ชั่วโม                                                  ผูสอน ครูยุพวรรณ ตรีรัตนวิชชา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ม.4-6 สํารวจตรวจสอบและอธิบายความหมายของงาน พลังงานศักย
โนมถวง พลังงานจลน กฎการอนุรักษพลังงานและการนําไปใชประโยชน

สาระการเรียนรู
        เมื่อมีแรงกระทําตอวัตถุและการกระจัดอยูในแนวเดียวกับแรงจะเกิดงานของแรงนั้น งานของ
แรงที่กระทําตอวัตถุหาไดจากผลคูณของแรงกับการกระจัดในแนวแรง และอาจหาไดจากพื้นที่ใตกราฟ
ระหวางแรงในแนวการเคลื่อนที่กับการกระจัด งานที่ทําไดในหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา กําลัง

จุดประสงคการเรียนรู
         1. บอกความสําคัญของงานและพลังงานที่เกี่ยวของในชีวิตประจําวัน
         2. อธิบายความแตกตางของความหมายของงานตามความเขาใจของบุคคลทั่วไปกับงานใน
วิชาฟสิกส
         3. บอกไดวางานเปนปริมาณสเกลาร มีหนวยนิวตัน เมตร หรือจูล
         4. อธิบายความแตกตางของงานบวกและงานลบ
         5. หางานของแรงที่ใชในการเคลื่อนวัตถุเมื่อแรงอยูแนวเดียวกับแนวการเคลื่อนที่
         6. หางานของแรงที่ใชในการเคลื่อนวัตถุเมื่อแรงทํามุมกับแนวการเคลื่อนที่
         7. หางานจากพื้นที่ใตกราฟระหวางแรงกับการกระจัดในแนวเดียวกัน
         ดานความรู (K)
                 - อธิบายเกี่ยวกับงานทางฟสิกสได
                 - ถายทอดความรูใหแกเพื่อนในชั้นเรียนได
                 - ประยุกตใชความรูเกี่ยวกับงานในชีวิตประจําวันได
7

        ดานทักษะกระบวนการ (P)
                - คํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของกับงานได
                - ทํางานรวมกับเพื่อนในชั้นเรียนได
                - สื่อสารและสื่อความหมายได
                - นําเสนอขอมูลได
        ดานจิตวิทยาศาสตร (A)
                - มีความอยากรูอยากเห็น สนใจใฝรูในสถานการณหรือเหตุการณที่กําหนด
                - มีความมุงมั่น อดทนในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร
                - ใจกวาง ยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น
                - มีความละเอียดรอบคอบในการทําการทดลองทางวิทยาศาสตร
                - มีความซื่อสัตยตอผลการทดลอง
                - มีความสงสัยและกระตือรือรนที่จะหาคําตอบ
                - ยอมรับเมื่อมีประจักษพยานหรือเหตุผลที่เพียงพอ

สมรรถนะที่สําคัญ
      1. มีทักษะในการสื่อสาร
      2. มีทักษะในการคิดวิเคราะหอยางมีวิจารณญาณ
      3. มีทักษะในการแกปญหา
      4. มีทักษะกระบวนการ
      5. มีทักษะในการใชเทคโนโลยีเนื้อหา

กระบวนการจัดการเรียนรู / กิจกรรม 5 Es
1. ขั้นสรางความสนใจ (Engage)
         1. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิกส 2
(ว30202) เรื่อง งานและพลังงาน และทําแบบวัดจิตวิทยาศาสตร
         2. ครูใหนกเรียนยกตัวอยางกิจกรรมที่พบเห็นในชีวิตประจําวันและเปนกิจกรรมที่นักเรียนคิด
                   ั
วาเปนการทํางาน
         3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับกิจกรรมในชีวิตประจําวันที่เรียกวาทํางาน และไม
ทํางาน จนไดขอสรุปความหมายของ งาน ในชีวิตประจําวันกับความหมายทางฟสิกส และแจง
จุดประสงคในการเรียนหัวขอนี้ใหนักเรียนทราบ
8

2. ขั้นสํารวจและคนหา (Explore)
          4. ครูอธิบายความหมายของงานในทางฟสิกส เมื่อทิศทางของแรงและการกระจัดอยูใน
แนวเสนตรงเดียวกัน แลวอธิบายความหมายของงานที่เปนบวกและงานที่เปนลบ โดยยกตัวอยาง งาน
ที่เปนบวกและงานที่เปนลบ
        5. ครูเนนใหนักเรียนทราบวา งานที่เกิดจากแรงที่มีทศตรงขามกับการเคลื่อนที่ของ
                                                           ิ
วัตถุจะเปนลบเสมอ เครื่องหมายบวกและลบของงานไมไดเปนสิ่งแสดงทิศทางของงาน เพราะ
งานเปนปริมาณสเกลาร
          6. ครูถามนักเรียนวาหนวยของงานเปนอะไร โดยถามนักเรียนวาหนวยของแรงเปนอะไร
(นิวตัน) แลวหนวยของการกระจัดเปนอะไร (เมตร) ดังนั้นหนวยของงานเปนอะไร (นิวตัน-เมตร) ครู
อธิบายเพิ่มเติมวาหนวยของงานอีกหนวยหนึ่ง คือ จูล และอธิบายความหมายของงาน 1 จูล และบอก
วางาน เปนปริมาณสเกลาร
          7. ครูนําอภิปรายเรื่องงานของแรงที่กระทํามุมกับแนวการเคลื่อนที่ โดยสาธิตลากถุงทรายโดย
ที่ทิศทางของแรงที่ดึงถุงทรายทํามุมกับทิศทางที่ถุงทรายเคลื่อนที่ แลวถามนักเรียนวาในกรณีนี้มีงาน
เกิดขึ้นไหม แลวเราจะหางานที่เกิดขึ้นไดอยางไร

3. ขั้นอธิบาย (Explain)
        8. ครูอธิบายเรื่องงานของแรงที่กระทํามุมกับแนวการเคลื่อนที่ โดยใชใบความรูที่ 1




และถามนักเรียนวา แรงดึงในแนวระดับและแนวดิ่งมีคาเปนเทาไหร และแรงที่มีทิศเดียวกับการกระจัด
คือแรงใด ( F cosθ เปนองคประกอบของแรง ในแนวราบ และ F sin θ เปนแรงองคประกอบของแรง
 
 F ในแนวดิ่ง แรงที่ทีทิศทางเดียวกับการกระจัดคือ F cos θ ) ดังนั้นงานงานของแรงที่กระทํามุมกับ

แนวการเคลื่อนที่จะเทากับเทาไหร (W = Fscosθ)
         9. ครูถามนักเรียนวาถาแรงทํามุม 90 องศากับแนวการเคลื่อนที่ อยางเชนเราเดินถือกระเปา
จะเกิดงานหรือไม (ไมเกิดงาน)
         10. ครูอธิบายการหางานของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุเดียวกัน การหางานของแรง
ไมคงตัวกระทําใหวัตถุ โดยถามนักเรียนวางานของแรงแตละแรงหาไดอยางไร และการกระจัดของวัตถุ
เปนเทาไหรถาใหวัตถุเคลื่อนที่มาที่จุด A เหมือนเดิม (การกระจัดเปนศูนย) แลวจะมีงานเกิดขึ้นหรือไม
9

           11. ครูอธิบายการหางานของแรงไมคงตัวกระทําใหวัตถุ การหางานดวยวิธีการคํานวณจาก
พื้นที่ใตกราฟทั้งกรณีแรงคงตัว และแรงไมคงตัว
           12. ครูยกตัวอยางการคํานวณหางานจากแบบฝกเสริมประสบการณ 2 ขอ แสดงวิธีทําบน
กระดาน
4. ขั้นขยายความรู (Elaborate)
           13. ครูใหนักเรียนทําโจทยปญหาในใบงานที่ 1 แลวสุมนักเรียนออกมาแสดงวิธีทํา
บนกระดาน
           14. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง แรงและงาน วามีสวนไหนที่ยังไมเขาใจและ
ใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น

5. ขั้นประเมินผล (Evaluate)
         ครูนําอภิปราย สรุปเนื้อหา ดวยคําถามตอไปนี้
         15. งานในความหมายทั่วไปและงานในทางฟสิกสแตกตางกันอยางไร (สําหรับบุคคลทั่วไป
งาน หมายถึง การประกอบอาชีพหรือการกระทําภารกิจตางๆในชีวิตประจําวัน สวนงานในทางฟสิกส
จะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อมีแรงมากระทําตอวัตถุ แลวทําใหวัตถุมีการกระจัด โดยปริมาณงานที่ทําขึ้นกับแรง
และการกระจัด )
         16. ถามีแรงมากระทําใหวัตถุเคลื่อนที่ เราจะหางานไดจากสูตรไหน ( W = Fs )
         17. ถาแรงที่กระทําใหวัตถุไมอยูในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่เราจะหางานไดจากสูตรไหน
         18. งานเปนบวกกับงานเปนลบ มีความหมายวาอยางไร (งานเปนบวก หมายถึง งานของแรง
                                                                                            
 F เมื่อแรง F อยูในทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ สวนงานที่เปนลบ หมายถึง งานของแรง F เมื่อแรง F อยู
ในทิศตรงขามกับการเคลื่อนที่)
                                                                                      n
        19. ถามีแรงหลายแรงมากระทําใหวัตถุเคลื่อนที่ เราจะหางานไดอยางไร = ∑ Fi ∆si )
                                                                           (W
                                                                                     i =1

        20. เราสามารถหางานจากกราฟไดอยางไร (งานเทากับพื้นที่ใตกราฟระหวางแรง(มีทิศ
เดียวกับการเคลื่อนที่) และขนาดของการกระจัด)
        ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเนื้อหาเรื่อง พลังงานจลน ซึ่งจะเรียนในชั่วโมงเรียนตอไป

สื่อและแหลงการเรียนรู
        1. หนังสือเรียนวิชาฟสิกสเพิ่มเติม เลม 2
        2. ใบความรที่ 1 เรื่อง แรงและงาน
                     ู
        3. ใบงานที่ 1 เรื่อง การหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่มีรูปรางไมแนนอน
10

       4. ถุงทราย
       5. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิกส (กอนเรียน)
       6. แบบวัดจิตวิทยาศาสตร

การวัดและประเมินผล

   วิธการวัดและประเมินผล
       ี                                เครื่องมือ                 เกณฑการวัดและประเมินผล
1. สังเกต ความสนใจ ความ      1. แบบบันทึกการสังเกต              1. นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึง
    ตั้งใจเรียน การแสดงความ     พฤติกรรมการเรียนรูของ              ประสงคตามคาดหวังตั้งแต 3
    คิดเห็น การตอบคําถาม การ    นักเรียน                            รายการขึ้นไป ผานเกณฑการ
    มีสวนรวมและพฤติกรรม                                           ประเมิน
    การทํางาน

2. การทําใบงานที่ 1            2. แบบบันทึกการทํากิจกรรม        2. นักเรียนทําแบบฝกหัดในใบงาน
                                  ใบงานที่ 1                       ที่ 1 ถูกตอง 1 ใน 2 ขอ
3. ประเมินการมีคุณธรรมและ      3. แบบประเมินการมีคุณธรรม        3. แสดงพฤติกรรมที่บงบอกถึงการ
   จริยธรรมที่นักเรียน            และจริยธรรม                      มีคุณธรรมและจริยธรรมอยูใน
   แสดงออกในขณะที่มีการ                                            ระดับมาก
   เรียนรู
11


                                         ใบความรูที่ 1
                                     เรื่อง แรงและงาน
                      ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 วิชาฟสิกส 2 (ว30202)

        งาน (work) คือ ผลคูณของแรงกับการขจัดที่อยูในแนวเดียวกันเปนปริมาณสเกลลาร มี
หนวย เปนจูลหรือนิวตัน-เมตร (J , N-m)

       งานที่เกิดกับวัตถุที่ถูกกระทําดวยแรงตางๆ
       กําหนดใหวัตถุมวล m ถูกกระทําดวยแรง F เคลื่อนที่บนพื้นราบเกลี้ยงจาก A ไป B ได
การขจัดเทากับ s




       ถา F และ S อยูในแนวเดียวกัน จะได          W = Fxs




       ถา F และ s อยูคนละแนวจะได W = (Fcosθ)s + (Fsinθ)0

                               W = Fscosθ

       ถา θ = 1800 แสดงวาแรงกับการขจัดมีทิศตรงขามกันสวนใหญไดแกงานเนื่องจากแรง
เสียดทาน
12




                               W = fcos1800
                หรือ           W = -fs
        แสดงวา งานเนื่องจากแรงที่มีทิศตรงขามกับการขจัดจะตองเปนลบเสมอ

          สรุป
          งานเปนปริมาณสเกลาร จึงมีไดทั้งบวกและลบ แยกการพิจารณาไดดังนี้
          1.งานเปนบวก คืองานอันเนื่องจากแรงที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ สวนใหญ ไดแก งานเนื่องจากแรง
ที่เราใหแกวัตถุ
          2.งานเปนลบ คืองานอันเนื่องจากแรงตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ ไดแก งานเนื่องจากแรงเสียด
ทาน

การคํานวณโจทยเกี่ยวกับงาน แยกพิจารณาโจทยเปน 2 ลักษณะ คือ
        1. งานเนื่องจากแรงไมคงที่กระทําตอวัตถุ แยกเปน 2 แบบ
           1.1.ถามีแรงไมคงที่แรงเดียวกระทํากับวัตถุ จะไดงานมีคาเทากับพื้นที่ใตกราฟของแรงกับ
การขจัด

                         W = F x s = พื้นที่ใตกราฟ Fs



          กําหนดให วัตถุมวล m อยูบนพื้นเกลี้ยง ถูกกระทําดวยแรง F ซึ่งไมคงที่ดังกราฟ ให
เคลื่อนที่จาก A ไป B ไดการขจัด d ตองการหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุ
13




                         จากสูตร W = F x s = พ.ท.ใตกราฟ Fs
                                              1                fd
                         จากรูป      W =          xfxd =
                                              2                 2




                         จากสูตร W = F scosθ                = (พ.ท.ใตกราฟ Fs)cosθ
                         จากรูป      W = ( 1 x f x d)cosθ =           fd
                                                                         cosθ
                                              2                        2


          1.2 ถามีแรงคงที่และไมคงที่กระทํากับวัตถุ จะไดงานที่เกิดขึ้นกับวัตถุมีคาเทากับผลคูณของ
แรงลัพธกับการขจัด (W= ∑ Fs )โดยผลคูณของแรงไมคงที่กับการขจัดคือ พ.ท.ใตกราฟ F กับ s
          กําหนดใหมวล m อยูบนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน µ ถูกกระทําดวยแรง F ไม
คงที่เคลื่อนที่จาก A ไป B ไดการขจัด d ตองการหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุ
14




        เพราะวา แรงเสียดทาน f = µmg
        ตรวจสอบวาวัตถุเคลื่อนที่หรือไม
        ถาตอนเริ่มแรกแรง        F1 < µmg              วัตถุจะไมเคลื่อนที่
        และถา                   F1 > µmg              วัตถุจะเคลื่อนที่ทันที
        สมมติวากรณีนี้          F1 > µmg
                ∴ งานที่เกิดกับวัตถุ     W = ∑ Fx s
                                         W = (F-f)s = Fx s - fs
                                         W = (พ.ท.ใตกราฟF,s) - fs
                 จากรูป                    W =      1
                                                       (F1 + F2)d - µmgd
                                                    2
                 ∴                         W =     ( F1 + F2 )d - µmgd
                                                        2


       2. งานที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่มีรูปรางไมแนนอน งานที่ใชในการสูบน้ํา งานที่ใชดึงโซ การหางาน
ในกรณีนี้หาไดจากสมการ W = Fs โดย s เทากับการขจัดซึ่งวัดจากจุด C.G ตนที่วัตถุอยูไปยังจุด
C.G ปลายที่วัตถุอยู โดยวัดตามแนวแรงกระทํา
15

                                          ใบงานที่ 1
                     เรื่อง การหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่มีรูปรางไมแนนอน

1. การหางานสูบน้ํา     กําหนดใหบอลึก h มีน้ําเต็มบอ น้ํามวล m ตองการสูบน้ําใหหมดบอ




………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. การหางานในการดึงโซ
       กําหนดใหโซยาว l มวล m อยูในลักษณะดังรูป a ตองการหางานที่ดึงโซใหอยูดังรูป b




………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
16

                                     เฉลย ใบงานที่ 1
                     เรื่อง การหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่มีรูปรางไมแนนอน

1. การหางานสูบน้ํา     กําหนดใหบอลึก h มีน้ําเต็มบอ น้ํามวล m ตองการสูบน้ําใหหมดบอ




       ให F เปนแรงที่ใชในการสูบน้ําใหหมดบอ
       จากรูป หาขนาดของแรง F ไดจากสมการ ∑ F = 0 จะได F = mg
               ∴ งานในการสูบน้ํา = งานเนื่องจากแรง F (WF)
                                                         h       mgh
               แต               WF        =      F.         =                         ตอบ
                                                         2        2

2. การหางานในการดึงโซ
       กําหนดใหโซยาว l มวล m อยูในลักษณะดังรูป a ตองการหางานที่ดึงโซใหอยูดังรูป b




       เพื่อความสะดวกในการคํานวณใหแยกการพิจารณางานเปน 2 งาน คือ งานที่ใชดึงโซ
สวนบน (W1) และงานที่ใชดึงโซสวนลาง (W2)
                                                                         mg
       ให F1 เปนแรงที่ใชในการดึงโซทอนบน จะได               F1 =
                                                                          2
                                                                           mg
            F2 เปนแรงที่ใชในการดึงโซทอนลาง จะได             F2 =
                                                                            2
       ∴ งานในการดึงโซ          W         = W1 + W2 = F1 . s1 + F2 . s2
             W =       ( mg ).   l
                                      + ( mg ).    l
                                                             =   mgl mgl
                                                                    +       =   3mgl
                          2      4        2        2              8   4          8
                                                  3mgl
               นั่นคือ งานในการดึงโซ =                                                ตอบ
                                                     8
17

                                แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู

       วิชา ฟสิกส 2 (ว30202) หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4
                                                                                        มุงมั่น
                                                     มีจิต     ใฝเรียน
                                       มีวินัย                                        ทํางานได
                                                สาธารณะ ใฝรู
                                   ตั้งใจเรียน                           ซื่อสัตย      สําเร็จ
เลขที่          ชื่อ-นามสกุล                       รวมกัน รวมทํา                               หมายเหตุ
                                    และทํา                                สุจริต      เรียบรอย
                                                  อภิปราย กิจกรรม
                                    กิจกรม                                           ถูกตองและ
                                                   ซักถาม       กลุม
                                                                                      ครบถวน




หมายเหตุ ใหบันทึกโดยใชเครื่องหมาย
        =             แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวัง
              =       ไมแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวัง
เกณฑการประเมิน
       นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวังตั้งแต 3 รายการขึ้นไป ผานเกณฑการประเมิน
18

                              แบบบันทึกการทํากิจกรรมใบงานที่ 1

     วิชา ฟสิกส 2 (ว30202) หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

      เลขที่                  ชื่อ-นามสกุล                   ขอที่ 1 ขอที่ 2 หมายเหตุ




หมายเหตุ ใหบันทึกโดยใชเครื่องหมาย
        =             ทําแบบฝกหัดในใบงานไดถูกตอง
              =       ทําแบบฝกหัดในใบงานไมถูกตอง
เกณฑการประเมิน
       นักเรียนทําแบบฝกหัดในใบงานที่ 1 ถูกตอง 1 ใน 2 ขอ จึงจะผานเกณฑการประเมิน
19

                                              แบบประเมินการมีคุณธรรมและจริยธรรม

วิชา ฟสิกส 2 (ว30202) หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

ชื่อ-สกุล...............................................................................ชัน .................เลขที่ .............................
                                                                                          ้
คําชี้แจง
ทําเครื่องหมาย  ลงในชองตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดยจําแนกระดับ
พฤติกรรมการแสดงออกเปน 5 ระดับ ดังนี้
ระดับพฤติกรรมการแสดงออก
                        5 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกอยางสม่ําเสมอตลอดเวลามากที่สุด
                        4 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงอยางมาก
                        3 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกเปนครั้งคราว
                        2 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกนอยครั้ง
                        1 หมายถึง ผูเรียนไมมีพฤติกรรมการแสดงออกเลย
สถานะของผูประเมิน                                             ครูผูสอน                                       นักเรียน

                                                                                                            พฤติกรรมการแสดงออก
                                              รายการ
                                                                                                           5 4 3 2 1
1. ความสนใจใฝรู
   1.1 มีความใฝใจและพอใจในการสืบเสาะแสวงหาความรู
   1.2 มีความกระตือรือรนตอกิจกรรมและเรื่องอื่นๆ
   1.3 ชอบทดลอง คนควา
   1.4 ชอบสนทนาซักถาม ฟง อาน เพื่อใหไดความรูเพิ่มขึ้น
สรุป ( x )
2. ความมุงมั่น อดทน รอบคอบ
   2.1 ยอมรับผลการกระทําของตนเองทั้งที่เปนผลดีและผลเสีย
   2.2 ทํางานที่ไดรับมอบหมายใหสมบูรณตามกําหนดและตรงเวลา
   2.3 ทํางานเต็มความสามารถ
   2.4 ไมทอถอยในการทํางานเมื่อมีอุปสรรคหรือลมเหลว
   2.5 มีความอดทนแมการดําเนินการแกปญหาจะยุงยากและใชเวลา
สรุป ( x )
20

                                                                                                                    พฤติกรรมการแสดงออก
                                                 รายการ
                                                                                                                   5 4 3 2 1
3. อยูอยางพอเพียง
    3.1 ใชเวลาในการปฏิบัติงานเปนไปตามที่กําหนด (พอประมาณ)
    3.2 ใชวสดุอุปกรณไดอยางเหมาะสม ประหยัด และคุมคา
             ั
(พอประมาณ)
    3.3 อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล (มีเหตุผล)
    3.4 ยอมรับฟงคําวิพากษวิจารณ ขอโตแยงหรือขอคิดเห็นของผูอื่น
(มีเหตุผล)
     3.5 มีการวงแผนการทํางานอยางรอบคอบ (ภูมิคุมกัน)
     3.6 จัดเตรียมใหพรอมและดําเนินการทดลองดวยความ
ระมัดระวัง (ภูมิคุมกัน)
สรุป ( x )



ความคิดเห็นเพิ่มเติม ...............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
                                                                                   (ลงชื่อ)                                                ผูประเมิน
                                                                                            (                                              )
                                                                                              ............./.............../.............
21

                               แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
รายวิชาฟสิกส 2            รหัสวิชา ว30202        กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
โรงเรียนกระแชงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4     ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
สาระที่ 5 : พลังงาน       หนวยการเรียนรูที่ 1         ชื่อหนวยยอย พลังงานจลน
เวลา 2.00 ชั่วโมง                               ผูสอน ครูยุพวรรณ ตรีรัตนวิชชา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ม.4-6 สํารวจตรวจสอบและอธิบายความหมายของงาน พลังงานศักย
โนมถวง พลังงานจลน กฎการอนุรักษพลังงานและการนําไปใชประโยชน

สาระการเรียนรู
      พลังงานเปนความสามารถในการทํางาน พลังงานจลนเปนพลังงานของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่
งานและพลังงานมีความสัมพันธกัน โดยงานของแรงลัพธเทากับพลังงานจลนของวัตถุที่เปลี่ยนไป

จุดประสงคการเรียนรู
       1. อธิบายความหมายของพลังงานจลนได
       2. บอกความสัมพันธของงานกับพลังงานจลนและคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของได
       3. คํานวณหาพลังงานจลนของวัตถุเมื่อทราบมวลและอัตราเร็วของวัตถุ
       ดานความรู (K)
               - อธิบายเกี่ยวกับพลังงานจลนได
               - ถายทอดความรูใหแกเพื่อนในชั้นเรียนได
               - ประยุกตใชความรูเกี่ยวกับพลังงานจลนในชีวิตประจําวันได
       ดานทักษะกระบวนการ (P)
               - หาความสัมพันธของงานกับพลังงานจลนได
               - คํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของกับงานและพลังงานจลนได
               - สื่อสารและสื่อความหมายได
               - นําเสนอขอมูลได
22


        ดานจิตวิทยาศาสตร (A)
                - มีความอยากรูอยากเห็น สนใจใฝรูในสถานการณหรือเหตุการณที่กําหนด
                - มีความมุงมั่น อดทนในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร
                - ใจกวาง ยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น
                - มีความละเอียดรอบคอบในการทําการทดลองทางวิทยาศาสตร
                - มีความซื่อสัตยตอผลการทดลอง
                - มีความสงสัยและกระตือรือรนที่จะหาคําตอบ
                - ยอมรับเมื่อมีประจักษพยานหรือเหตุผลที่เพียงพอ

สมรรถนะที่สําคัญ
      1. มีทักษะในการสื่อสาร
      2. มีทักษะในการคิดวิเคราะหอยางมีวิจารณญาณ
      3. มีทักษะในการแกปญหา
      4. มีทักษะกระบวนการ
      5. มีทักษะในการใชเทคโนโลยีเนื้อหา

กระบวนการจัดการเรียนรู / กิจกรรม 5 Es
1. ขั้นสรางความสนใจ (Engage)
          1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงความหมายของพลังงานจลน โดยใชสถานการณการเตะ
ลูกบอลใหเคลื่อนที่ เมื่อลูกบอลไปชนกับถังที่ตั้งไวอยูนิ่ง ถาลูกบอลมีพลังงานมากพอ จะทําใหถัง
กระเด็นหรือลมได และเรียกพลังงานของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่นี้วา พลังงานจลน
          2. ครูตั้งคําถามนักเรียน ถาลูกบอลอยูนิ่งๆ นักเรียนคิดวาลูกบอลมีพลังงานหรือไม (ไมมี)
          3. ครูอภิปรายรวมกับนักเรียน จะทราบไดอยางไรวาวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่อยูมีพลังงานจลน
มากหรือนอยเพียงใด
          4. ครูอธิบายเพิ่มเติมจากตัวอยางการเตะลูกบอลใหเคลื่อนที่นั้น จะทําใหลูกบอลหยุดการ
เคลื่อนที่ ปริมาณงานที่ทําตอลูกบอลจะมากหรือนอยขึ้นกับพลังงานจลนของวัตถุนั้น
          5. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู เกี่ยวกับงาน พลังงานจลนมีความสัมพันธกันอยางไร

2. ขั้นสํารวจและคนหา (Explore)
          6. ครูอธิบายเรื่องงานกับการเปลี่ยนพลังงานจลนของวัตถุ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว
23

เริ่มตนไมเทากับศูนย จนไดขอสรุปวา งานของแรงลัพธจะเทากับพลังงานจลนของวัตถุที่เปลี่ยนไป
          7. ครูใหนักเรียนอภิปรายวา ถาแรงที่มากระทํามีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ ความเร็ว
ปลายกับความเร็วตน คาไหนมากกวากัน และพลังงานจลนของวัตถุเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร และ
ถาแรงที่มากระทํามีทิศตรงขามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ พลังงานจลนของวัตถุจะเปลี่ยนแปลงหรือไม
อยางไร จนไดขอสรุปวา พลังงานจลนของวัตถุจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงนั้นขึ้นอยูกับทิศของแรงที่มากระทํา
กลาวคือ ถาแรงที่มากระทํามีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ จะทําใหพลังงานจลนของวัตถุเพิ่มขึ้น
แตถาแรงที่มากระทํามีทิศตรงขามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ จะทําใหพลังงานจลนของวัตถุลดลง

3. ขั้นอธิบาย (Explain)
         8. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับงานที่เปนบวกและเปนลบ เมื่อใหงานที่เปนบวกแกวัตถุจะทําให
พลังงานจลนของวัตถุเพิ่มขึ้น นั่นคือ เปนบวก และเมื่อใหงานที่เปนลบแกวัตถุ จะทําใหพลังงานจลน
ของวัตถุลดลง นั่นคือ ของวัตถุเปนลบ
         9. ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวา งานของแรงตานการเคลื่อนที่อาจอยูในรูปพลังงานอื่นๆก็ได เชน
พลังงานความรอน

4. ขั้นขยายความรู (Elaborate)
         10. ครูแบงกลุมนักเรียนออกเปน 3 กลุม แลวใหจับฉลากแบบฝกหัดกลุมละ 1 ขอ (ปญหา
ขอ 11 – 13) คําถามทายบทในหนังสือเรียนฟสิกส เลม 2 แตละกลุมชวยกันทํา แลวสงตัวแทนออกมา
แสดงวิธีทําบนกระดานและอธิบายใหเพื่อนๆฟง
         11. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง พลังงานจลน วามีสวนไหนที่ยังไมเขาใจ
และใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น

5. ขั้นประเมินผล (Evaluate)
   ครูนําอภิปราย สรุปเนื้อหา ดวยคําถามตอไปนี้
         12. พลังงานจลนของวัตถุ คืออะไร หาไดอยางไร (พลังงานจลน (Kinetic Energy) คือ
                                                                                  1 2
พลังงานที่สะสมในวัตถุที่มีความเร็ว เขียนแทนดวยสัญลักษณ “Ek” ซึ่งมีคาเทากับ      mv )
                                                                                  2
        13. งานสัมพันธกับพลังงานจลนอยางไร
(พลังงานจลนที่เปลี่ยนแปลง = งานของแรงลัพธ W =Ek =kv − Eku )
                                                     ∆    E
        14. เราจะหางานของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุไดอยางไร (งานเนื่องจากแรงภายนอกที่
กระทําตอวัตถุใหเคลื่อนที่ในแนวระดับ มีคาเทากับผลบวกของพลังงานจลนที่เปลี่ยนไปของวัตถุกับแรง
ของงานที่ตานการเคลื่อนที่ Fs Ek + fs )
                             =
24

           ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเนื้อหา เรื่อง พลังงานศักย ซึ่งจะเรียนในชั่วโมงตอไปมา
ลวงหนา


สื่อและแหลงการเรียนรู
        1. หนังสือเรียนวิชาฟสิกสเพิ่มเติม เลม 2
        2. ใบความรูที่ 2 เรื่อง พลังงานจลน

การวัดและประเมินผล

   วิธการวัดและประเมินผล
       ี                                เครื่องมือ                       เกณฑการวัดและประเมินผล
1. สังเกต ความสนใจ ความ      1. แบบบันทึกการสังเกต                    1. นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึง
    ตั้งใจเรียน การแสดงความ     พฤติกรรมการเรียนรูของ                    ประสงคตามคาดหวังตั้งแต 3
    คิดเห็น การตอบคําถาม การ    นักเรียน                                  รายการขึ้นไป ผานเกณฑการ
    มีสวนรวมและพฤติกรรม                                                 ประเมิน
    การทํางาน
2. ประเมินการมีคุณธรรมและ 2. แบบประเมินการมีคุณธรรม                   2. แสดงพฤติกรรมที่บงบอกถึงการ
    จริยธรรมที่นักเรียน         และจริยธรรม                              มีคุณธรรมและจริยธรรมอยูใน
    แสดงออกในขณะที่มีการ                                                 ระดับมาก
    เรียนรู
25

                                        ใบความรูที่ 2
                                    เรื่อง พลังงานจลน
                      ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 วิชาฟสิกส 2 (ว30202)

        พลังงาน คือ สิ่งที่ไมมีตัวตน แตมีความสามารถทํางานได
        พลังงานจลน (kinetic energy; Ek) คือพลังงานที่สะสมอยูในวัตถุอันเนื่องจากอัตราเร็ว
ของวัตถุ มีขนาดเทากับงานตานการเคลื่อนที่ของวัตถุจนหยุดนิ่ง
        กําหนดใหวัตถุมวล m เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว v ดังรูป ตองการหาขนาดของพลังงานจลน
(Ek)
        หาความเรงจาก               v2 = u2 + 2as
        แทนคา                      0 = v2 + 2as
                                          v2
                              a =     −
                                          2s
       เปนลบ แสดงวาความเรงมีทิศตรงขามกับ u
       หาขนาดของแรงตาน ∑ F = ma
                                                            2             mv 2
       แทนคา                  f          = ma      = mv           =
                                                           2s              2s
                                                            2
       หางานจากแรงตาน          Wf        = -fs     = - mv s       = - 1 mv 2
                                                           2s             2
                                                                          1
       ดังนั้นขนาดของพลังงานจลนเทากับ        E    = | Wf |       =        mv 2
                                                                          2
                                                        1
       นั่นคือ                                 Ek   =     mv 2            ……..(1)
                                                        2
26

                                แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู

       วิชา ฟสิกส 2 (ว30202) หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4
                                                                                        มุงมั่น
                                                     มีจิต     ใฝเรียน
                                       มีวินัย                                        ทํางานได
                                                สาธารณะ ใฝรู
                                   ตั้งใจเรียน                           ซื่อสัตย      สําเร็จ
เลขที่          ชื่อ-นามสกุล                       รวมกัน รวมทํา                               หมายเหตุ
                                    และทํา                                สุจริต      เรียบรอย
                                                  อภิปราย กิจกรรม
                                    กิจกรม                                           ถูกตองและ
                                                   ซักถาม       กลุม
                                                                                      ครบถวน




หมายเหตุ ใหบันทึกโดยใชเครื่องหมาย
        =             แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวัง
              =       ไมแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวัง
เกณฑการประเมิน
       นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวังตั้งแต 3 รายการขึ้นไป ผานเกณฑการประเมิน
27

                                              แบบประเมินการมีคุณธรรมและจริยธรรม

วิชา ฟสิกส 2 (ว30202) หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

ชื่อ-สกุล...............................................................................ชัน .................เลขที่ .............................
                                                                                          ้
คําชี้แจง
ทําเครื่องหมาย  ลงในชองตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดยจําแนกระดับ
พฤติกรรมการแสดงออกเปน 5 ระดับ ดังนี้
ระดับพฤติกรรมการแสดงออก
                        5 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกอยางสม่ําเสมอตลอดเวลามากที่สุด
                        4 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงอยางมาก
                        3 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกเปนครั้งคราว
                        2 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกนอยครั้ง
                        1 หมายถึง ผูเรียนไมมีพฤติกรรมการแสดงออกเลย
สถานะของผูประเมิน                                             ครูผูสอน                                       นักเรียน

                                                                                                            พฤติกรรมการแสดงออก
                                              รายการ
                                                                                                           5 4 3 2 1
1. ความสนใจใฝรู
   1.1 มีความใฝใจและพอใจในการสืบเสาะแสวงหาความรู
   1.2 มีความกระตือรือรนตอกิจกรรมและเรื่องอื่นๆ
   1.3 ชอบทดลอง คนควา
   1.4 ชอบสนทนาซักถาม ฟง อาน เพื่อใหไดความรูเพิ่มขึ้น
สรุป ( x )
2. ความมุงมั่น อดทน รอบคอบ
   2.1 ยอมรับผลการกระทําของตนเองทั้งที่เปนผลดีและผลเสีย
   2.2 ทํางานที่ไดรับมอบหมายใหสมบูรณตามกําหนดและตรงเวลา
   2.3 ทํางานเต็มความสามารถ
   2.4 ไมทอถอยในการทํางานเมื่อมีอุปสรรคหรือลมเหลว
   2.5 มีความอดทนแมการดําเนินการแกปญหาจะยุงยากและใชเวลา
สรุป ( x )
28

                                                                                                                    พฤติกรรมการแสดงออก
                                                 รายการ
                                                                                                                   5 4 3 2 1
3. อยูอยางพอเพียง
    3.1 ใชเวลาในการปฏิบัติงานเปนไปตามที่กําหนด (พอประมาณ)
    3.2 ใชวสดุอุปกรณไดอยางเหมาะสม ประหยัด และคุมคา
             ั
(พอประมาณ)
    3.3 อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล (มีเหตุผล)
    3.4 ยอมรับฟงคําวิพากษวิจารณ ขอโตแยงหรือขอคิดเห็นของผูอื่น
(มีเหตุผล)
     3.5 มีการวงแผนการทํางานอยางรอบคอบ (ภูมิคุมกัน)
     3.6 จัดเตรียมใหพรอมและดําเนินการทดลองดวยความ
ระมัดระวัง (ภูมิคุมกัน)
สรุป ( x )



ความคิดเห็นเพิ่มเติม ...............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
                                                                                   (ลงชื่อ)                                                ผูประเมิน
                                                                                            (                                              )
                                                                                              ............./.............../.............
29

                                   แผนการจัดการเรียนรูที่ 3
รายวิชาฟสิกส 2                    รหัสวิชา ว30202                 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
โรงเรียนกระแชงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4                      ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
สาระที่ 5 : พลังงาน                             หนวยการเรียนรู ที่ 1 ชื่อหนวยยอย พลังงานศักย
เวลา 2.00 ชั่วโมง                                                ผูสอน ครูยุพวรรณ ตรีรัตนวิชชา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ม.4-6 สํารวจตรวจสอบและอธิบายความหมายของงาน พลังงานศักย
โนมถวง พลังงานจลน กฎการอนุรักษพลังงานและการนําไปใชประโยชน

สาระการเรียนรู
         พลังงานเปนความสามารถในการทํางาน พลังงานศักยเปนพลังงานของวัตถุที่เกี่ยวของกับ
ตําแหนงหรือรูปรางอันเปนผลมาจากแรงที่กระทําตอวัตถุนั้น เชน พลังงานศักยโนมถวง พลังงานศักย
ยืดหยุน

จุดประสงคการเรียนรู
       1. อธิบายความหมายของพลังงานศักย พลังงานศักยโนมถวง พลังงานศักยยืดหยุนได
       2. ทดลองหาความสัมพันธของงานกับพลังงานศักยโนมถวงของวัตถุ
       3. อธิบายความสัมพันธของงานกับพลังงานศักยโนมถวงของวัตถุ
       4. ทดลองหาความสัมพันธระหวางขนาดของแรงที่ใชดึงสปริงกับระยะทางที่สปริงยืดออก
       5. อธิบายความสัมพันธระหวางขนาดของแรงที่ใชดึงสปริงกับระยะทางที่สปริงยืดออก
       6. หาพลังงานศักยโนมถวงของวัตถุและพลังงานศักยยืดหยุนในสปริง
       ดานความรู (K)
               - อธิบายเกี่ยวกับพลังงานศักยได
               - ถายทอดความรูใหแกสมาชิกในกลุมได
               - ประยุกตใชความรูเกี่ยวกับพลังงานศักยในชีวิตประจําวันได
       ดานทักษะกระบวนการ (P)
               - หาความสัมพันธของงานกับพลังงานศักยได
30

                - คํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของกับงานและพลังงานศักยได
                - ออกแบบและทดลองตามที่กําหนดใหได
                - สรุปผลและอธิบายผลการทดลองได
                - สื่อสารและสื่อความหมายได
                - นําเสนอขอมูลได
        ดานจิตวิทยาศาสตร (A)
                - มีความอยากรูอยากเห็น สนใจใฝรูในสถานการณหรือเหตุการณที่กําหนด
                - มีความมุงมั่น อดทนในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร
                - ใจกวาง ยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น
                - มีความละเอียดรอบคอบในการทําการทดลองทางวิทยาศาสตร
                - มีความซื่อสัตยตอผลการทดลอง
                - มีความสงสัยและกระตือรือรนที่จะหาคําตอบ
                - ยอมรับเมื่อมีประจักษพยานหรือเหตุผลที่เพียงพอ

สมรรถนะที่สําคัญ
      1. มีทักษะในการสื่อสาร
      2. มีทักษะในการคิดวิเคราะหอยางมีวิจารณญาณ
      3. มีทักษะในการแกปญหา
      4. มีทักษะกระบวนการ
      5. มีทักษะในการใชเทคโนโลยีเนื้อหา

กระบวนการจัดการเรียนรู / กิจกรรม 5 Es
1. ขั้นสรางความสนใจ (Engage)
         1. ครูนําเขาสูเรื่องพลังงานศักยโดยอภิปรายรวมกับนักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมประจําวันที่มี
การทํางาน เชน การตอกเสาเข็ม การดึงหรือการอัดสปริง
         2. ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวา ถาเรากดสปริงใหหดสั้นหรือดึงสปริงใหยืดออก เมื่อปลอยมือสปริง
จะเคลื่อนที่ วัตถุที่ติดกับสปริงก็จะเคลื่อนที่ไปดวย แสดงวามีพลังงานจากสปริงถายโอนเปนพลังงาน
จลนของวัตถุ
         3. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนพิจารณาและหาคําตอบวา การยกหนังสือขึ้นตรงๆในแนวดิ่ง
                   - มีแรงกระทําตอหนังสือหรือไม
                   - เกิดงานหรือไม และงานนี้เปนงานเนื่องจากแรงใด
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)

More Related Content

What's hot

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานTanachai Junsuk
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...ssuser920267
 

What's hot (20)

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปกkrupornpana55
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.krupornpana55
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202) (20)

6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha

สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองMiss.Yupawan Triratwitcha
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
Book pp56legal
Book pp56legalBook pp56legal
Book pp56legal
 
Interractive simulation
Interractive simulationInterractive simulation
Interractive simulation
 
Teacher
TeacherTeacher
Teacher
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
 
Phy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyuPhy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyu
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)

  • 1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร มาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เปนขอกําหนดคุณภาพของ ผูเรียนดานความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการเรียนรู คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม ซึ่งเปน จุดมุงหมายที่จะพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ประกอบดวย มาตรฐานการเรียนรู การศึกษา ขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียนทุกคนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการเรียนรูชวง ชั้น สําหรับนักเรียนทุกคนเมื่อจบการศึกษาในแตละชวงชั้น มาตรฐานการเรียนรูการศึกษาขั้นพื้นฐานของกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร มีดังนี้ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของ ระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มี ผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรง ยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู นําความรูไปใชประโยชน
  • 2. 2 มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน สาระที่ 4 แรงและการเคลือนที่ ่ มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน อยางถูกตองและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช ประโยชน สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและ สิ่งแวดลอม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและ นําความรูไปใชประโยชน สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว 6.1 เขาใจกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของ  กระบวนการตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ มาตรฐาน ว 7.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธภายในระบบ สุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยา ศาสตร การสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 7.2 เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมี คุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม
  • 3. 3 สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การ แกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลา นั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของ สัมพันธกัน
  • 4. 4 มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 4 (ม. 4 – 6) สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การ เปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและ สิ่งแวดลอม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
  • 5. 5 แผนการจัดการเรียนรู (แผนหลัก) รายวิชาฟสิกส 2 รหัสวิชา ว30202 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนกระแชงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน เวลา 12.00 ชั่วโมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน แบงเปนแผนยอย ดังนี้ แผนยอยที่ 1 เรื่อง แรงและงาน เวลา 2 ชั่วโมง แผนยอยที่ 2 เรื่อง พลังงานจลน เวลา 2 ชั่วโมง แผนยอยที่ 3 เรื่อง พลังงานศักย เวลา 2 ชั่วโมง แผนยอยที่ 4 เรื่อง กฎการอนุรักษพลังงาน เวลา 2 ชั่วโมง แผนยอยที่ 5 เรื่อง กําลัง เวลา 2 ชั่วโมง แผนยอยที่ 6 เรื่อง แหลงพลังงานและการใชพลังงาน เวลา 2 ชั่วโมง จุดประสงคการเรียนรู 1. สืบคนขอมูล สํารวจตรวจสอบและอธิบายเกี่ยวกับแรง งาน พลังงานจลน พลังงานศักย 2. อธิบายกฎการอนุรักษพลังงานและคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของกับ งาน พลังงาน และ กําลัง 3. สืบคนขอมูลและอธิบายแหลงของพลังงานและการใชพลังงานประโยชนของเครื่องกลและ การนําไปใชในชีวิตประจําวัน
  • 6. 6 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 รายวิชาฟสิกส 2 รหัสวิชา ว30202 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนกระแชงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 สาระที่ 5 : พลังงาน หนวยการเรียนรูที่ 1 ชื่อหนวยยอย แรงและงาน เวลา 2.00 ชั่วโม ผูสอน ครูยุพวรรณ ตรีรัตนวิชชา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ม.4-6 สํารวจตรวจสอบและอธิบายความหมายของงาน พลังงานศักย โนมถวง พลังงานจลน กฎการอนุรักษพลังงานและการนําไปใชประโยชน สาระการเรียนรู เมื่อมีแรงกระทําตอวัตถุและการกระจัดอยูในแนวเดียวกับแรงจะเกิดงานของแรงนั้น งานของ แรงที่กระทําตอวัตถุหาไดจากผลคูณของแรงกับการกระจัดในแนวแรง และอาจหาไดจากพื้นที่ใตกราฟ ระหวางแรงในแนวการเคลื่อนที่กับการกระจัด งานที่ทําไดในหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา กําลัง จุดประสงคการเรียนรู 1. บอกความสําคัญของงานและพลังงานที่เกี่ยวของในชีวิตประจําวัน 2. อธิบายความแตกตางของความหมายของงานตามความเขาใจของบุคคลทั่วไปกับงานใน วิชาฟสิกส 3. บอกไดวางานเปนปริมาณสเกลาร มีหนวยนิวตัน เมตร หรือจูล 4. อธิบายความแตกตางของงานบวกและงานลบ 5. หางานของแรงที่ใชในการเคลื่อนวัตถุเมื่อแรงอยูแนวเดียวกับแนวการเคลื่อนที่ 6. หางานของแรงที่ใชในการเคลื่อนวัตถุเมื่อแรงทํามุมกับแนวการเคลื่อนที่ 7. หางานจากพื้นที่ใตกราฟระหวางแรงกับการกระจัดในแนวเดียวกัน ดานความรู (K) - อธิบายเกี่ยวกับงานทางฟสิกสได - ถายทอดความรูใหแกเพื่อนในชั้นเรียนได - ประยุกตใชความรูเกี่ยวกับงานในชีวิตประจําวันได
  • 7. 7 ดานทักษะกระบวนการ (P) - คํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของกับงานได - ทํางานรวมกับเพื่อนในชั้นเรียนได - สื่อสารและสื่อความหมายได - นําเสนอขอมูลได ดานจิตวิทยาศาสตร (A) - มีความอยากรูอยากเห็น สนใจใฝรูในสถานการณหรือเหตุการณที่กําหนด - มีความมุงมั่น อดทนในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร - ใจกวาง ยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น - มีความละเอียดรอบคอบในการทําการทดลองทางวิทยาศาสตร - มีความซื่อสัตยตอผลการทดลอง - มีความสงสัยและกระตือรือรนที่จะหาคําตอบ - ยอมรับเมื่อมีประจักษพยานหรือเหตุผลที่เพียงพอ สมรรถนะที่สําคัญ 1. มีทักษะในการสื่อสาร 2. มีทักษะในการคิดวิเคราะหอยางมีวิจารณญาณ 3. มีทักษะในการแกปญหา 4. มีทักษะกระบวนการ 5. มีทักษะในการใชเทคโนโลยีเนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู / กิจกรรม 5 Es 1. ขั้นสรางความสนใจ (Engage) 1. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่อง งานและพลังงาน และทําแบบวัดจิตวิทยาศาสตร 2. ครูใหนกเรียนยกตัวอยางกิจกรรมที่พบเห็นในชีวิตประจําวันและเปนกิจกรรมที่นักเรียนคิด ั วาเปนการทํางาน 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับกิจกรรมในชีวิตประจําวันที่เรียกวาทํางาน และไม ทํางาน จนไดขอสรุปความหมายของ งาน ในชีวิตประจําวันกับความหมายทางฟสิกส และแจง จุดประสงคในการเรียนหัวขอนี้ใหนักเรียนทราบ
  • 8. 8 2. ขั้นสํารวจและคนหา (Explore) 4. ครูอธิบายความหมายของงานในทางฟสิกส เมื่อทิศทางของแรงและการกระจัดอยูใน แนวเสนตรงเดียวกัน แลวอธิบายความหมายของงานที่เปนบวกและงานที่เปนลบ โดยยกตัวอยาง งาน ที่เปนบวกและงานที่เปนลบ 5. ครูเนนใหนักเรียนทราบวา งานที่เกิดจากแรงที่มีทศตรงขามกับการเคลื่อนที่ของ ิ วัตถุจะเปนลบเสมอ เครื่องหมายบวกและลบของงานไมไดเปนสิ่งแสดงทิศทางของงาน เพราะ งานเปนปริมาณสเกลาร 6. ครูถามนักเรียนวาหนวยของงานเปนอะไร โดยถามนักเรียนวาหนวยของแรงเปนอะไร (นิวตัน) แลวหนวยของการกระจัดเปนอะไร (เมตร) ดังนั้นหนวยของงานเปนอะไร (นิวตัน-เมตร) ครู อธิบายเพิ่มเติมวาหนวยของงานอีกหนวยหนึ่ง คือ จูล และอธิบายความหมายของงาน 1 จูล และบอก วางาน เปนปริมาณสเกลาร 7. ครูนําอภิปรายเรื่องงานของแรงที่กระทํามุมกับแนวการเคลื่อนที่ โดยสาธิตลากถุงทรายโดย ที่ทิศทางของแรงที่ดึงถุงทรายทํามุมกับทิศทางที่ถุงทรายเคลื่อนที่ แลวถามนักเรียนวาในกรณีนี้มีงาน เกิดขึ้นไหม แลวเราจะหางานที่เกิดขึ้นไดอยางไร 3. ขั้นอธิบาย (Explain) 8. ครูอธิบายเรื่องงานของแรงที่กระทํามุมกับแนวการเคลื่อนที่ โดยใชใบความรูที่ 1 และถามนักเรียนวา แรงดึงในแนวระดับและแนวดิ่งมีคาเปนเทาไหร และแรงที่มีทิศเดียวกับการกระจัด คือแรงใด ( F cosθ เปนองคประกอบของแรง ในแนวราบ และ F sin θ เปนแรงองคประกอบของแรง  F ในแนวดิ่ง แรงที่ทีทิศทางเดียวกับการกระจัดคือ F cos θ ) ดังนั้นงานงานของแรงที่กระทํามุมกับ แนวการเคลื่อนที่จะเทากับเทาไหร (W = Fscosθ) 9. ครูถามนักเรียนวาถาแรงทํามุม 90 องศากับแนวการเคลื่อนที่ อยางเชนเราเดินถือกระเปา จะเกิดงานหรือไม (ไมเกิดงาน) 10. ครูอธิบายการหางานของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุเดียวกัน การหางานของแรง ไมคงตัวกระทําใหวัตถุ โดยถามนักเรียนวางานของแรงแตละแรงหาไดอยางไร และการกระจัดของวัตถุ เปนเทาไหรถาใหวัตถุเคลื่อนที่มาที่จุด A เหมือนเดิม (การกระจัดเปนศูนย) แลวจะมีงานเกิดขึ้นหรือไม
  • 9. 9 11. ครูอธิบายการหางานของแรงไมคงตัวกระทําใหวัตถุ การหางานดวยวิธีการคํานวณจาก พื้นที่ใตกราฟทั้งกรณีแรงคงตัว และแรงไมคงตัว 12. ครูยกตัวอยางการคํานวณหางานจากแบบฝกเสริมประสบการณ 2 ขอ แสดงวิธีทําบน กระดาน 4. ขั้นขยายความรู (Elaborate) 13. ครูใหนักเรียนทําโจทยปญหาในใบงานที่ 1 แลวสุมนักเรียนออกมาแสดงวิธีทํา บนกระดาน 14. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง แรงและงาน วามีสวนไหนที่ยังไมเขาใจและ ใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น 5. ขั้นประเมินผล (Evaluate) ครูนําอภิปราย สรุปเนื้อหา ดวยคําถามตอไปนี้ 15. งานในความหมายทั่วไปและงานในทางฟสิกสแตกตางกันอยางไร (สําหรับบุคคลทั่วไป งาน หมายถึง การประกอบอาชีพหรือการกระทําภารกิจตางๆในชีวิตประจําวัน สวนงานในทางฟสิกส จะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อมีแรงมากระทําตอวัตถุ แลวทําใหวัตถุมีการกระจัด โดยปริมาณงานที่ทําขึ้นกับแรง และการกระจัด ) 16. ถามีแรงมากระทําใหวัตถุเคลื่อนที่ เราจะหางานไดจากสูตรไหน ( W = Fs ) 17. ถาแรงที่กระทําใหวัตถุไมอยูในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่เราจะหางานไดจากสูตรไหน 18. งานเปนบวกกับงานเปนลบ มีความหมายวาอยางไร (งานเปนบวก หมายถึง งานของแรง     F เมื่อแรง F อยูในทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ สวนงานที่เปนลบ หมายถึง งานของแรง F เมื่อแรง F อยู ในทิศตรงขามกับการเคลื่อนที่) n 19. ถามีแรงหลายแรงมากระทําใหวัตถุเคลื่อนที่ เราจะหางานไดอยางไร = ∑ Fi ∆si ) (W i =1 20. เราสามารถหางานจากกราฟไดอยางไร (งานเทากับพื้นที่ใตกราฟระหวางแรง(มีทิศ เดียวกับการเคลื่อนที่) และขนาดของการกระจัด) ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเนื้อหาเรื่อง พลังงานจลน ซึ่งจะเรียนในชั่วโมงเรียนตอไป สื่อและแหลงการเรียนรู 1. หนังสือเรียนวิชาฟสิกสเพิ่มเติม เลม 2 2. ใบความรที่ 1 เรื่อง แรงและงาน ู 3. ใบงานที่ 1 เรื่อง การหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่มีรูปรางไมแนนอน
  • 10. 10 4. ถุงทราย 5. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิกส (กอนเรียน) 6. แบบวัดจิตวิทยาศาสตร การวัดและประเมินผล วิธการวัดและประเมินผล ี เครื่องมือ เกณฑการวัดและประเมินผล 1. สังเกต ความสนใจ ความ 1. แบบบันทึกการสังเกต 1. นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึง ตั้งใจเรียน การแสดงความ พฤติกรรมการเรียนรูของ ประสงคตามคาดหวังตั้งแต 3 คิดเห็น การตอบคําถาม การ นักเรียน รายการขึ้นไป ผานเกณฑการ มีสวนรวมและพฤติกรรม ประเมิน การทํางาน 2. การทําใบงานที่ 1 2. แบบบันทึกการทํากิจกรรม 2. นักเรียนทําแบบฝกหัดในใบงาน ใบงานที่ 1 ที่ 1 ถูกตอง 1 ใน 2 ขอ 3. ประเมินการมีคุณธรรมและ 3. แบบประเมินการมีคุณธรรม 3. แสดงพฤติกรรมที่บงบอกถึงการ จริยธรรมที่นักเรียน และจริยธรรม มีคุณธรรมและจริยธรรมอยูใน แสดงออกในขณะที่มีการ ระดับมาก เรียนรู
  • 11. 11 ใบความรูที่ 1 เรื่อง แรงและงาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 วิชาฟสิกส 2 (ว30202) งาน (work) คือ ผลคูณของแรงกับการขจัดที่อยูในแนวเดียวกันเปนปริมาณสเกลลาร มี หนวย เปนจูลหรือนิวตัน-เมตร (J , N-m) งานที่เกิดกับวัตถุที่ถูกกระทําดวยแรงตางๆ กําหนดใหวัตถุมวล m ถูกกระทําดวยแรง F เคลื่อนที่บนพื้นราบเกลี้ยงจาก A ไป B ได การขจัดเทากับ s ถา F และ S อยูในแนวเดียวกัน จะได W = Fxs ถา F และ s อยูคนละแนวจะได W = (Fcosθ)s + (Fsinθ)0 W = Fscosθ ถา θ = 1800 แสดงวาแรงกับการขจัดมีทิศตรงขามกันสวนใหญไดแกงานเนื่องจากแรง เสียดทาน
  • 12. 12 W = fcos1800 หรือ W = -fs แสดงวา งานเนื่องจากแรงที่มีทิศตรงขามกับการขจัดจะตองเปนลบเสมอ สรุป งานเปนปริมาณสเกลาร จึงมีไดทั้งบวกและลบ แยกการพิจารณาไดดังนี้ 1.งานเปนบวก คืองานอันเนื่องจากแรงที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ สวนใหญ ไดแก งานเนื่องจากแรง ที่เราใหแกวัตถุ 2.งานเปนลบ คืองานอันเนื่องจากแรงตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ ไดแก งานเนื่องจากแรงเสียด ทาน การคํานวณโจทยเกี่ยวกับงาน แยกพิจารณาโจทยเปน 2 ลักษณะ คือ 1. งานเนื่องจากแรงไมคงที่กระทําตอวัตถุ แยกเปน 2 แบบ 1.1.ถามีแรงไมคงที่แรงเดียวกระทํากับวัตถุ จะไดงานมีคาเทากับพื้นที่ใตกราฟของแรงกับ การขจัด W = F x s = พื้นที่ใตกราฟ Fs กําหนดให วัตถุมวล m อยูบนพื้นเกลี้ยง ถูกกระทําดวยแรง F ซึ่งไมคงที่ดังกราฟ ให เคลื่อนที่จาก A ไป B ไดการขจัด d ตองการหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุ
  • 13. 13 จากสูตร W = F x s = พ.ท.ใตกราฟ Fs 1 fd จากรูป W = xfxd = 2 2 จากสูตร W = F scosθ = (พ.ท.ใตกราฟ Fs)cosθ จากรูป W = ( 1 x f x d)cosθ = fd cosθ 2 2 1.2 ถามีแรงคงที่และไมคงที่กระทํากับวัตถุ จะไดงานที่เกิดขึ้นกับวัตถุมีคาเทากับผลคูณของ แรงลัพธกับการขจัด (W= ∑ Fs )โดยผลคูณของแรงไมคงที่กับการขจัดคือ พ.ท.ใตกราฟ F กับ s กําหนดใหมวล m อยูบนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน µ ถูกกระทําดวยแรง F ไม คงที่เคลื่อนที่จาก A ไป B ไดการขจัด d ตองการหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุ
  • 14. 14 เพราะวา แรงเสียดทาน f = µmg ตรวจสอบวาวัตถุเคลื่อนที่หรือไม ถาตอนเริ่มแรกแรง F1 < µmg วัตถุจะไมเคลื่อนที่ และถา F1 > µmg วัตถุจะเคลื่อนที่ทันที สมมติวากรณีนี้ F1 > µmg ∴ งานที่เกิดกับวัตถุ W = ∑ Fx s W = (F-f)s = Fx s - fs W = (พ.ท.ใตกราฟF,s) - fs จากรูป W = 1 (F1 + F2)d - µmgd 2 ∴ W = ( F1 + F2 )d - µmgd 2 2. งานที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่มีรูปรางไมแนนอน งานที่ใชในการสูบน้ํา งานที่ใชดึงโซ การหางาน ในกรณีนี้หาไดจากสมการ W = Fs โดย s เทากับการขจัดซึ่งวัดจากจุด C.G ตนที่วัตถุอยูไปยังจุด C.G ปลายที่วัตถุอยู โดยวัดตามแนวแรงกระทํา
  • 15. 15 ใบงานที่ 1 เรื่อง การหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่มีรูปรางไมแนนอน 1. การหางานสูบน้ํา กําหนดใหบอลึก h มีน้ําเต็มบอ น้ํามวล m ตองการสูบน้ําใหหมดบอ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การหางานในการดึงโซ กําหนดใหโซยาว l มวล m อยูในลักษณะดังรูป a ตองการหางานที่ดึงโซใหอยูดังรูป b ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 16. 16 เฉลย ใบงานที่ 1 เรื่อง การหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่มีรูปรางไมแนนอน 1. การหางานสูบน้ํา กําหนดใหบอลึก h มีน้ําเต็มบอ น้ํามวล m ตองการสูบน้ําใหหมดบอ ให F เปนแรงที่ใชในการสูบน้ําใหหมดบอ จากรูป หาขนาดของแรง F ไดจากสมการ ∑ F = 0 จะได F = mg ∴ งานในการสูบน้ํา = งานเนื่องจากแรง F (WF) h mgh แต WF = F. = ตอบ 2 2 2. การหางานในการดึงโซ กําหนดใหโซยาว l มวล m อยูในลักษณะดังรูป a ตองการหางานที่ดึงโซใหอยูดังรูป b เพื่อความสะดวกในการคํานวณใหแยกการพิจารณางานเปน 2 งาน คือ งานที่ใชดึงโซ สวนบน (W1) และงานที่ใชดึงโซสวนลาง (W2) mg ให F1 เปนแรงที่ใชในการดึงโซทอนบน จะได F1 = 2 mg F2 เปนแรงที่ใชในการดึงโซทอนลาง จะได F2 = 2 ∴ งานในการดึงโซ W = W1 + W2 = F1 . s1 + F2 . s2 W = ( mg ). l + ( mg ). l = mgl mgl + = 3mgl 2 4 2 2 8 4 8 3mgl นั่นคือ งานในการดึงโซ = ตอบ 8
  • 17. 17 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู วิชา ฟสิกส 2 (ว30202) หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 มุงมั่น มีจิต ใฝเรียน มีวินัย ทํางานได สาธารณะ ใฝรู ตั้งใจเรียน ซื่อสัตย สําเร็จ เลขที่ ชื่อ-นามสกุล รวมกัน รวมทํา หมายเหตุ และทํา สุจริต เรียบรอย อภิปราย กิจกรรม กิจกรม ถูกตองและ ซักถาม กลุม ครบถวน หมายเหตุ ใหบันทึกโดยใชเครื่องหมาย  = แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวัง  = ไมแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวัง เกณฑการประเมิน นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวังตั้งแต 3 รายการขึ้นไป ผานเกณฑการประเมิน
  • 18. 18 แบบบันทึกการทํากิจกรรมใบงานที่ 1 วิชา ฟสิกส 2 (ว30202) หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 เลขที่ ชื่อ-นามสกุล ขอที่ 1 ขอที่ 2 หมายเหตุ หมายเหตุ ใหบันทึกโดยใชเครื่องหมาย  = ทําแบบฝกหัดในใบงานไดถูกตอง  = ทําแบบฝกหัดในใบงานไมถูกตอง เกณฑการประเมิน นักเรียนทําแบบฝกหัดในใบงานที่ 1 ถูกตอง 1 ใน 2 ขอ จึงจะผานเกณฑการประเมิน
  • 19. 19 แบบประเมินการมีคุณธรรมและจริยธรรม วิชา ฟสิกส 2 (ว30202) หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 ชื่อ-สกุล...............................................................................ชัน .................เลขที่ ............................. ้ คําชี้แจง ทําเครื่องหมาย  ลงในชองตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดยจําแนกระดับ พฤติกรรมการแสดงออกเปน 5 ระดับ ดังนี้ ระดับพฤติกรรมการแสดงออก 5 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกอยางสม่ําเสมอตลอดเวลามากที่สุด 4 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงอยางมาก 3 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกเปนครั้งคราว 2 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกนอยครั้ง 1 หมายถึง ผูเรียนไมมีพฤติกรรมการแสดงออกเลย สถานะของผูประเมิน ครูผูสอน นักเรียน พฤติกรรมการแสดงออก รายการ 5 4 3 2 1 1. ความสนใจใฝรู 1.1 มีความใฝใจและพอใจในการสืบเสาะแสวงหาความรู 1.2 มีความกระตือรือรนตอกิจกรรมและเรื่องอื่นๆ 1.3 ชอบทดลอง คนควา 1.4 ชอบสนทนาซักถาม ฟง อาน เพื่อใหไดความรูเพิ่มขึ้น สรุป ( x ) 2. ความมุงมั่น อดทน รอบคอบ 2.1 ยอมรับผลการกระทําของตนเองทั้งที่เปนผลดีและผลเสีย 2.2 ทํางานที่ไดรับมอบหมายใหสมบูรณตามกําหนดและตรงเวลา 2.3 ทํางานเต็มความสามารถ 2.4 ไมทอถอยในการทํางานเมื่อมีอุปสรรคหรือลมเหลว 2.5 มีความอดทนแมการดําเนินการแกปญหาจะยุงยากและใชเวลา สรุป ( x )
  • 20. 20 พฤติกรรมการแสดงออก รายการ 5 4 3 2 1 3. อยูอยางพอเพียง 3.1 ใชเวลาในการปฏิบัติงานเปนไปตามที่กําหนด (พอประมาณ) 3.2 ใชวสดุอุปกรณไดอยางเหมาะสม ประหยัด และคุมคา ั (พอประมาณ) 3.3 อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล (มีเหตุผล) 3.4 ยอมรับฟงคําวิพากษวิจารณ ขอโตแยงหรือขอคิดเห็นของผูอื่น (มีเหตุผล) 3.5 มีการวงแผนการทํางานอยางรอบคอบ (ภูมิคุมกัน) 3.6 จัดเตรียมใหพรอมและดําเนินการทดลองดวยความ ระมัดระวัง (ภูมิคุมกัน) สรุป ( x ) ความคิดเห็นเพิ่มเติม ............................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ) ผูประเมิน ( ) ............./.............../.............
  • 21. 21 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 รายวิชาฟสิกส 2 รหัสวิชา ว30202 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนกระแชงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 สาระที่ 5 : พลังงาน หนวยการเรียนรูที่ 1 ชื่อหนวยยอย พลังงานจลน เวลา 2.00 ชั่วโมง ผูสอน ครูยุพวรรณ ตรีรัตนวิชชา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ม.4-6 สํารวจตรวจสอบและอธิบายความหมายของงาน พลังงานศักย โนมถวง พลังงานจลน กฎการอนุรักษพลังงานและการนําไปใชประโยชน สาระการเรียนรู พลังงานเปนความสามารถในการทํางาน พลังงานจลนเปนพลังงานของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่ งานและพลังงานมีความสัมพันธกัน โดยงานของแรงลัพธเทากับพลังงานจลนของวัตถุที่เปลี่ยนไป จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายของพลังงานจลนได 2. บอกความสัมพันธของงานกับพลังงานจลนและคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของได 3. คํานวณหาพลังงานจลนของวัตถุเมื่อทราบมวลและอัตราเร็วของวัตถุ ดานความรู (K) - อธิบายเกี่ยวกับพลังงานจลนได - ถายทอดความรูใหแกเพื่อนในชั้นเรียนได - ประยุกตใชความรูเกี่ยวกับพลังงานจลนในชีวิตประจําวันได ดานทักษะกระบวนการ (P) - หาความสัมพันธของงานกับพลังงานจลนได - คํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของกับงานและพลังงานจลนได - สื่อสารและสื่อความหมายได - นําเสนอขอมูลได
  • 22. 22 ดานจิตวิทยาศาสตร (A) - มีความอยากรูอยากเห็น สนใจใฝรูในสถานการณหรือเหตุการณที่กําหนด - มีความมุงมั่น อดทนในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร - ใจกวาง ยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น - มีความละเอียดรอบคอบในการทําการทดลองทางวิทยาศาสตร - มีความซื่อสัตยตอผลการทดลอง - มีความสงสัยและกระตือรือรนที่จะหาคําตอบ - ยอมรับเมื่อมีประจักษพยานหรือเหตุผลที่เพียงพอ สมรรถนะที่สําคัญ 1. มีทักษะในการสื่อสาร 2. มีทักษะในการคิดวิเคราะหอยางมีวิจารณญาณ 3. มีทักษะในการแกปญหา 4. มีทักษะกระบวนการ 5. มีทักษะในการใชเทคโนโลยีเนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู / กิจกรรม 5 Es 1. ขั้นสรางความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงความหมายของพลังงานจลน โดยใชสถานการณการเตะ ลูกบอลใหเคลื่อนที่ เมื่อลูกบอลไปชนกับถังที่ตั้งไวอยูนิ่ง ถาลูกบอลมีพลังงานมากพอ จะทําใหถัง กระเด็นหรือลมได และเรียกพลังงานของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่นี้วา พลังงานจลน 2. ครูตั้งคําถามนักเรียน ถาลูกบอลอยูนิ่งๆ นักเรียนคิดวาลูกบอลมีพลังงานหรือไม (ไมมี) 3. ครูอภิปรายรวมกับนักเรียน จะทราบไดอยางไรวาวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่อยูมีพลังงานจลน มากหรือนอยเพียงใด 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมจากตัวอยางการเตะลูกบอลใหเคลื่อนที่นั้น จะทําใหลูกบอลหยุดการ เคลื่อนที่ ปริมาณงานที่ทําตอลูกบอลจะมากหรือนอยขึ้นกับพลังงานจลนของวัตถุนั้น 5. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู เกี่ยวกับงาน พลังงานจลนมีความสัมพันธกันอยางไร 2. ขั้นสํารวจและคนหา (Explore) 6. ครูอธิบายเรื่องงานกับการเปลี่ยนพลังงานจลนของวัตถุ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว
  • 23. 23 เริ่มตนไมเทากับศูนย จนไดขอสรุปวา งานของแรงลัพธจะเทากับพลังงานจลนของวัตถุที่เปลี่ยนไป 7. ครูใหนักเรียนอภิปรายวา ถาแรงที่มากระทํามีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ ความเร็ว ปลายกับความเร็วตน คาไหนมากกวากัน และพลังงานจลนของวัตถุเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร และ ถาแรงที่มากระทํามีทิศตรงขามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ พลังงานจลนของวัตถุจะเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร จนไดขอสรุปวา พลังงานจลนของวัตถุจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงนั้นขึ้นอยูกับทิศของแรงที่มากระทํา กลาวคือ ถาแรงที่มากระทํามีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ จะทําใหพลังงานจลนของวัตถุเพิ่มขึ้น แตถาแรงที่มากระทํามีทิศตรงขามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ จะทําใหพลังงานจลนของวัตถุลดลง 3. ขั้นอธิบาย (Explain) 8. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับงานที่เปนบวกและเปนลบ เมื่อใหงานที่เปนบวกแกวัตถุจะทําให พลังงานจลนของวัตถุเพิ่มขึ้น นั่นคือ เปนบวก และเมื่อใหงานที่เปนลบแกวัตถุ จะทําใหพลังงานจลน ของวัตถุลดลง นั่นคือ ของวัตถุเปนลบ 9. ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวา งานของแรงตานการเคลื่อนที่อาจอยูในรูปพลังงานอื่นๆก็ได เชน พลังงานความรอน 4. ขั้นขยายความรู (Elaborate) 10. ครูแบงกลุมนักเรียนออกเปน 3 กลุม แลวใหจับฉลากแบบฝกหัดกลุมละ 1 ขอ (ปญหา ขอ 11 – 13) คําถามทายบทในหนังสือเรียนฟสิกส เลม 2 แตละกลุมชวยกันทํา แลวสงตัวแทนออกมา แสดงวิธีทําบนกระดานและอธิบายใหเพื่อนๆฟง 11. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง พลังงานจลน วามีสวนไหนที่ยังไมเขาใจ และใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น 5. ขั้นประเมินผล (Evaluate) ครูนําอภิปราย สรุปเนื้อหา ดวยคําถามตอไปนี้ 12. พลังงานจลนของวัตถุ คืออะไร หาไดอยางไร (พลังงานจลน (Kinetic Energy) คือ 1 2 พลังงานที่สะสมในวัตถุที่มีความเร็ว เขียนแทนดวยสัญลักษณ “Ek” ซึ่งมีคาเทากับ mv ) 2 13. งานสัมพันธกับพลังงานจลนอยางไร (พลังงานจลนที่เปลี่ยนแปลง = งานของแรงลัพธ W =Ek =kv − Eku ) ∆ E 14. เราจะหางานของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุไดอยางไร (งานเนื่องจากแรงภายนอกที่ กระทําตอวัตถุใหเคลื่อนที่ในแนวระดับ มีคาเทากับผลบวกของพลังงานจลนที่เปลี่ยนไปของวัตถุกับแรง ของงานที่ตานการเคลื่อนที่ Fs Ek + fs ) =
  • 24. 24 ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเนื้อหา เรื่อง พลังงานศักย ซึ่งจะเรียนในชั่วโมงตอไปมา ลวงหนา สื่อและแหลงการเรียนรู 1. หนังสือเรียนวิชาฟสิกสเพิ่มเติม เลม 2 2. ใบความรูที่ 2 เรื่อง พลังงานจลน การวัดและประเมินผล วิธการวัดและประเมินผล ี เครื่องมือ เกณฑการวัดและประเมินผล 1. สังเกต ความสนใจ ความ 1. แบบบันทึกการสังเกต 1. นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึง ตั้งใจเรียน การแสดงความ พฤติกรรมการเรียนรูของ ประสงคตามคาดหวังตั้งแต 3 คิดเห็น การตอบคําถาม การ นักเรียน รายการขึ้นไป ผานเกณฑการ มีสวนรวมและพฤติกรรม ประเมิน การทํางาน 2. ประเมินการมีคุณธรรมและ 2. แบบประเมินการมีคุณธรรม 2. แสดงพฤติกรรมที่บงบอกถึงการ จริยธรรมที่นักเรียน และจริยธรรม มีคุณธรรมและจริยธรรมอยูใน แสดงออกในขณะที่มีการ ระดับมาก เรียนรู
  • 25. 25 ใบความรูที่ 2 เรื่อง พลังงานจลน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 วิชาฟสิกส 2 (ว30202) พลังงาน คือ สิ่งที่ไมมีตัวตน แตมีความสามารถทํางานได พลังงานจลน (kinetic energy; Ek) คือพลังงานที่สะสมอยูในวัตถุอันเนื่องจากอัตราเร็ว ของวัตถุ มีขนาดเทากับงานตานการเคลื่อนที่ของวัตถุจนหยุดนิ่ง กําหนดใหวัตถุมวล m เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว v ดังรูป ตองการหาขนาดของพลังงานจลน (Ek) หาความเรงจาก v2 = u2 + 2as แทนคา 0 = v2 + 2as v2 a = − 2s เปนลบ แสดงวาความเรงมีทิศตรงขามกับ u หาขนาดของแรงตาน ∑ F = ma 2 mv 2 แทนคา f = ma = mv = 2s 2s 2 หางานจากแรงตาน Wf = -fs = - mv s = - 1 mv 2 2s 2 1 ดังนั้นขนาดของพลังงานจลนเทากับ E = | Wf | = mv 2 2 1 นั่นคือ Ek = mv 2 ……..(1) 2
  • 26. 26 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู วิชา ฟสิกส 2 (ว30202) หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 มุงมั่น มีจิต ใฝเรียน มีวินัย ทํางานได สาธารณะ ใฝรู ตั้งใจเรียน ซื่อสัตย สําเร็จ เลขที่ ชื่อ-นามสกุล รวมกัน รวมทํา หมายเหตุ และทํา สุจริต เรียบรอย อภิปราย กิจกรรม กิจกรม ถูกตองและ ซักถาม กลุม ครบถวน หมายเหตุ ใหบันทึกโดยใชเครื่องหมาย  = แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวัง  = ไมแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวัง เกณฑการประเมิน นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงคตามคาดหวังตั้งแต 3 รายการขึ้นไป ผานเกณฑการประเมิน
  • 27. 27 แบบประเมินการมีคุณธรรมและจริยธรรม วิชา ฟสิกส 2 (ว30202) หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง งานและพลังงาน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 ชื่อ-สกุล...............................................................................ชัน .................เลขที่ ............................. ้ คําชี้แจง ทําเครื่องหมาย  ลงในชองตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดยจําแนกระดับ พฤติกรรมการแสดงออกเปน 5 ระดับ ดังนี้ ระดับพฤติกรรมการแสดงออก 5 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกอยางสม่ําเสมอตลอดเวลามากที่สุด 4 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงอยางมาก 3 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกเปนครั้งคราว 2 หมายถึง ผูเรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกนอยครั้ง 1 หมายถึง ผูเรียนไมมีพฤติกรรมการแสดงออกเลย สถานะของผูประเมิน ครูผูสอน นักเรียน พฤติกรรมการแสดงออก รายการ 5 4 3 2 1 1. ความสนใจใฝรู 1.1 มีความใฝใจและพอใจในการสืบเสาะแสวงหาความรู 1.2 มีความกระตือรือรนตอกิจกรรมและเรื่องอื่นๆ 1.3 ชอบทดลอง คนควา 1.4 ชอบสนทนาซักถาม ฟง อาน เพื่อใหไดความรูเพิ่มขึ้น สรุป ( x ) 2. ความมุงมั่น อดทน รอบคอบ 2.1 ยอมรับผลการกระทําของตนเองทั้งที่เปนผลดีและผลเสีย 2.2 ทํางานที่ไดรับมอบหมายใหสมบูรณตามกําหนดและตรงเวลา 2.3 ทํางานเต็มความสามารถ 2.4 ไมทอถอยในการทํางานเมื่อมีอุปสรรคหรือลมเหลว 2.5 มีความอดทนแมการดําเนินการแกปญหาจะยุงยากและใชเวลา สรุป ( x )
  • 28. 28 พฤติกรรมการแสดงออก รายการ 5 4 3 2 1 3. อยูอยางพอเพียง 3.1 ใชเวลาในการปฏิบัติงานเปนไปตามที่กําหนด (พอประมาณ) 3.2 ใชวสดุอุปกรณไดอยางเหมาะสม ประหยัด และคุมคา ั (พอประมาณ) 3.3 อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล (มีเหตุผล) 3.4 ยอมรับฟงคําวิพากษวิจารณ ขอโตแยงหรือขอคิดเห็นของผูอื่น (มีเหตุผล) 3.5 มีการวงแผนการทํางานอยางรอบคอบ (ภูมิคุมกัน) 3.6 จัดเตรียมใหพรอมและดําเนินการทดลองดวยความ ระมัดระวัง (ภูมิคุมกัน) สรุป ( x ) ความคิดเห็นเพิ่มเติม ............................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ) ผูประเมิน ( ) ............./.............../.............
  • 29. 29 แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 รายวิชาฟสิกส 2 รหัสวิชา ว30202 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนกระแชงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 สาระที่ 5 : พลังงาน หนวยการเรียนรู ที่ 1 ชื่อหนวยยอย พลังงานศักย เวลา 2.00 ชั่วโมง ผูสอน ครูยุพวรรณ ตรีรัตนวิชชา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ม.4-6 สํารวจตรวจสอบและอธิบายความหมายของงาน พลังงานศักย โนมถวง พลังงานจลน กฎการอนุรักษพลังงานและการนําไปใชประโยชน สาระการเรียนรู พลังงานเปนความสามารถในการทํางาน พลังงานศักยเปนพลังงานของวัตถุที่เกี่ยวของกับ ตําแหนงหรือรูปรางอันเปนผลมาจากแรงที่กระทําตอวัตถุนั้น เชน พลังงานศักยโนมถวง พลังงานศักย ยืดหยุน จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายของพลังงานศักย พลังงานศักยโนมถวง พลังงานศักยยืดหยุนได 2. ทดลองหาความสัมพันธของงานกับพลังงานศักยโนมถวงของวัตถุ 3. อธิบายความสัมพันธของงานกับพลังงานศักยโนมถวงของวัตถุ 4. ทดลองหาความสัมพันธระหวางขนาดของแรงที่ใชดึงสปริงกับระยะทางที่สปริงยืดออก 5. อธิบายความสัมพันธระหวางขนาดของแรงที่ใชดึงสปริงกับระยะทางที่สปริงยืดออก 6. หาพลังงานศักยโนมถวงของวัตถุและพลังงานศักยยืดหยุนในสปริง ดานความรู (K) - อธิบายเกี่ยวกับพลังงานศักยได - ถายทอดความรูใหแกสมาชิกในกลุมได - ประยุกตใชความรูเกี่ยวกับพลังงานศักยในชีวิตประจําวันได ดานทักษะกระบวนการ (P) - หาความสัมพันธของงานกับพลังงานศักยได
  • 30. 30 - คํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของกับงานและพลังงานศักยได - ออกแบบและทดลองตามที่กําหนดใหได - สรุปผลและอธิบายผลการทดลองได - สื่อสารและสื่อความหมายได - นําเสนอขอมูลได ดานจิตวิทยาศาสตร (A) - มีความอยากรูอยากเห็น สนใจใฝรูในสถานการณหรือเหตุการณที่กําหนด - มีความมุงมั่น อดทนในการแกปญหาทางวิทยาศาสตร - ใจกวาง ยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น - มีความละเอียดรอบคอบในการทําการทดลองทางวิทยาศาสตร - มีความซื่อสัตยตอผลการทดลอง - มีความสงสัยและกระตือรือรนที่จะหาคําตอบ - ยอมรับเมื่อมีประจักษพยานหรือเหตุผลที่เพียงพอ สมรรถนะที่สําคัญ 1. มีทักษะในการสื่อสาร 2. มีทักษะในการคิดวิเคราะหอยางมีวิจารณญาณ 3. มีทักษะในการแกปญหา 4. มีทักษะกระบวนการ 5. มีทักษะในการใชเทคโนโลยีเนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู / กิจกรรม 5 Es 1. ขั้นสรางความสนใจ (Engage) 1. ครูนําเขาสูเรื่องพลังงานศักยโดยอภิปรายรวมกับนักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมประจําวันที่มี การทํางาน เชน การตอกเสาเข็ม การดึงหรือการอัดสปริง 2. ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวา ถาเรากดสปริงใหหดสั้นหรือดึงสปริงใหยืดออก เมื่อปลอยมือสปริง จะเคลื่อนที่ วัตถุที่ติดกับสปริงก็จะเคลื่อนที่ไปดวย แสดงวามีพลังงานจากสปริงถายโอนเปนพลังงาน จลนของวัตถุ 3. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนพิจารณาและหาคําตอบวา การยกหนังสือขึ้นตรงๆในแนวดิ่ง - มีแรงกระทําตอหนังสือหรือไม - เกิดงานหรือไม และงานนี้เปนงานเนื่องจากแรงใด