SlideShare a Scribd company logo
1 of 156
บทที่ 1
ธรรมชาติของภาษา Nature of language
ความหมายของภาษา
ความหมายกว้าง หมายถึง การแสดงออกเพื่อสื่อความ
หมาย เช่น ท่าทาง การใบ้ ภาษาสัตว์เครื่องหมาย สัญญาณ
General meaning means the expression for
meaning communication
such as postures, hints, animal language, symbols
and signals.
ความหมายแคบ หมายถึง การใช้ภาษาของมนุษย์เพื่อ
สื่อสาร คำาที่คิดขึ้นไม่จำาเป็นต้อง
ตรงกันกับภาษาอื่น เสียงจึงไม่สัมพันธ์กับความหมาย เช่น
ภาษาไทยเรียก หมา ภาษาอังกฤษเรียก dog เว้นแต่การ
เลียนเสียงธรรมชาติเช่น เสียงของตก เสียงรถชน เสียงระเบิด
เป็นต้น
Specific meaning means human language usage
for communication, the
words defined need not relate to the meaning ,for
example, in Thai called หมา in English called dog
except for the imitation of natural sound such as falling
things, car crash, boom.
ลักษณะสำาคัญของภาษาไทย
โดยธรรมชาติของภาษาทุกภาษาย่อมมีความคล้ายคลึง
กัน กล่าวเฉพาะภาษาไทยนั้นมีลักษณะสำาคัญที่ควรทำาความ
เข้าใจดังนี้
1. ภาษาไทยเป็นภาษาคำาโดด (Isolating language) มี
ความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง โดยไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง
ภายในคำา สามารถนำามาใช้ได้ทันที
Thai language is an isolating language having a
complete meaning in itself and using without changes
within words so Thai words can be used at once.
2. การบอกพจน์ในภาษาไทย เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ภายในคำาภาษาไทยจึงอาศัยคำาอื่นมาประกอบเพื่อบอก
จำานวน เช่น คำาวิเศษณ์ คำาสมุหนาม การซำ้าคำา หรือคำากริยา
บางคำาก็สามารถบอกจำานวนได้
The number expression of Thai language when
there are not changes within word, Thai language
uses other words to consist for showing the number of
nouns for example adverb, quantity words, repeated
word or some verbs can tell the number.
3. การบอกกาลในภาษาไทย ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ภายในคำาเช่นกัน จึงอาศัยคำาอื่นเพื่อแสดงอดีต หรืออนาคต
เช่น แล้ว จะ เป็นต้น
The tense of Thai language has no change within
word in the same way of number it has another word
for showing the tense.
4. การบอกผู้กระทำาในภาษาไทย ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ภายในคำา แต่อาศัยการวางตำาแหน่งในประโยค และการเพิ่ม
คำาว่า “ถูก” เพื่อแสดงการถูกกระทำา
The voice in Thai language has no changes
within a word but when the user wants to show active
voice we put it in a position of Subject and add a word
“ถูก” for showing a passive voice.
5. คำาในภาษาไทยมีทั้งคำาที่คิดขึ้นเอง และคำาที่ยืมมา
จากภาษาอื่น ดังนั้น หลักการสังเกตคำาไทยแท้ คือ มีพยางค์
เดียว และมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง
Words in Thai language have both original and
loan words so the noticeable tip of real Thai words are
having only one syllable, complete meaning.
6. ภาษาไทยมีวรรณยุกต์ และเมื่อเปลี่ยนวรรณยุกต์
ทำาให้ความหมายเปลี่ยน
2
Thai language has a tone so when the tone
changed, the meaning changed, too.
7. มีการสร้างคำาเพิ่มด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การซำ้า การ
ซ้อน การประสม การยืม การบัญญัติศัพท์ การทับศัพท์ และ
การแผลงคำา เพื่อให้ได้ความหมายเพิ่มขึ้น
The words are built more and more for various
meaning in language with the following techniques:
repeating, doubling, compounding, loaning, providing,
transforming, and changing.
8. การเรียงประโยคของภาษาไทยเริ่มจากประธาน
กริยา กรรม หากมีการสลับที่อาจทำาให้ความหมายเปลี่ยนไป
ได้
The arrangement of Thai language is Subject –
Verb – Object. The alternation of position makes
change in meaning.
9. คำาขยายในภาษาไทยจะอยู่หลังที่ถูกคำาขยายเสมอ
The adjective of Thai language comes after the
words are magnified.
10. ภาษาไทยมีลักษณนามที่ใช้บอกลักษณะของคำานาม
แตกต่างกันไปตามแต่ละประเภท
Thai language has classifiers for telling the
character of noun that are different from each type.
11. ภาษาไทยจะเว้นวรรคเมื่อสิ้นสุดใจความ หรือจบ
ประโยค ดังนั้น ในการเขียนภาษาไทยต้องเว้นวรรคให้ถูก
ต้องมิฉะนั้นจะทำาให้ความหมายผิดเพี้ยนไป
Thai language has to leave a space when it
finishes the gist or at the end of sentence so in Thai
writing should leave a space correctly otherwise the
meaning will be changed.
12. ภาษาไทยมีระดับของการใช้ภาษาแตกต่างกันไป
ตามระดับของบุคคลและสถานการณ์ที่ใช้คือ ภาษาทางการ
ภาษากึ่งทางการ และภาษาปาก
3
Thai language has a level of usage differently
upon the person and situation. The levels of usage are
formal language, semi- formal language and informal
language.
หน่วยในภาษา และการขยาย
The units of language and the extension
หน่วยในภาษา ประกอบด้วยเสียง พยางค์ คำา วลี อนุ
ประโยค และประโยค
The units of language means phonemes,
syllables, words, phrases , clauses and sentences
การขยายหน่วยในภาษา หมายถึง การนำาภาษาเรียง
ร้อยต่อกันเพื่อให้ได้ประโยคที่สมบูรณ์ไม่จำากัด เช่น
The extension of language units means the
arrangement of language units for being unlimited
complete sentences for example
มด
มดเดิน
มดเดินตามกันสามตัว
มดเดินตามกันสามตัวไปกินนำ้าตาล
มดเดินตามกันสามตัวไปกินนำ้าตาลบนโต๊ะ
มดเดินตามกันสามตัวไปกินนำ้าตาลบนโต๊ะในห้องครัว
เสียงและรูปในภาษา Form and phoneme in language
1. พยัญชนะ – เสียงที่เปล่งออกมาโดยผ่านการกล่อม
เกลาเสียงจากอวัยวะภายในช่องปาก เรียกว่า เสียงแปร
ประกอบด้วย รูปพยัญชนะ 44 รูป และเสียงพยัญชนะ 21
เสียง
voices blow out from lungs with the adjustment
from organs in mouth in Thai we call พยัญชนะ or เสียง
แปร. The consonant consists of 44 forms and 21
phonemes.
4
เสียงพยัญชนะทั้ง 21 เสียง ได้แก่ (21 phonemes are
followed)
ก
ข ฃ ค ฅ ฆ
ง
จ
ฉ ช ฌ
ซ ศ ษ ส
ญ ย
ฎ ด
ฏ ต
ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ
ณ น
บ
ป
ผ พ ภ
ฝ ฟ
ม
ร
ล ฬ
ว
ห ฮ
อ
5
ตารางด้านล่างแสดงหมวดหมู่ทั้งหมดของอักษร คือ รูป
พยัญชนะไทย พยัญชนะเติม ตัวอักษรบาลี สันสกฤต อักษร
สามหมู่
The table below shows the whole categories of
alphabets : Thai consonant forms, Added consonants
(parenthesis), Pali language, Sanskrit language, three
groups of Thai alphabet tone.
อักษรกลาง อักษรสูง อักษรตำ่า
ก ข (ฃ) ค (ฅ) ฆ
ง
จ ฉ ช (ซ) ฌ ญ
(ฎ) ฏ ฐ ฑ ฒ
ณ
(ด) ต ถ ท ธ น
(บ) ป ผ (ฝ) พ (ฟ)
ภ ม
ย ร ล ว
ฬ
ศ ษ ส ห
(อ) (ฮ)
6
เมื่อเสียงพยัญชนะถูกนำาไปใช้ จะใช้ในหลายลักษณะ
เช่น
When the consonants are used, they can be in
many styles of pronunciation for example
1.1 พยัญชนะต้น (first consonants)
1.2 อักษรนำา (leading consonants)
1.3 อักษรควบ (mixed consonants)
1.4 พยัญชนะท้าย (last consonant)
1.5 การันต์ (voiceless consonant)
1.1 พยัญชนะต้น (first consonants)
พยัญชนะต้นทั้ง 44 ตัว สามารถใช้เป็นพยัญชนะ
เริ่มต้นคำาได้บางส่วน ดังนี้
The 44 consonants can be used as a first
part of words for some ones like following
ก กิน กับ กัด กระเป๋า การบ้าน
eat with bite bag
homework
ข ขาว ขาย ของ ขวดนำ้า ข้าม
ถนน
white sell things bottle
cross a road
ค คิด คาง คอย คุยโทรศัพท์ คำา
พูด
think chin wait talk by mobile
saying
ง งาน งง ง่วง เหงาหงอย
หงุดหงิด
7
work stun asleep lonely
irritable
จ จับ จูง จ่ายตลาดจดจำา จ้าง
งาน
touch lead by hand go2 market
memorize employ
ฉ ฉัน ฉุน ฉาย ฉีดยา
ฉุกเฉิน I acrid
broadcast inject emergency
ช ช้าง ช่วย ช้า ชี้ ชูมือ
elephant help slow point
raises hand
ซ ซักผ้า ซน ซื้อ แซบ ซุป
wash clothes naughty buy spicy
soup
ญ ญาติ ญี่ปุ่น ญาณ
relatives Japan consciousness
ฐ ฐานะ ฐาน
status base
ณ ณ เณร
at little monk
ด เด็ก ดี เดิน ดาว ดำา
child good walk star
black
8
ต ตี แต่ ตาย ตั้งแต่ ตำารวจ
hit but die since police
ถ ถุง ถาม ถนน ถนัด ถ้วยชาม
bag ask road skillful bowl
ท ทำา ทาง ทาย ทุกๆ ทบทวน
do way guess every
review
ธ ธง เธอ ธุระ ธนาคาร ธรรมดา
flag you errand bank
general
น นั่ง นอน นาน น้อย นำ้าเปล่า
sit lay downso long few, littlewater
บ บ้าน บอก บาท บทที่ บทความ
house tell baht lesson
article
ป ปลา ปลุก ปลูก ปรึกษา ปรับตัว
fish wake plant advise
adapt
ผ ผิด โผล่ ผม ผิวหนัง ผอม
wrong appear hair skin thin
ฝ ฝา ฝัน ฝน ฝาก ฝึก
lid dream rain deposit practice
พ พูด พี่ พัน พบ พริก
talk elder thousand find, meet
chilly
9
ฟ ฟ้า ฟื้น ฟัน ไฟ แฟน
sky recover teeth fire
boy/girlfriend
ภ ภาพ ภูมิใจ ภาค ภายใน
ภายนอก picture proud part
inside outside
ม ม้า หมี มอง มัด มาตรฐาน
horse bear look tie(v.) standard
friendship
ย ยุ่ง ยาย/ย่า ย้าย ยา ยาก
busy grandmamove drug
difficult
ร รัก รถ ร้านค้า รู้ ร่ม
love car store know
umbrella
ล ลิง ลุกขึ้น ลืม ลูก แล้ว
monkey stand up forget child
already
ว วัด ไหว้ ว่ายนำ้า วิทยาศาสตร์ ไว
temple greet,postureswim science
quick
ศ ศิลปะ ศิษย์ ศาสนา ศึกษา
ศุกร์
art student religion study Friday
1
0
ส สวย เสร็จ สนาม สะอาด
สกปรก
beautiful finish field clean dirty
ห หวาน หาง หุงข้าว หาย หอม
sweet tail cook rice
disappear good smell
อ อ่าน อิ่ม อาย อีก อาจจะ
read full shy again
maybe
ฮ ฮา ฮัดเช้ย
funny sound of sneeze
1.2 อักษรนำา (leading consonants)
อักษรนำา หมายถึง พยัญชนะต้นสองตัวเรียงกันแล้ว
อ่านออกเสียงตามกันเป็น 2 พยางค์ พยางค์แรกออกเสียง อะ
พยางค์ที่สองอ่านตามรูปสระที่ปรากฏ
Leading consonants mean the two of first
consonant are used together then read in two steps.
For the first is read with ะ and the second read
following appeared vowel.
อักษรตัวแรกเป็นได้ทั้งอักษรสูง อักษรกลาง และ
อักษรตำ่า อักษรสูงนำาจะมีตัวตามได้ทุกกลุ่มคือ อักษรสูง อักษร
กลาง และอักษรตำ่าแต่ถ้าอักษรกลางและอักษรตำ่านำาจะมีแต่
อักษรตำ่าตามเท่านั้น โปรดพิจารณาตามตารางด้านล่าง
The first consonants can be all high tone,
middle tone, and low tone alphabets. If the high tone
alphabets come first, the other alphabet left can
comes after as a second consonant. However, if the
middle tone and low tone alphabets are used as a first
consonant, the low tone alphabets can only come
after. Please consider the table below.
1
1
ก ข (ฃ) ค (ฅ) ฆ
ง
จ ฉ ช (ซ) ฌ ญ
(ฎ)ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
(ด)ต ถ ท ธ น
(บ)ป ผ (ฝ) พ (ฟ) ภ
ม
ย ร ล ว
ศ ษ ส ห ฬ
(อ) (ฮ)
ตัวอย่างอักษรนำา
ขนม ขยับ ขยัน สมอง
สมาน สนอง สยาย
ฝรั่ง ถลอก เถลิง
ผวา ผยอง ถนน ขมุกขมัว สนิท
ตนุ ตโนด จมูก ฉลาด
ตลก
เตลิด ตลอด จรวด
ปริตร ปรัก
โปรดสังเกตว่า คำาข้างต้นเหล่านี้ พยัญชนะตัวที่ 2
จะอ่านออกเสียงสูง (Please notify that above words has
a high tone in a second consonant.)
อย่างไรก็ดี มีคำาบางประเภทที่ถือว่าเป็น อักษรนำา
แต่เมื่ออ่านแล้ว ไม่ปรากฏว่ามีเสียงสูงในพยัญชนะที่ 2 เช่น
However, some words called leading
consonants cannot pronounce in a high tone in a
second consonant such as
ขมา ขโมย สมาคม สโมสร สลัม
สแลง
1
2
นอกจากนี้ ยังมีคำาที่ปรากฎรูปต่อไปนี้แล้วถือว่าเป็น
อักษรนำาเช่นกัน คือ คำาที่มี ห นำาหน้าอักษรตำ่าเดี่ยว (ง ญ น ย
ณ ร ว ม ฬ ล) และคำาว่า อย่า อยู่ อย่าง อยาก
Besides, there are words included into
leading consonants such as a word with ห comes
before ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล and the words : อย่า อยู่
อย่าง อยาก
ตัวอย่าง
หงาย หงอน หญ้า ใหญ่
หน้า หนู หมอน
เหม็น หมาย หรูหรา
หยาม หมู หวาน หวัง
หลากหลาย
1.3 อักษรควบ (Mix consonants)
อักษรควบ หมายถึง การนำาพยัญชนะตัวที่ 1 มาเข้า
คู่กับพยัญชนะ ร ล ว แล้วอ่านออกเสียงตามสระที่ปรากฏ
อย่างไรก็ดี อักษรควบมี 2 ประเภท คือ อักษรควบแท้ และ
อักษรควบไม่แท้
Mix consonants mean an application of first
consonants and ร ล ว
and pronounce following the vowel appeared
however, the mix consonants have 2 types that are
real mix consonants and unreal mix consonants.
อักษรควบแท้ หมายถึง คำาที่ออกเสียงพยัญชนะ
สองเสียงพร้อมกัน คือ พยัญชนะที่ 1 กับ ร หรือ ล หรือ ว
Real mix consonants mean a word
expressing two consonants together that are the first
consonant and ร or ล or ว.
1
3
ในภาษาไทยมีอักษรควบแท้ 15 รูป 11 เสียง ดังนี้
Thai language has 15 forms and 11
phonemes
กร กราบ กรอบ กรีด กรัก
โกรก
กล กลัว กลาย กลอง กลับ
กลีบ
กว กวัก กวาด ไกว กว้าง
แกว่ง
คร ขร คราง ครั้ง ครบ ขรุขระ ขรึม
คล ขล คลำา คล้าย คลาน ขลาด
ขลุก
คว ขว ความ ควัน ควาย ขวิด ขวัญ
ตร ตรง ตรวจ ตราบ ตริ
โตรก
ปร ปราบ ปรบ ปรับ ปรุง โปรย
ปล ปลาย ปลุก ปลูก แปลก
ปลอบ
พร พรุน พร้อม พริก พรู
โพรง
พล ผล พลาย พลาง ผลุนผลัน ผลิ ผลัก
นอกจากนี้ ภาษาไทยยังรับอิทธิพลจากภาษาอื่นมา
เพื่อใช้ในภาษาของตนเอง ดังนั้น จึงมีคำาที่อ่านออกเสียงควบ
แต่มีเสียงและความหมายเป็นภาษาอื่น โดยส่วนมากมักเป็น
ภาษาอังกฤษ
Besides, Thai language is under the
influence of other language for
1
4
transforming into Thai so there are words having mix
consonant forms but
phoneme and meaning is another language especially
English.
ตัวอย่างคำาควบกลำ้าที่มาจากภาษาอื่น
บร บรีฟ บรอนซ์ เบรก บรั่นดี
บราวน์
บล เบลม บลู แบล็ก บล็อก
บลายด์
ดร ดรีม ดราฟต์ ดริงค์ แดร็ก
ดรอว์อิ้ง
ฟร ฟรี ฟราย เฟรนด์ ฟรุต
ฟรักโทส
ฟล ฟลาย ไฟลท์ ฟลุก ฟลูออไรด์
แฟลต
ทร ทริป ทราเวล แทรกเตอร์ ทรี
ทรัมเป็ต
อักษรควบไม่แท้ หมายถึง คำาที่มีรูป ร ล ว ปรากฏ
แต่ไม่อาจออกเสียงพร้อมกัน
ทั้งสองเสียง โดยอ่านได้เพียงเสียงเดียว และในบางคำาอ่าน
ออกเสียงเป็นเสียงอื่น เช่น ซ
เป็นต้น
Unreal mix consonants mean words having ร
ล ว inside cannot pronounce these two consonants
together but they pronounce only one phoneme or in
other phoneme such as ซ
ตัวอย่างของคำาควบไม่แท้
1
5
ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรุดโทรม
หมายนกอินทรี
มัทรีอินทรีย์มี เทริด
นนทรีพุทราเพรา
ทรวงไทรทรัพย์แทรกวัด โทร
มนัสฉะเชิงเทรา
ตัว ทร เหล่านี้เรา ออก
สำาเนียงเป็นเสียง ซ
จร - จริง
ซร - โซรม ไซร้
สร - สร้าง เสร็จสร่าง สระ สรง
ศร - เศร้า
ทร - ทรุด โทรม ทราบ ทราม
ทราย
1.4 เสียงพยัญชนะท้าย (Final consonant)
เสียงพยัญชนะท้าย (ตัวสะกด) เมื่อนำาไปใช้ มี 9
มาตรา คือ แม่กก แม่กบ แม่กด แม่กม แม่กน แม่กง แม่
เกย แม่เกอว แม่ก.กา
When they were used as a final consonant,
they are categorized into 9 styles : g, p, d, m, n, ng, j,
w, and words that no form of final consonant or only
having alphabet, vowel and tone.
ตัวอย่างคำาในมาตราตัวสะกด
แม่กก ก ข ค ฆ
มาก เลข บริจาค เมฆ
แม่กบ บ ป พ ภ ฟ
ลบ บาป ภาพ ลาภ กราฟ
แม่กด จ ช ซ ฎ ฏ
1
6
ปุจฉา คช ก๊าซ กฎ
ปรากฏ
ฐ ฑ ฒ ด ต
รัฐ ครุฑ วุฒิ สะดุด จิต
ถ ท ธ ศ ษ ส
รถ สารท พุธ ปราศ
เศษ รส
แม่กม ม
สาม ตาม ดื่ม ลืม เกรียม
แม่กน ณ น ญ ร ล
ฬ
ญาณ นาน กาญ การ กาล
กาฬ
แม่กง ง
จริงจัง ตั้งใจ งง คงทน
ปลง
แม่เกย ย
ตาย เลย เคย เผย เสย
แม่เกอว ว
วาว เปรี้ยว เคี้ยว เลี้ยว
ดาว
แม่ ก กา หมายถึง คำาที่มีแต่พยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์ แต่ไม่มีตัวสะกดเช่น ตา
แม่ วัว เปีย รวมถึง คำาที่สะกดด้วยรูป ำำ, ไ, ใ, เ-า, ฤๅ
เช่น ทำา ไม้ ใน เรา ฤๅษี
1
7
คำาเป็น หมายถึง คำาที่สะกดด้วยมาตรา ม น ง ย ว
เช่น ยาม เดิน กลาง เคย ราว นวล ชวน เกรง แก้ว ปราย กิน
คุณ เป็นต้น
The words having ม น ง ย ว as a final
consonant
คำาตาย หมายถึง คำาที่สะกดด้วยมาตรา ก บ ด
เช่น จาก บาท โกรธ พบ ปด The words having ก บ
ด as a final consonant
The usability of คำาเป็น คำาตาย is these words
are used following
a rule of composition some Thai poetry.
1.5 การันต์ (voiceless consonant)
หากพยัญชนะใดมีเครื่องหมายทัณฑฆาตอยู่ด้าน
บน เรียกว่า การันต์ หมายถึง
ไม่อ่านออกเสียงในส่วนนั้น เช่น จันทร์ ศุกร์ ทุกข์ สุขสันต์
เป็นต้น
When the final consonants used with
voiceless symbols are called การันต์ that means that
part will not pronounce.
2. สระ หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาแล้วไม่ผ่านการ
กล่อมเกลาจากอวัยวะภายใน
ช่องปาก เรียกว่า เสียงแท้ สระ แบ่งออกเป็น เสียงสระเดี่ยว
และเสียงสระประสม เมื่อ
ต้องการแสดงออกมาเป็นสัญลักษณ์มี 21 รูป
Vowel means phoneme expressed without the
adapting from inner
organ within mouth called real phoneme (เสียงแท้)
Vowel can be divided into isolate vowels and
compound vowels when it expresses in symbol there
are 21 forms of vowel
2.1 เสียงสระ
1
8
เสียงสระเดี่ยว 18 เสียง (18 phonemes of
isolate vowel)
อะ อา กระทะ น้าอา
อิ อี มิมี ยินดี
อึ อือ ขึด คือ
อุ อู จุ ปู
เอะ เอ เละเทะ เกเร
แอะ แอ และ แล
โอะ โอ โต๊ะ โต
เออะ เออ เลอะเทอะเจอ
เอาะ ออ เกาะ รอ
เสียงสระประสม 6 เสียง (6 phonemes of
compound vowel)
เอียะ เอีย เผียะ เกลี่ย
เอือะ เอือ เดือด เผื่อ
อัวะ อัว จั๊วะ รั้ว
ข้อควรจำา อำา ไอ ใอ เอา ฤ ฤา ฦา ไม่ถือเป็นสระ
เพราะมี เสียง พยางค์ท้าย คือ ม ย ว และเป็นเสียงซำ้า คือ รึ
(อึ) รือ (อือ) สระจึงมี 21 รูป 24 เสียง
(Tip : อำา ไอ ใอ เอา ฤ ฤา ฦา cannot call vowel
because they have final syllables that are m, j, w and
they are the same as อึ อือ) Vowel has 21 forms and
24 phonemes.
2.2 รูปสระ 21 รูป ได้แก่
ะ วิสรรชนีย์
า ลากข้าง
ำิ พินทุ์อิ
ำ่ ฝนทอง
" ฟันหนู
° นฤคหิต หยาดนำ้าค้าง
1
9
ำุ ตีนเหยียด
ำู ตีนคู้
เ ไม้หน้า
โ ไม้โอ
ใ ไม้ม้วน
ไ ไม้มลาย
ำ็ ไม้ไต่คู้
ำั ไม้หัน
อากาศ
ฤ ตัวรึ
ฤๅ ตัวรือ
ฦ ตัวลึ
ฦๅ ตัวลือ
อ ตัว ออ
ว ตัว วอ
ย ตัว ยอ
เมื่อนำาสระไปใช้ร่วมกับพยัญชนะท้ายจะมีการ
เปลี่ยนแปลงรูปสระบางรูป เช่น
กะ – กับ, ดือ – ดื่ม, เตะ – เต็ม,
แทะ – แท็ก, เกาะ – ก็อบ, โปะ –
ปน,
เกอ – เกิน, เออ – เอย, เทอม –
เทอญ,
บัว – บวม
(ศึกษาเพิ่มเติมจากแบบเรียนภาษาไทยเบื้องต้น
ผศ.จำาลอง คำาบุญชู)
3. วรรณยุกต์ คือ เสียงที่กำาหนดตามระดับของเส้น
เสียงเมื่อเปล่งออกมา ใช้
กำาหนดไตรยางศ์ มี 4 รูป 5 เสียง (tone is a phoneme
defined following the level of tone after expression.
The tone is used as a rule for pronunciation. There
are 4 forms and 5 phonemes.)
รูปวรรณยุกต์ ได้แก่
ำ่ รูปเอก เสียงตำ่า falling
tone
2
0
ำ้ รูปโท เสียงสูงแล้วตำ่า rising
– falling tone
ำ๊ รูปตรี เสียงสูง rising
tone
ำ๋ รูปจัตวา เสียงตำ่าแล้วสูง falling –
rising tone
ตัวอย่างของการผันเสียงวรรณยุกต์ยาว
ก กา ก่า ก้า ก๊า
ก๋า
ข - ข่า ข้า -
ขา
ค คา - ค่า ค้า -
จะเห็นว่าเสียงอักษรสูง และอักษรตำ่าไม่สามารถผันได้
ครบห้าเสียง แต่ต้องนำาอักษรสูง และอักษรตำ่าคู่ (13 เสียง)
มาผันร่วมกัน จึงจะได้เสียงครบทั้ง 5 เสียงเหมือนอักษร
กลาง
จ จาย จ่าย จ้าย จ๊าย จ๋าย
ฉ - ฉ่าย ฉ้าย - ฉาย
ช ชาย - ช่าย ช้าย -
ด ดู ดู่ ดู้ ดู๊ ดู๋
ถ - ถู่ ถู้ - ถู
ท ทู - ทู่ ทู้ -
ป โป โป่ โป้ โป๊ โป๋
ผ - โผ่ โผ้ - โผ
พ โพ - โพ่ โพ้ -
2
1
จากตัวอย่างจะเห็นว่า เสียงอักษรสูงและอักษรตำ่า
เหมือนกัน 1 เสียง คือ เสียงในแถวที่ 3 (ฉ้าย – ช่าย, ถู้ –
ทู่, โผ้ – โพ่) แต่ผู้เรียนต้องจำาว่า อักษรตำ่า มีรูปวรรณยุกต์
ไม่ตรงกับเสียง และควรจำาว่า เสียงที่เขียนได้สองแบบนั้น
การเขียนแบบไหนถูกต้องในภาษาไทย
From the example above, high tone alphabet
and low tone alphabet have 1 phoneme that is the
same of pronunciation that is the third phoneme in
the column but the learner should memorize that
low tone alphabets use the tone symbol differently
from their real phonemes or use more tone of
symbol expressed (tone3 use form2, tone4 use
form 3) and in this case having two phonemes
pronouncing in the same, the learner should
memorize the correct words were used in Thai.
ข้อควรจำา อักษรตำ่า รูปเอก เสียงโท รูปโท
เสียงตรี
อักษรกลาง ผันได้ครบ 5 เสียง
อักษรสูง ผันได้ครบ 5 เสียงเมื่อนำาอักษรตำ่า
คู่มาช่วย
Tip Low tone use ำ่ in the third tone and ำ้
in the forth
Middle tone can completely
pronounce 5 tones.
High tone can completely pronounce 5
tones with
the help of low tone.
พยางค์ (Syllable)
พยางค์ หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาในแต่ละครั้ง
อาจมีความหมายหรือไม่มี หากมีความหมายจะเรียกว่า คำา
2
2
เช่น นก แมว เดิน กิน คุย ฉัน เขาโต๊ะ มือ คำาเหล่านี้ถือว่า
เป็นคำา ที่มี 1 พยางค์
Syllable means voice is expressed in each
time. It can either have meaning or not but if that
syllable has a meaning is called word. These words,
for example, bird, cat, walk, eat, talk, I, you, desk,
hand are words that each word has 1 syllable.
โครงสร้างพยางค์ หมายถึง ส่วนประกอบที่มีอยู่ใน
หนึ่งพยางค์ ตามปกติ ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ
วรรณยุกต์ แต่ในบางคำาจะมีตัวสะกด หรือการันต์เพิ่ม ดัง
นั้น โครงสร้างของพยางค์ จึงแบ่งเป็น 4 ประเภท
The structure of syllable means the
composition of syllable. Normally the syllable
consists of first consonant, vowel, tone. Specially,
there are final consonant, or voiceless consonant
added. The structure of syllable are 4 types as
following
1. โครงสร้าง 3 ส่วน : พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
3 part structure : first consonant, vowel, tone
ปี พยัญชนะต้น ป
สระ ำี
วรรณยุกต์ สามัญ (ไม่ปรากฏรูป)
มือ พยัญชนะต้น ม
สระ ำือ
วรรณยุกต์ สามัญ (ไม่ปรากฎรูป)
2. โครงสร้าง 4 ส่วน : พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์
พยัญชนะท้าย
4 part structure : first consonant, vowel, tone,
final consonant
เร็ว พยัญชนะ ร
สระ เ-ะ (เปลี่ยนเป็น ไม้ไต่คู้)
วรรณยุกต์ สามัญ
2
3
พยัญชนะท้าย ว (แม่เกอว)
นอนพยัญชนะ น
สระ -อ
วรรณยุกต์ สามัญ (ไม่ปรากฏรูป)
พยัญชนะท้าย น (แม่กน)
3. โครงสร้าง 4 ส่วน (พิเศษ): พยัญชนะต้น สระ
วรรณยุกต์ การันต์
4 part structure : first consonant, vowel, tone,
voiceless consonant
ปรีดิ์ พยัญชนะ ปร
สระ อี
วรรณยุกต์ สามัญ (ไม่ปรากฎรูป)
การันต์ ดิ์
4. โครงสร้าง 5 ส่วน : พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
พยัญชนะท้าย การันต์
5 part structure: first consonant, vowel, tone,
final consonant , voiceless consonant
จันทร์ พยัญชนะ จ
สระ ะ (เปลี่ยนรูปเป็น ำั)
วรรณยุกต์ สามัญ (ไม่ปรากฎรูป)
พยัญชนะท้าย น (แม่กน)
การันต์ ทร์
จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า โครงสร้างบางส่วนไม่มี
พยัญชนะท้ายเป็นส่วนประกอบ และบางโครงสร้างมี
พยัญชนะท้าย ดังนั้น ในการเรียนเรื่องโครงสร้าง
พยัญชนะ ต้องทำาความเข้าใจเกี่ยวกับ พยางค์เปิด และ
พยางค์ปิดด้วยเช่นกัน
พยางค์เปิด หมายถึง โครงสร้างที่ไม่มีเสียง
พยัญชนะท้าย
2
4
พยางค์ปิด หมายถึง โครงสร้างที่มีเสียง
พยัญชนะท้าย
ข้อควรจำา พยางค์เปิด มีลักษณะเช่นเดียวกับ
พยัญชนะท้ายในแม่ ก กา
From the above there are some structure
having final consonant but some there are not.
Therefore the study of syllable structure should
understand open syllable and close syllable, too.
Open syllable means the structure non –
having final consonant
Close syllable means the structure having
final consonant
Tip the open syllable is the same to final
consonant of ก กา
2
5
แบบฝึกหัดที่ 1
1. ความหมายโดยกว้าง และโดยแคบของภาษา คืออะไร
2. ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยคืออะไร
3. หน่วยในภาษาประกอบด้วยอะไรบ้าง
4. เสียงและรูปพยัญชนะมีจำานวนเท่าไร อะไรบ้าง
5. เสียงและรูปสระมีจำานวนเท่าไร อะไรบ้าง
6. เสียงและรูปวรรณยุกต์มีจำานวนเท่าไร อะไรบ้าง
7. เมื่อนำาพยัญชนะมาประกอบเป็นพยางค์ สามารถ
ใช้ได้กี่ลักษณะ
8. จงแยกโครงสร้างพยางค์ต่อไปนี้
ปรุง ขวด กลับ บ้าน เรียน ซื้อ ชอบ วัว ศุกร์
หลาน
9. จงระบุมาตราตัวสะกดของคำาต่อไปนี้
กล เครื่อง กลุ่ม โทรศัพท์ สมุด กระดาษ
10. จงอ่านคำาต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
ปรับปรุง โปรดปราน เปรียบ
เปรย
กริ่งเกรง กราบกราน
เกรียวกราว
ครื้นเครง ครำ่าครวญ โครม
คราม
ตรึกตรอง ตรมตรอม ตระ
เตรียม
2
6
บทที่ 2
ชนิดของคำา
คำา (Word)
ประโยคที่ใช้สื่อสารในภาษาไทยประกอบขึ้นจากคำา
7 ชนิด ได้แก่
Sentences for communication in Thai language
consists of 7 parts of speech that are
1. คำานาม (nouns)
2. คำาสรรพนาม (pronouns)
3. คำากริยา (verbs)
4. คำาวิเศษณ์ (adverbs)
5. คำาบุพบท (prepositions)
6. คำาสันธาน (conjunctions)
7. คำาอุทาน (interjections)
2
7
1. คำานาม หมายถึง คำาที่ใช้บอกชื่อคน สัตว์
สิ่งของ
Nouns mean words use to specify people,
animal, and things.
คำานามมี 5 ประเภท คือ สามานยนาม วิสามานยนาม
อาการนาม สมุหนาม และลักษณนาม
Nouns have 5 categories : common noun,
proper noun, abstract noun, collective noun, and
classifier.
1.1 สามานยนาม หมายถึง คำานามที่กล่าว
โดยทั่วไป
Common nouns mean general nouns
that are not specify to special people, animal, or
things.
โต๊ะ เก้าอี้ ปากกา สมุด
หนังสือ โรงเรียน ครู อาจาร
ย
นักเรียน เจ้าหน้าที่ เพื่อน คณะ
มหาวิทยาลัย กระดาน ชอล์ก
ตำารา กระดาษ รายงาน
หนังสือพิมพ์ ดินสอ
ยางลบ ไม้บรรทัดถุงดินสอ ป้าย
รถเมล์ ประชุม กิจกรรม แบบฝึก
การบ้าน
1.2 วิสามานยนาม หมายถึง คำานามเฉพาะที่
ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ
สถานที่ต่างๆ เช่น
สมชาย อาจารย์นัท
มหาวิทยาลัยชือต้า ทะเลสาบชุ่ยหู
มณฑลยูนนาน ประเทศไทย
2
8
อาหารจีน คนเวียดนาม จังหวัด
นครปฐม ทวีปเอเชีย ศาสนาพุทธ
ศิลปะยุโรป
โทรศัพท์โนเกีย หนังสือภาษาจีน
การ์ตูนญี่ปุ่น
Proper nouns mean the nouns that
specify to the
special of people, animal, or things.
1.3 อาการนาม หมายถึง คำานามที่แปลงมา
จากคำากริยา มีคำาว่า การ และความ นำาหน้า เช่น
ความรัก ความเข้าใจ ความ
สงสัย ความจำา ความสุข
การกระทำา การคิด การ
สอบ การพิจารณา
การแก้แค้น การพักผ่อน
การตัดสิน
The abstract nouns mean the nouns
derive from verbs but add a word การ or ความ
before verb.
1.4 สมุหนาม หมายถึง คำานามที่ใช้เรียกกลุ่ม
ของคำานามที่มาอยู่ร่วมกันนั้นและอยู่หน้าคำานามที่ต้องการ
ขยาย เช่น กอง คณะ กลุ่ม ฝูง เหล่า บรรดา หมู่ ฝ่าย
ตัวอย่าง
กองอำานวยการ คณะกรรมการ
กลุ่มนักศึกษา
ฝูงชน เหล่าคณาจารย์
บรรดาผู้สนับสนุน
2
9
Collective nouns mean nouns are used to
specify group of
nouns.
1.5 ลักษณนาม หมายถึง คำานามที่ใช้เพื่อ
บอกลักษณะของคำานามประเภทต่างๆ ซึ่งในภาษาไทยมีคำา
ลักษณนามจำานวนมาก ดังต่อไปนี้
คน นักเรียน ทหาร พระ พระมหา
กษัตริย์
คน นาย รูป พระองค์
สัตว์ ช้าง ม้า สุนัข หมาป่า
โขลง คู่ ตัว ฝูง
สิ่งของ กระดาษ ปากกา เสื้อ รองเท้า
แผ่น ด้าม ตัว คู่
สถานที่ วัด โรงเรียน มหาวิทยาลัย
แห่ง โรง แห่ง
Classifiers mean nouns are used for telling
the characters of nouns being in front of them.
2. คำาสรรพนาม คือ คำาที่ใช้แทนนาม
สรรพนาม มี 6 ประเภท บุรุษสรรพนาม ประพันธ
สรรพนาม วิภาคสรรพนาม นิยมสรรพนาม อนิยม
สรรพนาม ปฤจฉาสรรพนาม
Pronouns mean words can be replaced in a
position of nouns.
There are 6 types : personal pronouns, relative
pronouns, distributive pronouns, definite pronouns,
indefinite pronouns, and interrogative pronoun.
3
0
2.1 บุรุษสรรพนาม หมายถึง สรรพนามที่ใช้
เรียกแทนตัวเอง และบุคคลอื่นๆ ประกอบด้วย สรรพนาม
บุรุษที่ 1 สรรพนามบุรุษที่ 2 และสรรพนามบุรุษที่ 3
สรรพนามบุรุษที่ 1
เอกพจน์ ฉัน เรา ผม ข้าพเจ้า หนู ดิฉัน
พหูพจน์ พวกฉัน พวกเรา พวกผม พวก
หนู
สรรพนามบุรุษที่ 2
เอกพจน์ เธอ คุณ แก ท่าน
พหูพจน์ พวกเธอ พวกคุณ พวกแก
พวกท่าน
สรรพนามบุรุษที่ 3
เอกพจน์ เขา ท่าน มัน
พหูพจน์ พวกเขา พวกท่าน พวกมัน
Personal pronouns mean pronouns are
used to represent the speaker, the listener, and the
person we talk to. They are divided into 1, 2, 3 of
personal pronounces.
2.2 ประพันธสรรพนาม หมายถึง คำา
สรรพนามที่ใช้เชื่อมในประโยคความซ้อน ได้แก่ ที่ ซึ่ง อัน
ว่า ให้ คำาว่า ที่ ซึ่ง อัน สามารถใช้แทนกันได้ มักตาม
หลังคำานาม ส่วนคำาว่า ว่า ให้ ใช้เมื่อต้องการทำาเป็น
ประโยครายงาน
3
1
Relative pronouns mean words combine
the relative clause to the main clause in a complex
sentence such as who whom which that. The word
ที่ ซึ่ง อัน can be replaced for one another but ว่า ให้
will be use in an indirect speech.
ที่ แม่ซื้อเสื้อที่ลดราคา
Mother buys a blouse which is on
sale.
ซึ่ง คนซี่งได้รับรางวัลเป็นผู้หญิง
A person who gets the prize is a
woman.
อัน การรักษาความสงบคือมารยาทอันดี
Keep quiet is a manner which is good.
2.3 วิภาคสรรพนาม หมายถึง คำาสรรพนามที่
ใช้เพื่อแยกกลุ่มคำานามออกจากกันเป็นหลายๆ ส่วน โดย
ใช้คำาว่า ต่าง บ้าง กัน
Distributive pronouns mean pronouns are
used for separation nouns into group or many parts
with the words : ต่าง บ้าง กัน
นักเรียนต่างมีความสุขในวันหยุด
All students are happy in holiday.
ลูกแมวเจ็ดตัวนั้นบ้างก็เล่น บ้างก็กินนม บ้างก็
นอน
That cat sometimes plays, drinks milk and
sleeps.
อาจารย์กำาลังคุยกันอยู่ในห้องประชุม
Teachers are talking in the meeting room
3
2
2.4 นิยมสรรพนาม หมายถึง คำาสรรพนามที่
ใช้เพื่อชี้เฉพาะถึงสิ่งต่างๆ และบอกระยะทางด้วยคำาว่า นี่
นั่น นี้ นั้น เหล่านี้ เหล่านั้น
Definite pronouns mean pronouns are
used to tell the distance of something or to focus on
the things they want.
นี่คือหนังสือเรียนภาษาไทย
This is Thai language textbook
นั่นคือสมุดแบบฝึกหัดของนักเรียนชาวจีน
That is Chinese’s exercise book.
นี้คืออาจารย์ชาวต่างประเทศ
This is a foreign teacher.
เหล่านั้นเป็นกระเป๋าเสื้อผ้าของนักศึกษาชั้นปีที่
1
Those are first-year student baggages.
2.5 อนิยมสรรพนาม หมายถึง คำาสรรพนามที่
ใช้กล่าวโดยไม่ระบุเจาะจงว่าเป็นสิ่งใด ชัดเจน ด้วยคำาว่า
ใคร ที่ไหน อะไร อย่างไร ทำาไม แม้ว่าจะเป็นคำาเดียวกับที่
ใช้ตั้งคำาถาม แต่โดยเจตนาของผู้พูดแล้วจะไม่ต้องการคำา
ตอบ
Indefinite pronouns mean pronouns are
used to tell without focus on anything and need not
to know the answer such as whoever, whatever,
whichever, wherever etc.
ใคร ใครจะไปต้องเตรียมตัวให้ดี
Who will go should prepare well.
3
3
อะไร อะไรที่เขาทำาไม่มีประโยชน์
What he does is useless.
อย่างไร ถึงอย่างไรเขาก็ไม่สนใจ
However he does not care.
ทำาไม ทำาไมเขาพูดเหมือนไม่พอใจ
Why he said like he did not
pleasure.
ที่ไหน ที่ไหนก็ไม่มีความสุขเท่ากับบ้าน
ของเราเอง
Wherever is not happy as our
home.
2.6 ปฤจฉาสรรพนาม หมายถึง สรรพนามที่
ใช้สำาหรับตั้งคำาถาม และต้องการคำาตอบ
Interrogative pronouns mean the pronoun
are used for making a question and need an
answer.
ใครจะไปกับเขา ฉันและนารี
Who will go with him? I and Naree.
เขาจะทำาอะไร เขาจะไปซื้อ
ต้นไม้มาปลูก
What will he do? He will go to
buy a tree.
เธอจะทำาอย่างไรให้เขาสนใจ ฉันจะให้
ดอกกุหลาบแก่เขา
How will you do to attract him? I will give
him a rose.
3
4
ทำาไมเธอไม่มาเรียน หนูไม่สบายมาก
ค่ะ
Why don’t you come to school?I am very
sick.
พวกเขาจะไปเรียนที่ไหน พวกเขาจะไป
เรียนที่เมืองไทย
Where will he study? Thailand.
3. คำากริยา คือ คำาใช้บอกอาการ
คำากริยามี 5 ประเภท สกรรมกริยา อกรรมกริยา วิกรร
ตกริยา (เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ) กริยานุเคราะห์ (ย่อม
กำาลัง คง อาจ จะ ต้อง ได้ แล้ว ถูก) และกริยาสภาวมาลา
(ทำาหน้าที่เป็นเหมือนคำานาม)
Verbs mean words for telling the behavior of
someone or something.
3.1 สกรรมกริยา (Transitive verbs) คือ คำาที่
ต้องมีกรรม (object) มา
รับเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจ
Transitive verbs mean verbs need objects
for a complete
meaning in sentence.
กิน เตะ ส่ง ปลูก พา พบ มอง จ้อง
ร้อง มา หา เคาะชก ทุบ ตี ต่อย
เห็น อยาก ชู ชม ทิ้ง ปล่อย เจ็บ
ปวด
ทำา เกา แปรง ล้าง ชิม พยายาม ไป
3
5
นักเรียนกินข้าวกลางวันที่โรงอาหาร
เด็กผู้ชายชอบเตะฟุตบอล
บุรุษไปรษณีย์ส่งจดหมาย
ชาวนาปลูกข้าว
พ่อพาน้องสาวไปโรงเรียน
คุณลุงมาพบฉันที่โรงเรียน
เขามองหน้าเธอทั้งวัน
แมวจ้องหนู
นักเรียนร้องเพลงเสียงดัง
ฉันมาหาเธอเมื่อวาน
เขาหาปากกาสีฟ้า
ใครเคาะประตู
นักมวยชกคู่ต่อสู้
ครูโมโหจึงทุบโต๊ะ
แม่ตีลูกที่ไม่ทำาการบ้าน
ผึ้งต่อยฉัน
น้องมองไม่เห็นทาง
3
6
เขาอยากกินสปาเก็ตตี้
แม่ชูมือเรียกลูกชาย
เขาชมเธอว่าสวย
ทุกคนต้องทิ้งขยะที่ถังขยะ
น้องปล่อยปลาลงในนำ้า
ผู้ป่วยเจ็บศีรษะมาก
นักกีฬาปวดขาทั้งสองข้าง
คนงานทำาความสะอาดพื้นและห้องนำ้า
คนมีรังแคชอบเกาหัว
พวกเราต้องแปรงฟันวันละสองครั้ง
พ่อกับน้องชายกำาลังล้างรถ
แม่ครัวชิมอาหาร
เขาพยายามเก็บเงินไว้สร้างบ้าน
ทหารไปสงคราม
3.2 อกรรมกริยา (Intransitive verb) หมาย
ถึง คำากริยาที่ไม่ต้องการ
กรรมก็สามารถเข้าใจความหมายได้อย่างสมบูรณ์
Intransitive verbs mean verbs need not
object to complete the meaning in sentence.
เดิน นั่ง ยืน ยิ้ม หัวเราะ
3
7
ร้องเพลง กระโดด สนุก ไปเที่ยว อร่อย
คุย นอนหลับ ไม่สบาย ป่วย อิ่ม
หิว ทะเลาะ ไม่พอใจ โทรศัพท์
เสียใจ
3.3 วิกรรตกริยา (Linking verb) หมายถึง
คำากริยาที่บอกความเท่าเทียมกัน ได้แก่ เป็น เหมือน คล้าย
เท่า คือ
Linking verbs mean verbs show the
equivalent relation of 2 nouns.
เป็น เขาเป็นศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์
He is a professor of Mathematics.
เหมือน ผ้าผืนนี้เหมือนกับผืนนั้น
This cloth is the same to that one.
คล้าย หน้าตาของเขาคล้ายพ่อ
His face looks like his father.
เท่า นำ้าหนักของเธอเท่ากับน้องสาว
Her weight is as much as her
sister.
คือ การทำาความดีคือความสุขอย่างหนึ่ง
Do good is a kind of happy.
3.4 กริยานุเคราะห์ (Helping verbs) คือ
กริยาที่ช่วยนำาหน้า
กริยาเพื่อแสดงกาล (tense) ความคาดคะเน (prediction)
ด้วยคำาว่า ย่อม กำาลัง คง อาจ จะ ต้อง ได้ แล้ว ถูก
3
8
Helping verbs mean verbs help the
afterward verbs to increase the meaning of verb.
Sometime helping verbs show tenses, prediction,
expectation.
ย่อม คนทำาดีย่อมได้ดี
กำาลัง เขากำาลังเดินทางกลับบ้าน
คง เธอคงมีความสุขมาก
อาจ แม่อาจจะโทรมาคืนนี้
จะ สายการบินจะลดราคา
ต้อง ทุกคนต้องสอบให้ผ่าน
ได้ หนังสือพิมพ์ได้ประกาศตามหาคน
หาย
แล้ว การแสดงเริ่มต้นแล้ว
ถูก วันนี้ไม่มีใครถูกลงโทษ
3.5 กริยาสภาวมาลา (Participle verb) คือ
กริยาที่ทำาหน้า
เหมือนคำานาม โดยเป็นประธาน หรือกรรม หรือส่วนขยาย
ในประโยค
Participle verbs mean verbs are in the
position of nouns like Subject, object or extension.
3
9
นอน นอนกลางวันไม่ดี
Sleeping at noon is not good.
กิน เขาไม่ชอบกินอะไรตอนเย็น
He does not like eating dinner.
ออกกำาลังคนจีนชอบเดินเพื่อออกกำาลัง
Chinese like to walk for
exercising.
4. คำาวิเศษณ์ (Adverbs) คือ คำาขยายคำาอื่นๆ ใน
ประโยค คำาขยายมี 9 ประเภท
เช่น ลักษณวิเศษณ์ กาลวิเศษณ์ สถานวิเศษณ์ ประมาณ
วิเศษณ์ นิยมวิเศษณ์ อนิยม
วิเศษณ์ ประติชญาวิเศษณ์ (หางเสียง) ประติเษธวิเศษณ์
และปฤจฉาวิเศษณ์
Adverbs means verbs magnify other words in
sentence. There are 9 types : character, time,
place, quantity, definite, indefinite, vocative,
negative, and interrogative adverbs.
4.1 ลักษณวิเศษณ์ คือ คำาขยายลักษณะของ
คำานามนั้น เช่น สี ขนาด ชนิด รูปร่าง กลิ่น รส อาการ
สัมผัส
Character adverbs means words for
magnifying color, size, type, shape, smell, taste,
state, sense.
สี แดง เขียว เหลือง ดำา ส้ม
ชมพู ฟ้า ขาว
ขนาด เล็ก กลาง ใหญ่ เล็ก
กว่า ใหญ่กว่า พอดี
4
0
รูปร่าง สูง ตำ่า ดำา ขาว ผอม อ้วน
เตี้ย
กลิ่น หอม เหม็น ฉุน คาว สาบ หืน
รส เปรี้ยว หวาน ขม เค็ม จืด เผ็ด
อาการ ตื่นเต้น ร่าเริง เขินขรึม เงียบ
สุขุม ขี้ลืม
สัมผัส ร้อน เย็น นิ่ม แข็ง สาก
ลื่น
4.2 กาลวิเศษณ์ (Adverbs of time) คือ คำา
บอกเวลา
เช้า ทุกคนไปทำางานตอนเช้า
สาย ตอนสายตลาดจะวาย
เที่ยง ตอนเที่ยงที่โรงอาหารคนเยอะ
มาก
เย็น เราจะไปออกกำาลังตอนเย็น
เช้ามืด พระออกบิณฑบาตตอนเช้ามืด
กลางวัน ที่คุนหมิงตอนกลางวันอากาศไม่ร้อน
กลางคืน แมลงมักส่งเสียงร้องตอนกลางคืน
หัวคำ่า นักเรียนบางคนมีเรียนตอนหัวคำ่า
ดึก ผู้หญิงไม่ควรกลับบ้านดึกเพราะ
อันตราย
4
1
ก่อนนอน ฉันคุยโทรศัพท์กับแม่ก่อนนอนทุกคืน
4.3 สถานวิเศษณ์ (Adverbs of place) คือ
คำาแสดงสถานที่
ใช้เพื่อขยายตัวที่อยู่ด้านหน้า โดยไม่มีคำานามหรือ
สรรพนามตามหลัง
ข้างนอก น้องออกไปเล่นข้างนอก
ข้างใน พี่ทำางานอยู่ข้างใน
ข้างบน พ่อเก็บของอยู่ข้างบน
ข้างล่าง แม่เดินลงไปข้างล่าง
บน เสื้อแขวนอยู่ราวบน
ล่าง เมื่ออยู่ที่สูง อย่ามองลงไปด้านล่าง
เหนือ ปักกิ่งอยู่ทางเหนือของประเทศ
จีน
ใต้ คุนหมิงอยู่ทางใต้ของประเทศจีน
ตะวันออกทะเลตะวันออกของประเทศไทยสวย
มาก
ตะวันตก พระอาทิตย์ตกทางทิศตะวันตก
ใกล้ บ้านของเขาอยู่ใกล้
ไกล มหาวิทยาลัยอยู่ไกล
4
2
ข้าง น้องชอบนั่งด้านข้าง
ริม เขาชอบนั่งริม
4.4 ประมาณวิเศษณ์ (Quantity adverbs)
คือ คำาบอก
ปริมาณ หรือจำานวนนับ (Cardinal numbers)
หลาย เพื่อนของฉันซื้อเสื้อกันหนาว
หลายตัว
มาก คนอ้วนทานอาหารจำานวนมาก
น้อย คนผอมทานอาหารน้อย
พอ ห้องสมุดมีที่นั่งมากพอสำาหรับนักเรียน
ทุกคน
ไม่พอ ข้าวที่โรงอาหารมีไม่พอกับ
จำานวนคน
เหลือ ฉันไม่มีเงินเหลือแล้ว
หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด แปด
เก้า สิบ
ยี่สิบ เอ็ด สิบ ร้อยพัน หมื่นแสน ล้าน ร้อย
ล้าน
สิบล้าน หมื่นล้าน แสนล้าน ล้านล้าน
4.5 นิยมวิเศษณ์ (Definite adverbs) คือ คำา
บอกตำาแหน่ง
ที่ตามหลังคำาอื่น เช่น นี้ นั้น โน้น
4
3
นี้ กล่องใบนี้มีหนังสือสามสิบเล่ม
นั้น เสื้อตัวนั้นทำาจากขนสัตว์
โน่น ปลาตัวโน้นว่ายเร็วมาก
4.6 อนิยมวิเศษณ์ (Indefinite adverbs) คือ
คำาที่ไม่ชี้
เฉพาะ ใช้ตามหลังคำาอื่น เช่น ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร
ใคร เสื้อใครมาวางไว้บนโต๊ะ
อะไร เขาหยิบกระดาษอะไรมาเขียน
ที่ไหน ฉันไม่รู้ว่าตัวเองลืมกระเป๋าตังค์
ไว้ที่ไหน
อย่างไร พ่อพูดอย่างไรเขาก็ไม่ยอม
เมื่อไร คนงานไม่รู้ว่างานจะเสร็จเมื่อไร
4.7 ประติชญาวิเศษณ์ (Vocative adverbs)
คือ คำาที่ใช้
ท้ายสุด เพื่อแสดงอารมณ์ ความสนิทสนม หรือ ความสุภาพ
Vocative adverbs mean words are used at
the last for expressing feeling, relationship or
politeness.
ครับ ขอบคุณครับ
ค่ะ ยินดีค่ะ
นะคะ อะไรนะคะ
4
4
ซิ บอกเร็วๆ ซิ
นะ ไปด้วยกันนะ
เถอะ กินเถอะ
จ้ะ ได้จ้ะ
จ๊ะ ทำาอะไรจ๊ะ
จ๋า พ่อจ๋า แม่จ๋า
ฮะ ไม่เอาแล้วฮะ
วะ ทำาไมวะ
เสีย รีบไปเสีย
4.8 ประติเษธวิเศษณ์ (Negative adverbs)
คือ คำาที่ใช้ใน
การปฏิเสธ เช่น ไม่ มิ ไม่ได้ ไม่ใช่ บ่ เปล่า
ไม่ได้ ผมไม่ได้เอาโทรศัพท์มาด้วย
มิ มิเป็นไรครับ
ไม่ ฉันไม่ไปทำางาน
ไม่ใช่ เขาไม่ใช่พนักงานของบริษัทนี้
บ่ พ่อบ่ได้เอารถมาทำางาน
เปล่า ฉันเปล่าทำาให้เขาร้องไห้
4
5
4.9 ปฤจฉาวิเศษณ์ (Interrogative
adverbs) คือ คำาที่ใช้ตั้ง
คำาถามในลักษณะของการขยายคำาอื่น เช่น อะไร ที่ไหน
อย่างไร ใคร
ใคร สมุดของใครวางไว้บนโต๊ะ
อะไร กระดาษอะไรที่เธอซื้อมา
ที่ไหน อาหารที่ไหนอร่อยที่สุด
อย่างไร วิธีวาดรูปคนวาดอย่างไร
เมื่อไร เขาจะกลับมาอ่านหนังสือเมื่อไร
ข้อสังเกต ระหว่างประเภทที่เหมือนกันของคำาสรรพนาม
และคำาวิเศษณ์ เช่น นิยมสรรพนาม นิยมวิเศษณ์ อนิยม
สรรพนาม อนิยมวิเศษณ์ ปฤจฉาสรรพนาม และปฤจฉา
วิเศษณ์ คือ สรรพนามจะอยู่ด้านหน้าสุด แต่วิเศษณ์จะอยู่
ตามหลังคำาอื่นเสมอ
Tip among the same types of Pronoun and Adverb
such as definite pronoun, definite adverb, indefinite
pronoun, indefinite adjective, interrogative pronoun,
interrogative adjective : the different thing is
pronoun stands alone, adverb comes after the other
word.
คำาวิเศษณ์บางคำาสามารถทำาหน้าที่เป็นกริยาของ
ประโยคได้ โดยเฉพาะลักษณวิเศษณ์ เช่น หล่อ ดี สวย
ร้อน เป็นต้น
Some adverbs can be used as verb of
sentence, especially character adverbs.
หล่อ นักร้องคนนี้หล่อมาก
4
6
ดี เธอดีกว่าคนอื่น
สวย นางเอกหนังสวยกว่าคนธรรมดา
ร้อน เมืองไทยร้อนมาก
5. บุพบท (Preposition) หมายถึง คำาที่ใช้เชื่อม คำา
วลี เข้ากับคำาหรือ
ประโยคอื่น ด้วยคำาว่า ของ สำาหรับ เพื่อ ใน กับ แก่ แต่ ต่อ
แด่ วางไว้หน้าคำานาม คำาสรรพนาม คำากริยา และคำา
วิเศษณ์
Prepositions mean words combine words or
phrases into other words or main sentence.
ของ การทำางานของคณะกรรมการชุดนี้ดีมาก
สำาหรับ ของขวัญกล่องนี้สำาหรับเธอ
เพื่อ แม่ทำาทุกอย่างเพื่อลูก
ใน จังหวัดกรุงเทพมหานครมีคนมากที่สุดใน
ประเทศไทย
กับ เขาเห็นมากับตา
แก่ โปรดเอื้อเฟื้อแก่เด็ก สตรี และคนชรา
แต่ เขาเลือกทำาแต่ความดี
ต่อ ลูกค้ายื่นเรื่องร้องเรียนบริการต่อบริษัท
แด่ ประชาชนแสดงความจงรักภักดีแด่พระ
มหากษัตริย์
4
7
เพราะ พระเอกจับตัวนาง เอกไปเพราะความ
รัก
เนื่องด้วย งานนี้สำาเร็จได้เนื่องด้วยความสามัคคี
ทั้งที่ เธอรีบมาส่งงานทั้งที่ป่วย
โดย เขาวิ่งมาโดยเร็ว
ด้วย ศาลตัดสินคดีด้วยความยุติธรรม
ตาม ตากล้องเดินไปตามสวนสาธารณะ
6. สันธาน (Conjunctions) คือ คำาที่ใช้เชื่อม
ประโยค 2 ประโยคเข้าด้วยกัน ซึ่งลักษณะของการเชื่อมมี
4 ลักษณะ คือ คล้อยตาม ขัดแย้ง ให้เลือก แสดงเหตุผล
Conjunctions mean words combine two
sentences together that the types of combination
are And type, But type, Or type, and So type.
6.1 การเชื่อมแบบคล้อยตาม คือ การเชื่อม
ไปในทิศทางเดียวกัน โดยใช้คำาว่า กับ และ ทั้ง...และ
ครั้น...ก็ ครั้น...จึง พอ...ก็
ฉันชอบแอปเปิ้ลและแตงโม
แม่ไปตลาดกับห้างสรรพสินค้า
ทั้งมานีและปิติเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ครั้นพระอาทิตย์ตกดิน นกกาก็บินกลับรัง
ครั้นเห็นว่าเธอไม่มาตามนัด เขาจึงรีบไปตามที่
บ้าน
4
8
พอรัฐบาลประกาศลดราคานำ้ามัน ประชาชนก็พา
กันไปเติม
6.2 การเชื่อมแบบขัดแย้ง คือ การเชื่อม
ข้อความที่ไม่สัมพันธ์ โดยใช้คำาว่า แต่ ถึง...ก็ กว่า...ก็ แต่
ทว่า แม้ แม้...ก็ อย่างไรก็ดี ยกเว้น
ทุกคนต่างพากันดีใจที่เรียนจบแต่ก็เสียใจที่ต้อง
จากเพื่อน
ถึงอาหารมังสวิรัติจะดีต่อสุขภาพ แต่คนก็ยังชอบ
ทานเนื้อสัตว์
กว่าคณะผู้เดินทางจะมาถึง งานแสดงก็เลิกแล้ว
เขาเอาใจใส่ดูแลลูกมาก แต่ทว่าลูกของเขากลับ
ไม่รักดี
แม้จิตใจของเขาจะหดหู่ แต่ก็ต้องฝืนทำาร่าเริงไว้
แม้ทุกคนจะปลอบโยนเขา เขาก็ยังคงเสียใจอยู่
อย่างนั้น
เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศยังคงซบเซา
ยกเว้นการท่องเที่ยว
6.3 การเชื่อมแบบให้เลือก คือ การเชื่อม
ระหว่างสองสิ่งเพื่อให้เลือก โดยใช้คำาว่า หรือ หรือไม่ก็ ไม่
ก็ ไม่เช่นนั้น มิฉะนั้น ไม่...ก็
เธอจะไปห้องสมุดกับเขาหรือจะไปตลาดกับฉัน
คุณต้องส่งงานวันนี้หรือไม่ก็รอส่งสัปดาห์หน้า
4
9
ไม่ฉันก็เขาที่ต้องไปร่วมงานวันศุกร์นี้
ฉันต้องไปขึ้นรถเดี๋ยวนี้มิฉะนั้นฉันจะสาย
6.4 การเชื่อมแบบแสดงเหตุผล คือ การบอก
สาเหตุ และผลจาการเหตุนั้น ด้วยคำาว่า จึง ครั้น...จึง
พอ...ก็ เพราะ เนื่องจาก
เมื่อฝนตก ทุกคนจึงหยิบร่มขึ้นมากาง
ครั้นตอนสายแดดออก ทุกคนจึงเก็บร่ม
วันนี้นักเรียนขออนุญาตไม่เข้าเรียนเพราะต้อง
ไปทำากิจกรรม
7. คำาอุทาน (Interjection) คือ คำาที่ใช้เพื่อแสดง
อารมณ์ หรือบอกอาการ หรือเพื่อเสริมบทให้เกิดเสียงที่
คล้องจองกัน
Interjections mean words expres sing mood or
behavior. The other type of interjection is to make a
consistence of word.
7.1 อุทาน
อุ๊ยตาย ว้าย กรี๊ด โอ้
ว้าว โอ๊ย อุ๊ย อ้าว
โห อืม ฮึ ฮ้า
7.2 อุทานเสริมบท
ชามเชิม อาหงอาหาร ละคงละคร
รถรา กินเกิน ขาย
เขย
ซื้อเซ้อ สั่งเสิ่ง กระดูก
กระเดี้ยว
5
0
หน้าที่ของคำาและการนำาไปใช้ (Functions of words
and usage)
คำาทั้ง 7 ชนิด ทำาหน้าที่แตกต่างกันไปในประโยค เมื่อ
จะนำาไปใช้จึงต้องคำานึงถึงหน้าที่เพื่อให้ใช้ได้อย่างถูกต้อง
และเหมาะสม
1. หน้าที่ของคำานาม
จากประโยค คุณตาให้ขนมรสช็อกโกแลตแก่
เด็กๆ ที่โรงเรียน
1.1 ประธาน (Subject) คุณตา
1.2 กรรมตรง (Direct Object) ขนม
1.3 กรรมรอง (Indirect Object) เด็กๆ
1.4 ส่วนขยาย (Complement) รส
ช็อกโกแลต
โรงเรียน
2. หน้าที่ของคำาสรรพนาม
จากประโยค เขาบอกให้เธอคลานเข่าเข้าไปหา
ท่านแทนพวกเรา
2.1 ประธาน(Subject) เขา
2.2 กรรมตรง (Direct Object) เธอ
2.3 กรรมรอง (Indirect Object) ท่าน
2.4 ส่วนขยาย (Complement) พวก
เรา
3. หน้าที่ของคำากริยา
จากประโยค มานีทำาการบ้านจนเสร็จแล้วไปเดิน
ชมดอกไม้ในสวน
3.1 กลุ่มคำากริยา (Verb phrase) ทำา…
เสร็จ, ไปเดินชม
จากประโยค นอนตอนกลางวันทำาให้นอนไม่หลับ
ตอนกลางคืน
5
1
3.2 ทำาหน้าที่เหมือนคำานาม (Subject) นอน
(ตอนกลางวัน)
4. หน้าที่ของคำาวิเศษณ์
จากประโยค ตำารวจไทยสวมเครื่องแบบสีกากี
ตามระเบียบอย่างเคร่งครัด
4.1 ขยายประธาน (Subject modifier)
ไทย
4.2 ขยายกริยา (Verb modifier) ตาม
ระเบียบ
4.3 ขยายกรรม (Object modifier) สี
กากี
4.4 ขยายวิเศษณ์(Adverb modifier) อย่าง
เคร่งครัด
5. หน้าที่ของคำาบุพบท
จากประโยค นักเรียนต้องเข้าแถวหน้าเสาธง
นักเรียนต้องทานอาหารที่โรงอาหาร
นายกรัฐมนตรีกล่าวปราศรัย
ท่ามกลางประชาชน
เชื่อมคำา (Word combination) หน้า, ที่,
ท่ามกลาง
6. หน้าที่ของคำาสันธาน
จากประโยคอธิการบดีพร้อมด้วยอาจารย์ต้อนรับ
และเลี้ยงรับรองผู้แทนจากประเทศจีน
เชื่อมประโยค (Sentence combination)
พร้อมด้วย
อธิการบดีต้อนรับและเลี้ยงรับรองผู้แทน
จากประเทศจีน
5
2
อาจารย์ต้อนรับและเลี้ยงรับรองผู้แทนจาก
ประเทศจีน
และ
อธิการบดีพร้อมด้วยอาจารย์ต้อนรับผู้แทน
จากประเทศจีน อธิการบดีพร้อมด้วย
อาจารย์เลี้ยงรับรองผู้แทนจากประเทศจีน
7. หน้าที่ของคำาอุทาน
จากประโยค อุ๊ย ทำาไมมาไม่ให้สุ่มให้เสียง
7.1 อุทาน (Interjection) อุ๊ย
7.2 อุทานเสริมบท ให้สุ่มให้เสียง
การจดจำาชนิด และหน้าที่ของคำาในภาษาไทยมีความ
สำาคัญมากเพราะช่วยให้ผู้เรียนวางรูปประโยคได้อย่างถูก
ต้อง แม้คำาบางชนิดจะทำาหน้าที่ได้หลากหลาย แต่โดยรวม
แล้ว การเลือกใช้คำาให้ถูกต้องกับหน้าที่ในประโยคถือเป็น
สิ่งที่เหมาะสมที่สุด ดังนั้น ผู้เรียนควรมีพจนานุกรมไทย –
จีน และจีน – ไทย เพื่อให้มีคลังคำาสำาหรับการสร้าง
ประโยคและค้นหาความหมาย
To remember parts of speech and functions of
them is important to learn Thai language because it
helps the arrangement of sentence correctly.
Although some parts of speech have many function,
on the whole the correct words matching their
functions is the best fit. Therefore, the learner
should have Thai – Chinese dictionary and Chinese
– Thai one being a word repository for making
sentences and looking up.
แบบฝึกหัดที่ 2
1. คำามีกี่ประเภท จงอธิบาย
5
3
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------
2. จงยกตัวอย่างคำานามจำานวน 10 คำา พร้อมอ่านออก
เสียง
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
--------------------------------------------
3. จงยกตัวอย่างคำากริยาจำานวน 10 คำา พร้อมอ่านออก
เสียง
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
----------
4. จงยกตัวอย่างคำาวิเศษณ์จำานวน 10 คำา พร้อมอ่าน
ออกเสียง
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
5
4
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
---------------------------------------------------------------
----------
5. จากคำาที่กำาหนดให้ จงเติมลงในช่องว่างให้เหมาะสม
ข้ามถนน ที่ ระหว่าง สิ่งแวดล้อม แต่ สิ่ง
ตอบแทน
ซาบซึ้ง ผู้ร้าย สะพานลอย แพงกว่า โดย
เขา
ฉัน นัท ใคร เช้า เย็น ดำา
ห้าม ขาว อุ๊ย ใครก็ได้ ความขยัน
นะ
เพราะ เดินเล่น คนไหน ริมทางเดิน
เนื่องจาก
5.1 เขาทำาความดีโดยไม่หวัง_________
5.2 อากาศร้อนขึ้นเพราะ________เปลี่ยนแปลง
5.3 เขาอยากไป___________ที่สวนสาธารณะ
5.4 ตำารวจไล่จับ___________
5.5 นักศึกษาไม่มาเข้าเรียน__________ต้องไปทำา
กิจกรรม
5.6 โทรศัพท์มือถือที่เมืองจีนมี
ราคา__________เมืองไทย
5.7 เมื่อต้องการ_________ควร
ใช้______________
5.8 __________และความตั้งใจช่วยให้เรียนได้ดี
5.9 ไม่มีนักเรียน__________ได้รับรางวัลจากการ
แข่งขัน
5.10นักร้องมีรายได้มาก__________ก็มีเวลาพัก
ผ่อนน้อย
5
5
5.11เสื้อที่อยู่________กระโปรงสองตัวนั้นเป็นของ
ฉัน
5.12ในโรงภาพยนตร์เหลือแต่ที่นั่ง______
5.13คุณไม่ควรไปสาย________จะทำาให้ถูกตำาหนิ
5.14คน___ส่งงานแล้ว กลับบ้านได้
5.15อะไรที่คุณทำาเพื่อฉัน ฉัน___________มาก
5.16แม่พาน้องไปโรงเรียน________การเดิน
5.17อาจารย์_______สอนภาษาไทย
5.18_______จะไปดูการแข่งขันกีฬาพรุ่งนี้
5.19_______บอก______ว่า เขาไม่สบาย
5.20___________ไปกินข้าวเป็นเพื่อนฉันหน่อย
5.21เราไปอ่านหนังสือที่ห้องสมุดด้วยกัน________
5.22สุนัขสี_______กับแมวสี_______กำาลังกัดกัน
5.23_________เดินลัดสนาม
5.24_________ตกใจหมดเลย
5.25เราเคารพธงชาติในเวลา_____และ________
6. จงบอกชนิดของคำาทุกคำาในข้อความต่อไปนี้
จีนไม่เพียงแต่เป็นประเทศอันกว้างใหญ่ไพศาลแต่ยัง
มีอารยธรรมอันเก่าแก่ และมี
ประวัติศาสตร์ที่สืบเนื่องยาวนานกว่าชาติอื่นใดในโลก
_________________________________________
_________________________________________
_________________________________________
_________________________________________
_________________________________________
_________________________________________
_________________________________________
_________________________________________
_________________________________________
_____________________
บทที่ 3
การสร้างคำาในภาษาไทย
5
6
การสร้างคำา (Word making)
ภาษาไทย เป็นภาษาในตระกูลคำาโดด (ไม่
เปลี่ยนแปลงรูปคำา) และมีการกำาหนดคำาแทนความหมาย
ต่างๆ ขึ้น เรียกว่า คำามูล ซึ่งเป็นคำาตั้งขึ้นเอง หรือยืมมา
จากภาษาอื่น คำามูล เป็นคำาถือเป็นรากของคำานั้น ๆ แล้ว
ไม่อาจจะแยกต่อไปได้อีก หรือเมื่อแยกแล้ว ได้คำาที่ไม่
สอดคล้องกับความหมายเดิม เช่น ตา ยาย แม่ กิน นอน
ศาสนา เขนย ขบ เป็นต้น
Thai language is an isolating language (no
changes within words) and there is a word definition
to represent meaning. These words call root word
(คำามูล). Root words may be made by own Thais but
some are loaned from other language. Root words
cannot separate any more so root words can be
one or more syllable.
ข้อควรสังเกต
นาที เป็นคำามูล ไม่สามารถแยกได้อีก แม้ว่า นา และ
ที จะมีความหมายแต่ไม่
สัมพันธ์กับความหมายในบริบทที่ต้องเกี่ยวเนื่องกับเวลา
ไฟฟ้า เป็นคำาประสม ที่มาจาก ไฟ และ ฟ้า ที่ต่างก็มี
ความหมาย และเมื่อรวมแล้ว กลายเป็นคำาใหม่ที่มีเค้าความ
หมายเดิม คือ ไฟ
Tip for consideration which one is root word or
compound word.
นาที (minute) it is a root word, it cannot
separate any more even if it comes from นา (field)
และ ที (times) having their own meaning but they do
not relate time.
ไฟฟ้า (electricity) it is a compound word,
because it can separate then having meaning
related to electricity. This word comes from ไฟ (fire)
5
7
and ฟ้า (sky). In Thai language ไฟ means
something gives brightness so ไฟฟ้า is a compound
word.
เนื่องจากมีคำามูลจากหลายภาษาปะปนอยู่ในภาษา
ไทย จึงควรศึกษาที่มาของคำาประเภทต่างๆ นี้ไว้เพื่อให้
เข้าใจถึงเหตุผลของการเขียนคำาที่ถูกต้อง
คำามูลภาษาไทย
1. มีตัวสะกดตรงตามมาตรา มีพยางค์เดียวเป็นส่วน
มาก เช่น
นั่ง นอน พ่อ แม่ น้า งู กา
หากมีหลายพยางค์ อาจเกิดจากการกร่อนเสียง แทรก
เสียง เติมพยางค์ เช่น
หมากม่วง – มะม่วง ต้นขบ – ตะขบ
สายเอว – สะเอว ผักเฉด – ผักกะเฉด
ลูกดุม – ลูกกระดุม นกจิบ – นก
กระจิบ
โจน – กระโจน โดด – กระโดด
2. ไม่นิยมควบกลำ้า ไม่มีตัวการันต์ มีความหมาย
หลายอย่างในลักษณะพ้องรูป
เช่น
เพลา อ่านว่า เพ – ลา แปลว่า เวลา
เพลา อ่านว่า เพลา แปลว่า ส่วน
ประกอบของรถ
แหนอ่านว่า แหน แปลว่า หวง
แหนอ่านว่า แหนฺ แปลว่า พืชชนิดหนึ่ง
5
8
3. มีรูปวรรณยุกต์กำากับ ใช้ ใ เป็นส่วนใหญ่และใช้
ไ กับคำาอ่าน
ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ
ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ มิหลงใหลใครขอดู
จะใคร่ลงเรือใบ ดูนำ้าใสและปลาปู
สิ่งใดอยู่ในตู้ มิใช่อยู่ใต้ตั่งเตียง
บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง
เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ยี่สิบม้วนจำาจงดี
ข้อสังเกต คำาว่า ศอก ศึก เศิก เศร้า ศก กระดาษ ดาษ
ฝีดาษ ฝรั่งเศส เป็นคำาไทยแท้
คำามูลภาษาบาลี (ท่อง พยัญชนะวรรค ข้างต้น)
1. มีตัวสะกดซำ้ากับพยัญชนะถัดไป
2. ไม่มี ศ ษ
3. ใช้ ฬ แทน ฑ
4. ไม่มี ฤ ฤา ฦ ฦๅ รร
คำามูลภาษาสันสกฤต
1. มีตัวควบกลำ้า
2. มี รร ศ ษ ฤ ฤา ฑ สถ
ข้อเปรียบเทียบระหว่างคำามูลภาษาบาลี
บาลี สันสกฤต
คห คฤห
อิทธิ ฤทธิ์
อิสิ ฤษี
อุตุ ฤดู
จักก จักร
สุกก์ ศุกร์
ขณะ กษณะ
ขัตติยะ กษัตริย์
เขต เกษตร
5
9
สิกขา ศึกษา
อัคค อัคร
นิจจ์ นิตย์
สัจจะ สัตยา
อาทิจจ อาทิตย
วิชชา วิทยา
มัชฌิม มัธยม
ปัญญา ปรัชญา
กัญญา กันยา
สามัญ สามานย์
ถาวร สถาพร
สมุทท สมุทร
กัปป์ กัลป์
ธัมม ธรรม
วิเสส วิเศษ s
คำามูลภาษาเขมร
1. มีคำาว่า บัง บัน บรร บำา เช่น
บังคับ บังคม บันได บันดาล
บันลือ บำาบัด บำาเหน็จ บังเหียน
2. คำาเหล่านี้ เหมือนคำามูลภาษาไทย แต่ที่จริง คือ คำา
เขมร
แข โลด เดิน นัก
อวย ศก เลิก บาย มาน
3. คำาที่ใช้กับพระมหากษัตริย์ ส่วนมากมาจากเขมร
เขนย ขนง เสด็จ สมเด็จ
อาจ ไถง
4. สะกดด้วย จ ร ล ญ เช่น
อร ถวิล เพ็ญ ครวญ
อัญเชิญ
คำามูลภาษาจีน
6
0
เจ้าสัว โจ๊ก เจ๊ง เจ๋ง
เกาเหลา เก้าอี้ กวยจั๊บ ก๋วยเตี๋ยว โต๊ะ
เกี๊ยะ
เกี๊ยว เจี๊ยะ แป๊ะ ซิ้ม
โสหุ้ย เย็นตาโฟ เก๋ง ซูฮก
หลงจู๊ เจ๊
เตี่ย เล้ง เต็ง เขียม ก๊ก
คำามูลภาษาญี่ปุ่น
คาราเต้ เคนโด้ กิโมโน ซามูไร
ซูโม่
คำามูลภาษาเปอร์เซีย
กุหลาบ ชุกชี สุหร่าย ยี่หร่า
คาราวาน
คำามูลภาษาทมิฬ
ตะกั่ว อาจาด สาเก กุลี
คำามูลภาษาชวา มลายู
มังคุด มะละกอ บุหลัน บุหรง
น้อยหน่า
กริช โสร่ง สลัด
คำามูลภาษาโปรตุเกส
สบู่ ปิ่นโต เหรียญ กะละแม
บาทหลวง
คำามูลภาษาฝรั่งเศส
กงสุล กรัม ลิตร โชเฟอร์
บุฟเฟต์
คิว เมตร กรัม ปาร์เก้ คาเฟ่
6
1
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856Rose'zll LD
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำchatchaisukhum1
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJUnity' PeeBaa
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..Moo Moo
 

What's hot (12)

Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
1276933222 morpheme
1276933222 morpheme1276933222 morpheme
1276933222 morpheme
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..
 

Similar to สรุปย่อ หลักภาษาไทย

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิWataustin Austin
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80Rose Banioki
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 

Similar to สรุปย่อ หลักภาษาไทย (20)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 

More from Kun Cool Look Natt

การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ Kun Cool Look Natt
 
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง Kun Cool Look Natt
 
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่างบรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่างKun Cool Look Natt
 
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่างคำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่างKun Cool Look Natt
 
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร Kun Cool Look Natt
 
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร Kun Cool Look Natt
 
แนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านแนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านKun Cool Look Natt
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) Kun Cool Look Natt
 
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย Kun Cool Look Natt
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553Kun Cool Look Natt
 
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล Kun Cool Look Natt
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...Kun Cool Look Natt
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...Kun Cool Look Natt
 

More from Kun Cool Look Natt (14)

Eng of pre – cadet
Eng  of  pre – cadetEng  of  pre – cadet
Eng of pre – cadet
 
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
การใช้ภาษาไทย สำหรับชาวต่างประเทศ
 
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
 
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่างบรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
บรรณานุกรม การศึกษาโครงเรื่องในนวนิยายแนวสลับร่าง
 
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่างคำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
 
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
สารบัญ - ภาพรวมของงานวิจัย เรื่อง กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
 
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
กลวิธีหนีตาย ในนวนิยายของกิ่งฉัตร
 
แนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านแนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่าน
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
 
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
รายงานผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนการสอนที่ยูนนานนอร์มอล
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
 

สรุปย่อ หลักภาษาไทย

  • 1. บทที่ 1 ธรรมชาติของภาษา Nature of language ความหมายของภาษา ความหมายกว้าง หมายถึง การแสดงออกเพื่อสื่อความ หมาย เช่น ท่าทาง การใบ้ ภาษาสัตว์เครื่องหมาย สัญญาณ General meaning means the expression for meaning communication such as postures, hints, animal language, symbols and signals. ความหมายแคบ หมายถึง การใช้ภาษาของมนุษย์เพื่อ สื่อสาร คำาที่คิดขึ้นไม่จำาเป็นต้อง ตรงกันกับภาษาอื่น เสียงจึงไม่สัมพันธ์กับความหมาย เช่น ภาษาไทยเรียก หมา ภาษาอังกฤษเรียก dog เว้นแต่การ เลียนเสียงธรรมชาติเช่น เสียงของตก เสียงรถชน เสียงระเบิด เป็นต้น Specific meaning means human language usage for communication, the words defined need not relate to the meaning ,for example, in Thai called หมา in English called dog except for the imitation of natural sound such as falling things, car crash, boom. ลักษณะสำาคัญของภาษาไทย โดยธรรมชาติของภาษาทุกภาษาย่อมมีความคล้ายคลึง กัน กล่าวเฉพาะภาษาไทยนั้นมีลักษณะสำาคัญที่ควรทำาความ เข้าใจดังนี้ 1. ภาษาไทยเป็นภาษาคำาโดด (Isolating language) มี ความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง โดยไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง ภายในคำา สามารถนำามาใช้ได้ทันที
  • 2. Thai language is an isolating language having a complete meaning in itself and using without changes within words so Thai words can be used at once. 2. การบอกพจน์ในภาษาไทย เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลง ภายในคำาภาษาไทยจึงอาศัยคำาอื่นมาประกอบเพื่อบอก จำานวน เช่น คำาวิเศษณ์ คำาสมุหนาม การซำ้าคำา หรือคำากริยา บางคำาก็สามารถบอกจำานวนได้ The number expression of Thai language when there are not changes within word, Thai language uses other words to consist for showing the number of nouns for example adverb, quantity words, repeated word or some verbs can tell the number. 3. การบอกกาลในภาษาไทย ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ภายในคำาเช่นกัน จึงอาศัยคำาอื่นเพื่อแสดงอดีต หรืออนาคต เช่น แล้ว จะ เป็นต้น The tense of Thai language has no change within word in the same way of number it has another word for showing the tense. 4. การบอกผู้กระทำาในภาษาไทย ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ภายในคำา แต่อาศัยการวางตำาแหน่งในประโยค และการเพิ่ม คำาว่า “ถูก” เพื่อแสดงการถูกกระทำา The voice in Thai language has no changes within a word but when the user wants to show active voice we put it in a position of Subject and add a word “ถูก” for showing a passive voice. 5. คำาในภาษาไทยมีทั้งคำาที่คิดขึ้นเอง และคำาที่ยืมมา จากภาษาอื่น ดังนั้น หลักการสังเกตคำาไทยแท้ คือ มีพยางค์ เดียว และมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง Words in Thai language have both original and loan words so the noticeable tip of real Thai words are having only one syllable, complete meaning. 6. ภาษาไทยมีวรรณยุกต์ และเมื่อเปลี่ยนวรรณยุกต์ ทำาให้ความหมายเปลี่ยน 2
  • 3. Thai language has a tone so when the tone changed, the meaning changed, too. 7. มีการสร้างคำาเพิ่มด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การซำ้า การ ซ้อน การประสม การยืม การบัญญัติศัพท์ การทับศัพท์ และ การแผลงคำา เพื่อให้ได้ความหมายเพิ่มขึ้น The words are built more and more for various meaning in language with the following techniques: repeating, doubling, compounding, loaning, providing, transforming, and changing. 8. การเรียงประโยคของภาษาไทยเริ่มจากประธาน กริยา กรรม หากมีการสลับที่อาจทำาให้ความหมายเปลี่ยนไป ได้ The arrangement of Thai language is Subject – Verb – Object. The alternation of position makes change in meaning. 9. คำาขยายในภาษาไทยจะอยู่หลังที่ถูกคำาขยายเสมอ The adjective of Thai language comes after the words are magnified. 10. ภาษาไทยมีลักษณนามที่ใช้บอกลักษณะของคำานาม แตกต่างกันไปตามแต่ละประเภท Thai language has classifiers for telling the character of noun that are different from each type. 11. ภาษาไทยจะเว้นวรรคเมื่อสิ้นสุดใจความ หรือจบ ประโยค ดังนั้น ในการเขียนภาษาไทยต้องเว้นวรรคให้ถูก ต้องมิฉะนั้นจะทำาให้ความหมายผิดเพี้ยนไป Thai language has to leave a space when it finishes the gist or at the end of sentence so in Thai writing should leave a space correctly otherwise the meaning will be changed. 12. ภาษาไทยมีระดับของการใช้ภาษาแตกต่างกันไป ตามระดับของบุคคลและสถานการณ์ที่ใช้คือ ภาษาทางการ ภาษากึ่งทางการ และภาษาปาก 3
  • 4. Thai language has a level of usage differently upon the person and situation. The levels of usage are formal language, semi- formal language and informal language. หน่วยในภาษา และการขยาย The units of language and the extension หน่วยในภาษา ประกอบด้วยเสียง พยางค์ คำา วลี อนุ ประโยค และประโยค The units of language means phonemes, syllables, words, phrases , clauses and sentences การขยายหน่วยในภาษา หมายถึง การนำาภาษาเรียง ร้อยต่อกันเพื่อให้ได้ประโยคที่สมบูรณ์ไม่จำากัด เช่น The extension of language units means the arrangement of language units for being unlimited complete sentences for example มด มดเดิน มดเดินตามกันสามตัว มดเดินตามกันสามตัวไปกินนำ้าตาล มดเดินตามกันสามตัวไปกินนำ้าตาลบนโต๊ะ มดเดินตามกันสามตัวไปกินนำ้าตาลบนโต๊ะในห้องครัว เสียงและรูปในภาษา Form and phoneme in language 1. พยัญชนะ – เสียงที่เปล่งออกมาโดยผ่านการกล่อม เกลาเสียงจากอวัยวะภายในช่องปาก เรียกว่า เสียงแปร ประกอบด้วย รูปพยัญชนะ 44 รูป และเสียงพยัญชนะ 21 เสียง voices blow out from lungs with the adjustment from organs in mouth in Thai we call พยัญชนะ or เสียง แปร. The consonant consists of 44 forms and 21 phonemes. 4
  • 5. เสียงพยัญชนะทั้ง 21 เสียง ได้แก่ (21 phonemes are followed) ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ฌ ซ ศ ษ ส ญ ย ฎ ด ฏ ต ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ ณ น บ ป ผ พ ภ ฝ ฟ ม ร ล ฬ ว ห ฮ อ 5
  • 6. ตารางด้านล่างแสดงหมวดหมู่ทั้งหมดของอักษร คือ รูป พยัญชนะไทย พยัญชนะเติม ตัวอักษรบาลี สันสกฤต อักษร สามหมู่ The table below shows the whole categories of alphabets : Thai consonant forms, Added consonants (parenthesis), Pali language, Sanskrit language, three groups of Thai alphabet tone. อักษรกลาง อักษรสูง อักษรตำ่า ก ข (ฃ) ค (ฅ) ฆ ง จ ฉ ช (ซ) ฌ ญ (ฎ) ฏ ฐ ฑ ฒ ณ (ด) ต ถ ท ธ น (บ) ป ผ (ฝ) พ (ฟ) ภ ม ย ร ล ว ฬ ศ ษ ส ห (อ) (ฮ) 6
  • 7. เมื่อเสียงพยัญชนะถูกนำาไปใช้ จะใช้ในหลายลักษณะ เช่น When the consonants are used, they can be in many styles of pronunciation for example 1.1 พยัญชนะต้น (first consonants) 1.2 อักษรนำา (leading consonants) 1.3 อักษรควบ (mixed consonants) 1.4 พยัญชนะท้าย (last consonant) 1.5 การันต์ (voiceless consonant) 1.1 พยัญชนะต้น (first consonants) พยัญชนะต้นทั้ง 44 ตัว สามารถใช้เป็นพยัญชนะ เริ่มต้นคำาได้บางส่วน ดังนี้ The 44 consonants can be used as a first part of words for some ones like following ก กิน กับ กัด กระเป๋า การบ้าน eat with bite bag homework ข ขาว ขาย ของ ขวดนำ้า ข้าม ถนน white sell things bottle cross a road ค คิด คาง คอย คุยโทรศัพท์ คำา พูด think chin wait talk by mobile saying ง งาน งง ง่วง เหงาหงอย หงุดหงิด 7
  • 8. work stun asleep lonely irritable จ จับ จูง จ่ายตลาดจดจำา จ้าง งาน touch lead by hand go2 market memorize employ ฉ ฉัน ฉุน ฉาย ฉีดยา ฉุกเฉิน I acrid broadcast inject emergency ช ช้าง ช่วย ช้า ชี้ ชูมือ elephant help slow point raises hand ซ ซักผ้า ซน ซื้อ แซบ ซุป wash clothes naughty buy spicy soup ญ ญาติ ญี่ปุ่น ญาณ relatives Japan consciousness ฐ ฐานะ ฐาน status base ณ ณ เณร at little monk ด เด็ก ดี เดิน ดาว ดำา child good walk star black 8
  • 9. ต ตี แต่ ตาย ตั้งแต่ ตำารวจ hit but die since police ถ ถุง ถาม ถนน ถนัด ถ้วยชาม bag ask road skillful bowl ท ทำา ทาง ทาย ทุกๆ ทบทวน do way guess every review ธ ธง เธอ ธุระ ธนาคาร ธรรมดา flag you errand bank general น นั่ง นอน นาน น้อย นำ้าเปล่า sit lay downso long few, littlewater บ บ้าน บอก บาท บทที่ บทความ house tell baht lesson article ป ปลา ปลุก ปลูก ปรึกษา ปรับตัว fish wake plant advise adapt ผ ผิด โผล่ ผม ผิวหนัง ผอม wrong appear hair skin thin ฝ ฝา ฝัน ฝน ฝาก ฝึก lid dream rain deposit practice พ พูด พี่ พัน พบ พริก talk elder thousand find, meet chilly 9
  • 10. ฟ ฟ้า ฟื้น ฟัน ไฟ แฟน sky recover teeth fire boy/girlfriend ภ ภาพ ภูมิใจ ภาค ภายใน ภายนอก picture proud part inside outside ม ม้า หมี มอง มัด มาตรฐาน horse bear look tie(v.) standard friendship ย ยุ่ง ยาย/ย่า ย้าย ยา ยาก busy grandmamove drug difficult ร รัก รถ ร้านค้า รู้ ร่ม love car store know umbrella ล ลิง ลุกขึ้น ลืม ลูก แล้ว monkey stand up forget child already ว วัด ไหว้ ว่ายนำ้า วิทยาศาสตร์ ไว temple greet,postureswim science quick ศ ศิลปะ ศิษย์ ศาสนา ศึกษา ศุกร์ art student religion study Friday 1 0
  • 11. ส สวย เสร็จ สนาม สะอาด สกปรก beautiful finish field clean dirty ห หวาน หาง หุงข้าว หาย หอม sweet tail cook rice disappear good smell อ อ่าน อิ่ม อาย อีก อาจจะ read full shy again maybe ฮ ฮา ฮัดเช้ย funny sound of sneeze 1.2 อักษรนำา (leading consonants) อักษรนำา หมายถึง พยัญชนะต้นสองตัวเรียงกันแล้ว อ่านออกเสียงตามกันเป็น 2 พยางค์ พยางค์แรกออกเสียง อะ พยางค์ที่สองอ่านตามรูปสระที่ปรากฏ Leading consonants mean the two of first consonant are used together then read in two steps. For the first is read with ะ and the second read following appeared vowel. อักษรตัวแรกเป็นได้ทั้งอักษรสูง อักษรกลาง และ อักษรตำ่า อักษรสูงนำาจะมีตัวตามได้ทุกกลุ่มคือ อักษรสูง อักษร กลาง และอักษรตำ่าแต่ถ้าอักษรกลางและอักษรตำ่านำาจะมีแต่ อักษรตำ่าตามเท่านั้น โปรดพิจารณาตามตารางด้านล่าง The first consonants can be all high tone, middle tone, and low tone alphabets. If the high tone alphabets come first, the other alphabet left can comes after as a second consonant. However, if the middle tone and low tone alphabets are used as a first consonant, the low tone alphabets can only come after. Please consider the table below. 1 1
  • 12. ก ข (ฃ) ค (ฅ) ฆ ง จ ฉ ช (ซ) ฌ ญ (ฎ)ฏ ฐ ฑ ฒ ณ (ด)ต ถ ท ธ น (บ)ป ผ (ฝ) พ (ฟ) ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ (อ) (ฮ) ตัวอย่างอักษรนำา ขนม ขยับ ขยัน สมอง สมาน สนอง สยาย ฝรั่ง ถลอก เถลิง ผวา ผยอง ถนน ขมุกขมัว สนิท ตนุ ตโนด จมูก ฉลาด ตลก เตลิด ตลอด จรวด ปริตร ปรัก โปรดสังเกตว่า คำาข้างต้นเหล่านี้ พยัญชนะตัวที่ 2 จะอ่านออกเสียงสูง (Please notify that above words has a high tone in a second consonant.) อย่างไรก็ดี มีคำาบางประเภทที่ถือว่าเป็น อักษรนำา แต่เมื่ออ่านแล้ว ไม่ปรากฏว่ามีเสียงสูงในพยัญชนะที่ 2 เช่น However, some words called leading consonants cannot pronounce in a high tone in a second consonant such as ขมา ขโมย สมาคม สโมสร สลัม สแลง 1 2
  • 13. นอกจากนี้ ยังมีคำาที่ปรากฎรูปต่อไปนี้แล้วถือว่าเป็น อักษรนำาเช่นกัน คือ คำาที่มี ห นำาหน้าอักษรตำ่าเดี่ยว (ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล) และคำาว่า อย่า อยู่ อย่าง อยาก Besides, there are words included into leading consonants such as a word with ห comes before ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล and the words : อย่า อยู่ อย่าง อยาก ตัวอย่าง หงาย หงอน หญ้า ใหญ่ หน้า หนู หมอน เหม็น หมาย หรูหรา หยาม หมู หวาน หวัง หลากหลาย 1.3 อักษรควบ (Mix consonants) อักษรควบ หมายถึง การนำาพยัญชนะตัวที่ 1 มาเข้า คู่กับพยัญชนะ ร ล ว แล้วอ่านออกเสียงตามสระที่ปรากฏ อย่างไรก็ดี อักษรควบมี 2 ประเภท คือ อักษรควบแท้ และ อักษรควบไม่แท้ Mix consonants mean an application of first consonants and ร ล ว and pronounce following the vowel appeared however, the mix consonants have 2 types that are real mix consonants and unreal mix consonants. อักษรควบแท้ หมายถึง คำาที่ออกเสียงพยัญชนะ สองเสียงพร้อมกัน คือ พยัญชนะที่ 1 กับ ร หรือ ล หรือ ว Real mix consonants mean a word expressing two consonants together that are the first consonant and ร or ล or ว. 1 3
  • 14. ในภาษาไทยมีอักษรควบแท้ 15 รูป 11 เสียง ดังนี้ Thai language has 15 forms and 11 phonemes กร กราบ กรอบ กรีด กรัก โกรก กล กลัว กลาย กลอง กลับ กลีบ กว กวัก กวาด ไกว กว้าง แกว่ง คร ขร คราง ครั้ง ครบ ขรุขระ ขรึม คล ขล คลำา คล้าย คลาน ขลาด ขลุก คว ขว ความ ควัน ควาย ขวิด ขวัญ ตร ตรง ตรวจ ตราบ ตริ โตรก ปร ปราบ ปรบ ปรับ ปรุง โปรย ปล ปลาย ปลุก ปลูก แปลก ปลอบ พร พรุน พร้อม พริก พรู โพรง พล ผล พลาย พลาง ผลุนผลัน ผลิ ผลัก นอกจากนี้ ภาษาไทยยังรับอิทธิพลจากภาษาอื่นมา เพื่อใช้ในภาษาของตนเอง ดังนั้น จึงมีคำาที่อ่านออกเสียงควบ แต่มีเสียงและความหมายเป็นภาษาอื่น โดยส่วนมากมักเป็น ภาษาอังกฤษ Besides, Thai language is under the influence of other language for 1 4
  • 15. transforming into Thai so there are words having mix consonant forms but phoneme and meaning is another language especially English. ตัวอย่างคำาควบกลำ้าที่มาจากภาษาอื่น บร บรีฟ บรอนซ์ เบรก บรั่นดี บราวน์ บล เบลม บลู แบล็ก บล็อก บลายด์ ดร ดรีม ดราฟต์ ดริงค์ แดร็ก ดรอว์อิ้ง ฟร ฟรี ฟราย เฟรนด์ ฟรุต ฟรักโทส ฟล ฟลาย ไฟลท์ ฟลุก ฟลูออไรด์ แฟลต ทร ทริป ทราเวล แทรกเตอร์ ทรี ทรัมเป็ต อักษรควบไม่แท้ หมายถึง คำาที่มีรูป ร ล ว ปรากฏ แต่ไม่อาจออกเสียงพร้อมกัน ทั้งสองเสียง โดยอ่านได้เพียงเสียงเดียว และในบางคำาอ่าน ออกเสียงเป็นเสียงอื่น เช่น ซ เป็นต้น Unreal mix consonants mean words having ร ล ว inside cannot pronounce these two consonants together but they pronounce only one phoneme or in other phoneme such as ซ ตัวอย่างของคำาควบไม่แท้ 1 5
  • 16. ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรุดโทรม หมายนกอินทรี มัทรีอินทรีย์มี เทริด นนทรีพุทราเพรา ทรวงไทรทรัพย์แทรกวัด โทร มนัสฉะเชิงเทรา ตัว ทร เหล่านี้เรา ออก สำาเนียงเป็นเสียง ซ จร - จริง ซร - โซรม ไซร้ สร - สร้าง เสร็จสร่าง สระ สรง ศร - เศร้า ทร - ทรุด โทรม ทราบ ทราม ทราย 1.4 เสียงพยัญชนะท้าย (Final consonant) เสียงพยัญชนะท้าย (ตัวสะกด) เมื่อนำาไปใช้ มี 9 มาตรา คือ แม่กก แม่กบ แม่กด แม่กม แม่กน แม่กง แม่ เกย แม่เกอว แม่ก.กา When they were used as a final consonant, they are categorized into 9 styles : g, p, d, m, n, ng, j, w, and words that no form of final consonant or only having alphabet, vowel and tone. ตัวอย่างคำาในมาตราตัวสะกด แม่กก ก ข ค ฆ มาก เลข บริจาค เมฆ แม่กบ บ ป พ ภ ฟ ลบ บาป ภาพ ลาภ กราฟ แม่กด จ ช ซ ฎ ฏ 1 6
  • 17. ปุจฉา คช ก๊าซ กฎ ปรากฏ ฐ ฑ ฒ ด ต รัฐ ครุฑ วุฒิ สะดุด จิต ถ ท ธ ศ ษ ส รถ สารท พุธ ปราศ เศษ รส แม่กม ม สาม ตาม ดื่ม ลืม เกรียม แม่กน ณ น ญ ร ล ฬ ญาณ นาน กาญ การ กาล กาฬ แม่กง ง จริงจัง ตั้งใจ งง คงทน ปลง แม่เกย ย ตาย เลย เคย เผย เสย แม่เกอว ว วาว เปรี้ยว เคี้ยว เลี้ยว ดาว แม่ ก กา หมายถึง คำาที่มีแต่พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ แต่ไม่มีตัวสะกดเช่น ตา แม่ วัว เปีย รวมถึง คำาที่สะกดด้วยรูป ำำ, ไ, ใ, เ-า, ฤๅ เช่น ทำา ไม้ ใน เรา ฤๅษี 1 7
  • 18. คำาเป็น หมายถึง คำาที่สะกดด้วยมาตรา ม น ง ย ว เช่น ยาม เดิน กลาง เคย ราว นวล ชวน เกรง แก้ว ปราย กิน คุณ เป็นต้น The words having ม น ง ย ว as a final consonant คำาตาย หมายถึง คำาที่สะกดด้วยมาตรา ก บ ด เช่น จาก บาท โกรธ พบ ปด The words having ก บ ด as a final consonant The usability of คำาเป็น คำาตาย is these words are used following a rule of composition some Thai poetry. 1.5 การันต์ (voiceless consonant) หากพยัญชนะใดมีเครื่องหมายทัณฑฆาตอยู่ด้าน บน เรียกว่า การันต์ หมายถึง ไม่อ่านออกเสียงในส่วนนั้น เช่น จันทร์ ศุกร์ ทุกข์ สุขสันต์ เป็นต้น When the final consonants used with voiceless symbols are called การันต์ that means that part will not pronounce. 2. สระ หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาแล้วไม่ผ่านการ กล่อมเกลาจากอวัยวะภายใน ช่องปาก เรียกว่า เสียงแท้ สระ แบ่งออกเป็น เสียงสระเดี่ยว และเสียงสระประสม เมื่อ ต้องการแสดงออกมาเป็นสัญลักษณ์มี 21 รูป Vowel means phoneme expressed without the adapting from inner organ within mouth called real phoneme (เสียงแท้) Vowel can be divided into isolate vowels and compound vowels when it expresses in symbol there are 21 forms of vowel 2.1 เสียงสระ 1 8
  • 19. เสียงสระเดี่ยว 18 เสียง (18 phonemes of isolate vowel) อะ อา กระทะ น้าอา อิ อี มิมี ยินดี อึ อือ ขึด คือ อุ อู จุ ปู เอะ เอ เละเทะ เกเร แอะ แอ และ แล โอะ โอ โต๊ะ โต เออะ เออ เลอะเทอะเจอ เอาะ ออ เกาะ รอ เสียงสระประสม 6 เสียง (6 phonemes of compound vowel) เอียะ เอีย เผียะ เกลี่ย เอือะ เอือ เดือด เผื่อ อัวะ อัว จั๊วะ รั้ว ข้อควรจำา อำา ไอ ใอ เอา ฤ ฤา ฦา ไม่ถือเป็นสระ เพราะมี เสียง พยางค์ท้าย คือ ม ย ว และเป็นเสียงซำ้า คือ รึ (อึ) รือ (อือ) สระจึงมี 21 รูป 24 เสียง (Tip : อำา ไอ ใอ เอา ฤ ฤา ฦา cannot call vowel because they have final syllables that are m, j, w and they are the same as อึ อือ) Vowel has 21 forms and 24 phonemes. 2.2 รูปสระ 21 รูป ได้แก่ ะ วิสรรชนีย์ า ลากข้าง ำิ พินทุ์อิ ำ่ ฝนทอง " ฟันหนู ° นฤคหิต หยาดนำ้าค้าง 1 9
  • 20. ำุ ตีนเหยียด ำู ตีนคู้ เ ไม้หน้า โ ไม้โอ ใ ไม้ม้วน ไ ไม้มลาย ำ็ ไม้ไต่คู้ ำั ไม้หัน อากาศ ฤ ตัวรึ ฤๅ ตัวรือ ฦ ตัวลึ ฦๅ ตัวลือ อ ตัว ออ ว ตัว วอ ย ตัว ยอ เมื่อนำาสระไปใช้ร่วมกับพยัญชนะท้ายจะมีการ เปลี่ยนแปลงรูปสระบางรูป เช่น กะ – กับ, ดือ – ดื่ม, เตะ – เต็ม, แทะ – แท็ก, เกาะ – ก็อบ, โปะ – ปน, เกอ – เกิน, เออ – เอย, เทอม – เทอญ, บัว – บวม (ศึกษาเพิ่มเติมจากแบบเรียนภาษาไทยเบื้องต้น ผศ.จำาลอง คำาบุญชู) 3. วรรณยุกต์ คือ เสียงที่กำาหนดตามระดับของเส้น เสียงเมื่อเปล่งออกมา ใช้ กำาหนดไตรยางศ์ มี 4 รูป 5 เสียง (tone is a phoneme defined following the level of tone after expression. The tone is used as a rule for pronunciation. There are 4 forms and 5 phonemes.) รูปวรรณยุกต์ ได้แก่ ำ่ รูปเอก เสียงตำ่า falling tone 2 0
  • 21. ำ้ รูปโท เสียงสูงแล้วตำ่า rising – falling tone ำ๊ รูปตรี เสียงสูง rising tone ำ๋ รูปจัตวา เสียงตำ่าแล้วสูง falling – rising tone ตัวอย่างของการผันเสียงวรรณยุกต์ยาว ก กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า ข - ข่า ข้า - ขา ค คา - ค่า ค้า - จะเห็นว่าเสียงอักษรสูง และอักษรตำ่าไม่สามารถผันได้ ครบห้าเสียง แต่ต้องนำาอักษรสูง และอักษรตำ่าคู่ (13 เสียง) มาผันร่วมกัน จึงจะได้เสียงครบทั้ง 5 เสียงเหมือนอักษร กลาง จ จาย จ่าย จ้าย จ๊าย จ๋าย ฉ - ฉ่าย ฉ้าย - ฉาย ช ชาย - ช่าย ช้าย - ด ดู ดู่ ดู้ ดู๊ ดู๋ ถ - ถู่ ถู้ - ถู ท ทู - ทู่ ทู้ - ป โป โป่ โป้ โป๊ โป๋ ผ - โผ่ โผ้ - โผ พ โพ - โพ่ โพ้ - 2 1
  • 22. จากตัวอย่างจะเห็นว่า เสียงอักษรสูงและอักษรตำ่า เหมือนกัน 1 เสียง คือ เสียงในแถวที่ 3 (ฉ้าย – ช่าย, ถู้ – ทู่, โผ้ – โพ่) แต่ผู้เรียนต้องจำาว่า อักษรตำ่า มีรูปวรรณยุกต์ ไม่ตรงกับเสียง และควรจำาว่า เสียงที่เขียนได้สองแบบนั้น การเขียนแบบไหนถูกต้องในภาษาไทย From the example above, high tone alphabet and low tone alphabet have 1 phoneme that is the same of pronunciation that is the third phoneme in the column but the learner should memorize that low tone alphabets use the tone symbol differently from their real phonemes or use more tone of symbol expressed (tone3 use form2, tone4 use form 3) and in this case having two phonemes pronouncing in the same, the learner should memorize the correct words were used in Thai. ข้อควรจำา อักษรตำ่า รูปเอก เสียงโท รูปโท เสียงตรี อักษรกลาง ผันได้ครบ 5 เสียง อักษรสูง ผันได้ครบ 5 เสียงเมื่อนำาอักษรตำ่า คู่มาช่วย Tip Low tone use ำ่ in the third tone and ำ้ in the forth Middle tone can completely pronounce 5 tones. High tone can completely pronounce 5 tones with the help of low tone. พยางค์ (Syllable) พยางค์ หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาในแต่ละครั้ง อาจมีความหมายหรือไม่มี หากมีความหมายจะเรียกว่า คำา 2 2
  • 23. เช่น นก แมว เดิน กิน คุย ฉัน เขาโต๊ะ มือ คำาเหล่านี้ถือว่า เป็นคำา ที่มี 1 พยางค์ Syllable means voice is expressed in each time. It can either have meaning or not but if that syllable has a meaning is called word. These words, for example, bird, cat, walk, eat, talk, I, you, desk, hand are words that each word has 1 syllable. โครงสร้างพยางค์ หมายถึง ส่วนประกอบที่มีอยู่ใน หนึ่งพยางค์ ตามปกติ ประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ แต่ในบางคำาจะมีตัวสะกด หรือการันต์เพิ่ม ดัง นั้น โครงสร้างของพยางค์ จึงแบ่งเป็น 4 ประเภท The structure of syllable means the composition of syllable. Normally the syllable consists of first consonant, vowel, tone. Specially, there are final consonant, or voiceless consonant added. The structure of syllable are 4 types as following 1. โครงสร้าง 3 ส่วน : พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ 3 part structure : first consonant, vowel, tone ปี พยัญชนะต้น ป สระ ำี วรรณยุกต์ สามัญ (ไม่ปรากฏรูป) มือ พยัญชนะต้น ม สระ ำือ วรรณยุกต์ สามัญ (ไม่ปรากฎรูป) 2. โครงสร้าง 4 ส่วน : พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ พยัญชนะท้าย 4 part structure : first consonant, vowel, tone, final consonant เร็ว พยัญชนะ ร สระ เ-ะ (เปลี่ยนเป็น ไม้ไต่คู้) วรรณยุกต์ สามัญ 2 3
  • 24. พยัญชนะท้าย ว (แม่เกอว) นอนพยัญชนะ น สระ -อ วรรณยุกต์ สามัญ (ไม่ปรากฏรูป) พยัญชนะท้าย น (แม่กน) 3. โครงสร้าง 4 ส่วน (พิเศษ): พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ การันต์ 4 part structure : first consonant, vowel, tone, voiceless consonant ปรีดิ์ พยัญชนะ ปร สระ อี วรรณยุกต์ สามัญ (ไม่ปรากฎรูป) การันต์ ดิ์ 4. โครงสร้าง 5 ส่วน : พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ พยัญชนะท้าย การันต์ 5 part structure: first consonant, vowel, tone, final consonant , voiceless consonant จันทร์ พยัญชนะ จ สระ ะ (เปลี่ยนรูปเป็น ำั) วรรณยุกต์ สามัญ (ไม่ปรากฎรูป) พยัญชนะท้าย น (แม่กน) การันต์ ทร์ จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า โครงสร้างบางส่วนไม่มี พยัญชนะท้ายเป็นส่วนประกอบ และบางโครงสร้างมี พยัญชนะท้าย ดังนั้น ในการเรียนเรื่องโครงสร้าง พยัญชนะ ต้องทำาความเข้าใจเกี่ยวกับ พยางค์เปิด และ พยางค์ปิดด้วยเช่นกัน พยางค์เปิด หมายถึง โครงสร้างที่ไม่มีเสียง พยัญชนะท้าย 2 4
  • 25. พยางค์ปิด หมายถึง โครงสร้างที่มีเสียง พยัญชนะท้าย ข้อควรจำา พยางค์เปิด มีลักษณะเช่นเดียวกับ พยัญชนะท้ายในแม่ ก กา From the above there are some structure having final consonant but some there are not. Therefore the study of syllable structure should understand open syllable and close syllable, too. Open syllable means the structure non – having final consonant Close syllable means the structure having final consonant Tip the open syllable is the same to final consonant of ก กา 2 5
  • 26. แบบฝึกหัดที่ 1 1. ความหมายโดยกว้าง และโดยแคบของภาษา คืออะไร 2. ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยคืออะไร 3. หน่วยในภาษาประกอบด้วยอะไรบ้าง 4. เสียงและรูปพยัญชนะมีจำานวนเท่าไร อะไรบ้าง 5. เสียงและรูปสระมีจำานวนเท่าไร อะไรบ้าง 6. เสียงและรูปวรรณยุกต์มีจำานวนเท่าไร อะไรบ้าง 7. เมื่อนำาพยัญชนะมาประกอบเป็นพยางค์ สามารถ ใช้ได้กี่ลักษณะ 8. จงแยกโครงสร้างพยางค์ต่อไปนี้ ปรุง ขวด กลับ บ้าน เรียน ซื้อ ชอบ วัว ศุกร์ หลาน 9. จงระบุมาตราตัวสะกดของคำาต่อไปนี้ กล เครื่อง กลุ่ม โทรศัพท์ สมุด กระดาษ 10. จงอ่านคำาต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ปรับปรุง โปรดปราน เปรียบ เปรย กริ่งเกรง กราบกราน เกรียวกราว ครื้นเครง ครำ่าครวญ โครม คราม ตรึกตรอง ตรมตรอม ตระ เตรียม 2 6
  • 27. บทที่ 2 ชนิดของคำา คำา (Word) ประโยคที่ใช้สื่อสารในภาษาไทยประกอบขึ้นจากคำา 7 ชนิด ได้แก่ Sentences for communication in Thai language consists of 7 parts of speech that are 1. คำานาม (nouns) 2. คำาสรรพนาม (pronouns) 3. คำากริยา (verbs) 4. คำาวิเศษณ์ (adverbs) 5. คำาบุพบท (prepositions) 6. คำาสันธาน (conjunctions) 7. คำาอุทาน (interjections) 2 7
  • 28. 1. คำานาม หมายถึง คำาที่ใช้บอกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ Nouns mean words use to specify people, animal, and things. คำานามมี 5 ประเภท คือ สามานยนาม วิสามานยนาม อาการนาม สมุหนาม และลักษณนาม Nouns have 5 categories : common noun, proper noun, abstract noun, collective noun, and classifier. 1.1 สามานยนาม หมายถึง คำานามที่กล่าว โดยทั่วไป Common nouns mean general nouns that are not specify to special people, animal, or things. โต๊ะ เก้าอี้ ปากกา สมุด หนังสือ โรงเรียน ครู อาจาร ย นักเรียน เจ้าหน้าที่ เพื่อน คณะ มหาวิทยาลัย กระดาน ชอล์ก ตำารา กระดาษ รายงาน หนังสือพิมพ์ ดินสอ ยางลบ ไม้บรรทัดถุงดินสอ ป้าย รถเมล์ ประชุม กิจกรรม แบบฝึก การบ้าน 1.2 วิสามานยนาม หมายถึง คำานามเฉพาะที่ ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ต่างๆ เช่น สมชาย อาจารย์นัท มหาวิทยาลัยชือต้า ทะเลสาบชุ่ยหู มณฑลยูนนาน ประเทศไทย 2 8
  • 29. อาหารจีน คนเวียดนาม จังหวัด นครปฐม ทวีปเอเชีย ศาสนาพุทธ ศิลปะยุโรป โทรศัพท์โนเกีย หนังสือภาษาจีน การ์ตูนญี่ปุ่น Proper nouns mean the nouns that specify to the special of people, animal, or things. 1.3 อาการนาม หมายถึง คำานามที่แปลงมา จากคำากริยา มีคำาว่า การ และความ นำาหน้า เช่น ความรัก ความเข้าใจ ความ สงสัย ความจำา ความสุข การกระทำา การคิด การ สอบ การพิจารณา การแก้แค้น การพักผ่อน การตัดสิน The abstract nouns mean the nouns derive from verbs but add a word การ or ความ before verb. 1.4 สมุหนาม หมายถึง คำานามที่ใช้เรียกกลุ่ม ของคำานามที่มาอยู่ร่วมกันนั้นและอยู่หน้าคำานามที่ต้องการ ขยาย เช่น กอง คณะ กลุ่ม ฝูง เหล่า บรรดา หมู่ ฝ่าย ตัวอย่าง กองอำานวยการ คณะกรรมการ กลุ่มนักศึกษา ฝูงชน เหล่าคณาจารย์ บรรดาผู้สนับสนุน 2 9
  • 30. Collective nouns mean nouns are used to specify group of nouns. 1.5 ลักษณนาม หมายถึง คำานามที่ใช้เพื่อ บอกลักษณะของคำานามประเภทต่างๆ ซึ่งในภาษาไทยมีคำา ลักษณนามจำานวนมาก ดังต่อไปนี้ คน นักเรียน ทหาร พระ พระมหา กษัตริย์ คน นาย รูป พระองค์ สัตว์ ช้าง ม้า สุนัข หมาป่า โขลง คู่ ตัว ฝูง สิ่งของ กระดาษ ปากกา เสื้อ รองเท้า แผ่น ด้าม ตัว คู่ สถานที่ วัด โรงเรียน มหาวิทยาลัย แห่ง โรง แห่ง Classifiers mean nouns are used for telling the characters of nouns being in front of them. 2. คำาสรรพนาม คือ คำาที่ใช้แทนนาม สรรพนาม มี 6 ประเภท บุรุษสรรพนาม ประพันธ สรรพนาม วิภาคสรรพนาม นิยมสรรพนาม อนิยม สรรพนาม ปฤจฉาสรรพนาม Pronouns mean words can be replaced in a position of nouns. There are 6 types : personal pronouns, relative pronouns, distributive pronouns, definite pronouns, indefinite pronouns, and interrogative pronoun. 3 0
  • 31. 2.1 บุรุษสรรพนาม หมายถึง สรรพนามที่ใช้ เรียกแทนตัวเอง และบุคคลอื่นๆ ประกอบด้วย สรรพนาม บุรุษที่ 1 สรรพนามบุรุษที่ 2 และสรรพนามบุรุษที่ 3 สรรพนามบุรุษที่ 1 เอกพจน์ ฉัน เรา ผม ข้าพเจ้า หนู ดิฉัน พหูพจน์ พวกฉัน พวกเรา พวกผม พวก หนู สรรพนามบุรุษที่ 2 เอกพจน์ เธอ คุณ แก ท่าน พหูพจน์ พวกเธอ พวกคุณ พวกแก พวกท่าน สรรพนามบุรุษที่ 3 เอกพจน์ เขา ท่าน มัน พหูพจน์ พวกเขา พวกท่าน พวกมัน Personal pronouns mean pronouns are used to represent the speaker, the listener, and the person we talk to. They are divided into 1, 2, 3 of personal pronounces. 2.2 ประพันธสรรพนาม หมายถึง คำา สรรพนามที่ใช้เชื่อมในประโยคความซ้อน ได้แก่ ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ คำาว่า ที่ ซึ่ง อัน สามารถใช้แทนกันได้ มักตาม หลังคำานาม ส่วนคำาว่า ว่า ให้ ใช้เมื่อต้องการทำาเป็น ประโยครายงาน 3 1
  • 32. Relative pronouns mean words combine the relative clause to the main clause in a complex sentence such as who whom which that. The word ที่ ซึ่ง อัน can be replaced for one another but ว่า ให้ will be use in an indirect speech. ที่ แม่ซื้อเสื้อที่ลดราคา Mother buys a blouse which is on sale. ซึ่ง คนซี่งได้รับรางวัลเป็นผู้หญิง A person who gets the prize is a woman. อัน การรักษาความสงบคือมารยาทอันดี Keep quiet is a manner which is good. 2.3 วิภาคสรรพนาม หมายถึง คำาสรรพนามที่ ใช้เพื่อแยกกลุ่มคำานามออกจากกันเป็นหลายๆ ส่วน โดย ใช้คำาว่า ต่าง บ้าง กัน Distributive pronouns mean pronouns are used for separation nouns into group or many parts with the words : ต่าง บ้าง กัน นักเรียนต่างมีความสุขในวันหยุด All students are happy in holiday. ลูกแมวเจ็ดตัวนั้นบ้างก็เล่น บ้างก็กินนม บ้างก็ นอน That cat sometimes plays, drinks milk and sleeps. อาจารย์กำาลังคุยกันอยู่ในห้องประชุม Teachers are talking in the meeting room 3 2
  • 33. 2.4 นิยมสรรพนาม หมายถึง คำาสรรพนามที่ ใช้เพื่อชี้เฉพาะถึงสิ่งต่างๆ และบอกระยะทางด้วยคำาว่า นี่ นั่น นี้ นั้น เหล่านี้ เหล่านั้น Definite pronouns mean pronouns are used to tell the distance of something or to focus on the things they want. นี่คือหนังสือเรียนภาษาไทย This is Thai language textbook นั่นคือสมุดแบบฝึกหัดของนักเรียนชาวจีน That is Chinese’s exercise book. นี้คืออาจารย์ชาวต่างประเทศ This is a foreign teacher. เหล่านั้นเป็นกระเป๋าเสื้อผ้าของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 Those are first-year student baggages. 2.5 อนิยมสรรพนาม หมายถึง คำาสรรพนามที่ ใช้กล่าวโดยไม่ระบุเจาะจงว่าเป็นสิ่งใด ชัดเจน ด้วยคำาว่า ใคร ที่ไหน อะไร อย่างไร ทำาไม แม้ว่าจะเป็นคำาเดียวกับที่ ใช้ตั้งคำาถาม แต่โดยเจตนาของผู้พูดแล้วจะไม่ต้องการคำา ตอบ Indefinite pronouns mean pronouns are used to tell without focus on anything and need not to know the answer such as whoever, whatever, whichever, wherever etc. ใคร ใครจะไปต้องเตรียมตัวให้ดี Who will go should prepare well. 3 3
  • 34. อะไร อะไรที่เขาทำาไม่มีประโยชน์ What he does is useless. อย่างไร ถึงอย่างไรเขาก็ไม่สนใจ However he does not care. ทำาไม ทำาไมเขาพูดเหมือนไม่พอใจ Why he said like he did not pleasure. ที่ไหน ที่ไหนก็ไม่มีความสุขเท่ากับบ้าน ของเราเอง Wherever is not happy as our home. 2.6 ปฤจฉาสรรพนาม หมายถึง สรรพนามที่ ใช้สำาหรับตั้งคำาถาม และต้องการคำาตอบ Interrogative pronouns mean the pronoun are used for making a question and need an answer. ใครจะไปกับเขา ฉันและนารี Who will go with him? I and Naree. เขาจะทำาอะไร เขาจะไปซื้อ ต้นไม้มาปลูก What will he do? He will go to buy a tree. เธอจะทำาอย่างไรให้เขาสนใจ ฉันจะให้ ดอกกุหลาบแก่เขา How will you do to attract him? I will give him a rose. 3 4
  • 35. ทำาไมเธอไม่มาเรียน หนูไม่สบายมาก ค่ะ Why don’t you come to school?I am very sick. พวกเขาจะไปเรียนที่ไหน พวกเขาจะไป เรียนที่เมืองไทย Where will he study? Thailand. 3. คำากริยา คือ คำาใช้บอกอาการ คำากริยามี 5 ประเภท สกรรมกริยา อกรรมกริยา วิกรร ตกริยา (เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ) กริยานุเคราะห์ (ย่อม กำาลัง คง อาจ จะ ต้อง ได้ แล้ว ถูก) และกริยาสภาวมาลา (ทำาหน้าที่เป็นเหมือนคำานาม) Verbs mean words for telling the behavior of someone or something. 3.1 สกรรมกริยา (Transitive verbs) คือ คำาที่ ต้องมีกรรม (object) มา รับเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจ Transitive verbs mean verbs need objects for a complete meaning in sentence. กิน เตะ ส่ง ปลูก พา พบ มอง จ้อง ร้อง มา หา เคาะชก ทุบ ตี ต่อย เห็น อยาก ชู ชม ทิ้ง ปล่อย เจ็บ ปวด ทำา เกา แปรง ล้าง ชิม พยายาม ไป 3 5
  • 36. นักเรียนกินข้าวกลางวันที่โรงอาหาร เด็กผู้ชายชอบเตะฟุตบอล บุรุษไปรษณีย์ส่งจดหมาย ชาวนาปลูกข้าว พ่อพาน้องสาวไปโรงเรียน คุณลุงมาพบฉันที่โรงเรียน เขามองหน้าเธอทั้งวัน แมวจ้องหนู นักเรียนร้องเพลงเสียงดัง ฉันมาหาเธอเมื่อวาน เขาหาปากกาสีฟ้า ใครเคาะประตู นักมวยชกคู่ต่อสู้ ครูโมโหจึงทุบโต๊ะ แม่ตีลูกที่ไม่ทำาการบ้าน ผึ้งต่อยฉัน น้องมองไม่เห็นทาง 3 6
  • 37. เขาอยากกินสปาเก็ตตี้ แม่ชูมือเรียกลูกชาย เขาชมเธอว่าสวย ทุกคนต้องทิ้งขยะที่ถังขยะ น้องปล่อยปลาลงในนำ้า ผู้ป่วยเจ็บศีรษะมาก นักกีฬาปวดขาทั้งสองข้าง คนงานทำาความสะอาดพื้นและห้องนำ้า คนมีรังแคชอบเกาหัว พวกเราต้องแปรงฟันวันละสองครั้ง พ่อกับน้องชายกำาลังล้างรถ แม่ครัวชิมอาหาร เขาพยายามเก็บเงินไว้สร้างบ้าน ทหารไปสงคราม 3.2 อกรรมกริยา (Intransitive verb) หมาย ถึง คำากริยาที่ไม่ต้องการ กรรมก็สามารถเข้าใจความหมายได้อย่างสมบูรณ์ Intransitive verbs mean verbs need not object to complete the meaning in sentence. เดิน นั่ง ยืน ยิ้ม หัวเราะ 3 7
  • 38. ร้องเพลง กระโดด สนุก ไปเที่ยว อร่อย คุย นอนหลับ ไม่สบาย ป่วย อิ่ม หิว ทะเลาะ ไม่พอใจ โทรศัพท์ เสียใจ 3.3 วิกรรตกริยา (Linking verb) หมายถึง คำากริยาที่บอกความเท่าเทียมกัน ได้แก่ เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ Linking verbs mean verbs show the equivalent relation of 2 nouns. เป็น เขาเป็นศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์ He is a professor of Mathematics. เหมือน ผ้าผืนนี้เหมือนกับผืนนั้น This cloth is the same to that one. คล้าย หน้าตาของเขาคล้ายพ่อ His face looks like his father. เท่า นำ้าหนักของเธอเท่ากับน้องสาว Her weight is as much as her sister. คือ การทำาความดีคือความสุขอย่างหนึ่ง Do good is a kind of happy. 3.4 กริยานุเคราะห์ (Helping verbs) คือ กริยาที่ช่วยนำาหน้า กริยาเพื่อแสดงกาล (tense) ความคาดคะเน (prediction) ด้วยคำาว่า ย่อม กำาลัง คง อาจ จะ ต้อง ได้ แล้ว ถูก 3 8
  • 39. Helping verbs mean verbs help the afterward verbs to increase the meaning of verb. Sometime helping verbs show tenses, prediction, expectation. ย่อม คนทำาดีย่อมได้ดี กำาลัง เขากำาลังเดินทางกลับบ้าน คง เธอคงมีความสุขมาก อาจ แม่อาจจะโทรมาคืนนี้ จะ สายการบินจะลดราคา ต้อง ทุกคนต้องสอบให้ผ่าน ได้ หนังสือพิมพ์ได้ประกาศตามหาคน หาย แล้ว การแสดงเริ่มต้นแล้ว ถูก วันนี้ไม่มีใครถูกลงโทษ 3.5 กริยาสภาวมาลา (Participle verb) คือ กริยาที่ทำาหน้า เหมือนคำานาม โดยเป็นประธาน หรือกรรม หรือส่วนขยาย ในประโยค Participle verbs mean verbs are in the position of nouns like Subject, object or extension. 3 9
  • 40. นอน นอนกลางวันไม่ดี Sleeping at noon is not good. กิน เขาไม่ชอบกินอะไรตอนเย็น He does not like eating dinner. ออกกำาลังคนจีนชอบเดินเพื่อออกกำาลัง Chinese like to walk for exercising. 4. คำาวิเศษณ์ (Adverbs) คือ คำาขยายคำาอื่นๆ ใน ประโยค คำาขยายมี 9 ประเภท เช่น ลักษณวิเศษณ์ กาลวิเศษณ์ สถานวิเศษณ์ ประมาณ วิเศษณ์ นิยมวิเศษณ์ อนิยม วิเศษณ์ ประติชญาวิเศษณ์ (หางเสียง) ประติเษธวิเศษณ์ และปฤจฉาวิเศษณ์ Adverbs means verbs magnify other words in sentence. There are 9 types : character, time, place, quantity, definite, indefinite, vocative, negative, and interrogative adverbs. 4.1 ลักษณวิเศษณ์ คือ คำาขยายลักษณะของ คำานามนั้น เช่น สี ขนาด ชนิด รูปร่าง กลิ่น รส อาการ สัมผัส Character adverbs means words for magnifying color, size, type, shape, smell, taste, state, sense. สี แดง เขียว เหลือง ดำา ส้ม ชมพู ฟ้า ขาว ขนาด เล็ก กลาง ใหญ่ เล็ก กว่า ใหญ่กว่า พอดี 4 0
  • 41. รูปร่าง สูง ตำ่า ดำา ขาว ผอม อ้วน เตี้ย กลิ่น หอม เหม็น ฉุน คาว สาบ หืน รส เปรี้ยว หวาน ขม เค็ม จืด เผ็ด อาการ ตื่นเต้น ร่าเริง เขินขรึม เงียบ สุขุม ขี้ลืม สัมผัส ร้อน เย็น นิ่ม แข็ง สาก ลื่น 4.2 กาลวิเศษณ์ (Adverbs of time) คือ คำา บอกเวลา เช้า ทุกคนไปทำางานตอนเช้า สาย ตอนสายตลาดจะวาย เที่ยง ตอนเที่ยงที่โรงอาหารคนเยอะ มาก เย็น เราจะไปออกกำาลังตอนเย็น เช้ามืด พระออกบิณฑบาตตอนเช้ามืด กลางวัน ที่คุนหมิงตอนกลางวันอากาศไม่ร้อน กลางคืน แมลงมักส่งเสียงร้องตอนกลางคืน หัวคำ่า นักเรียนบางคนมีเรียนตอนหัวคำ่า ดึก ผู้หญิงไม่ควรกลับบ้านดึกเพราะ อันตราย 4 1
  • 42. ก่อนนอน ฉันคุยโทรศัพท์กับแม่ก่อนนอนทุกคืน 4.3 สถานวิเศษณ์ (Adverbs of place) คือ คำาแสดงสถานที่ ใช้เพื่อขยายตัวที่อยู่ด้านหน้า โดยไม่มีคำานามหรือ สรรพนามตามหลัง ข้างนอก น้องออกไปเล่นข้างนอก ข้างใน พี่ทำางานอยู่ข้างใน ข้างบน พ่อเก็บของอยู่ข้างบน ข้างล่าง แม่เดินลงไปข้างล่าง บน เสื้อแขวนอยู่ราวบน ล่าง เมื่ออยู่ที่สูง อย่ามองลงไปด้านล่าง เหนือ ปักกิ่งอยู่ทางเหนือของประเทศ จีน ใต้ คุนหมิงอยู่ทางใต้ของประเทศจีน ตะวันออกทะเลตะวันออกของประเทศไทยสวย มาก ตะวันตก พระอาทิตย์ตกทางทิศตะวันตก ใกล้ บ้านของเขาอยู่ใกล้ ไกล มหาวิทยาลัยอยู่ไกล 4 2
  • 43. ข้าง น้องชอบนั่งด้านข้าง ริม เขาชอบนั่งริม 4.4 ประมาณวิเศษณ์ (Quantity adverbs) คือ คำาบอก ปริมาณ หรือจำานวนนับ (Cardinal numbers) หลาย เพื่อนของฉันซื้อเสื้อกันหนาว หลายตัว มาก คนอ้วนทานอาหารจำานวนมาก น้อย คนผอมทานอาหารน้อย พอ ห้องสมุดมีที่นั่งมากพอสำาหรับนักเรียน ทุกคน ไม่พอ ข้าวที่โรงอาหารมีไม่พอกับ จำานวนคน เหลือ ฉันไม่มีเงินเหลือแล้ว หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด แปด เก้า สิบ ยี่สิบ เอ็ด สิบ ร้อยพัน หมื่นแสน ล้าน ร้อย ล้าน สิบล้าน หมื่นล้าน แสนล้าน ล้านล้าน 4.5 นิยมวิเศษณ์ (Definite adverbs) คือ คำา บอกตำาแหน่ง ที่ตามหลังคำาอื่น เช่น นี้ นั้น โน้น 4 3
  • 44. นี้ กล่องใบนี้มีหนังสือสามสิบเล่ม นั้น เสื้อตัวนั้นทำาจากขนสัตว์ โน่น ปลาตัวโน้นว่ายเร็วมาก 4.6 อนิยมวิเศษณ์ (Indefinite adverbs) คือ คำาที่ไม่ชี้ เฉพาะ ใช้ตามหลังคำาอื่น เช่น ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร ใคร เสื้อใครมาวางไว้บนโต๊ะ อะไร เขาหยิบกระดาษอะไรมาเขียน ที่ไหน ฉันไม่รู้ว่าตัวเองลืมกระเป๋าตังค์ ไว้ที่ไหน อย่างไร พ่อพูดอย่างไรเขาก็ไม่ยอม เมื่อไร คนงานไม่รู้ว่างานจะเสร็จเมื่อไร 4.7 ประติชญาวิเศษณ์ (Vocative adverbs) คือ คำาที่ใช้ ท้ายสุด เพื่อแสดงอารมณ์ ความสนิทสนม หรือ ความสุภาพ Vocative adverbs mean words are used at the last for expressing feeling, relationship or politeness. ครับ ขอบคุณครับ ค่ะ ยินดีค่ะ นะคะ อะไรนะคะ 4 4
  • 45. ซิ บอกเร็วๆ ซิ นะ ไปด้วยกันนะ เถอะ กินเถอะ จ้ะ ได้จ้ะ จ๊ะ ทำาอะไรจ๊ะ จ๋า พ่อจ๋า แม่จ๋า ฮะ ไม่เอาแล้วฮะ วะ ทำาไมวะ เสีย รีบไปเสีย 4.8 ประติเษธวิเศษณ์ (Negative adverbs) คือ คำาที่ใช้ใน การปฏิเสธ เช่น ไม่ มิ ไม่ได้ ไม่ใช่ บ่ เปล่า ไม่ได้ ผมไม่ได้เอาโทรศัพท์มาด้วย มิ มิเป็นไรครับ ไม่ ฉันไม่ไปทำางาน ไม่ใช่ เขาไม่ใช่พนักงานของบริษัทนี้ บ่ พ่อบ่ได้เอารถมาทำางาน เปล่า ฉันเปล่าทำาให้เขาร้องไห้ 4 5
  • 46. 4.9 ปฤจฉาวิเศษณ์ (Interrogative adverbs) คือ คำาที่ใช้ตั้ง คำาถามในลักษณะของการขยายคำาอื่น เช่น อะไร ที่ไหน อย่างไร ใคร ใคร สมุดของใครวางไว้บนโต๊ะ อะไร กระดาษอะไรที่เธอซื้อมา ที่ไหน อาหารที่ไหนอร่อยที่สุด อย่างไร วิธีวาดรูปคนวาดอย่างไร เมื่อไร เขาจะกลับมาอ่านหนังสือเมื่อไร ข้อสังเกต ระหว่างประเภทที่เหมือนกันของคำาสรรพนาม และคำาวิเศษณ์ เช่น นิยมสรรพนาม นิยมวิเศษณ์ อนิยม สรรพนาม อนิยมวิเศษณ์ ปฤจฉาสรรพนาม และปฤจฉา วิเศษณ์ คือ สรรพนามจะอยู่ด้านหน้าสุด แต่วิเศษณ์จะอยู่ ตามหลังคำาอื่นเสมอ Tip among the same types of Pronoun and Adverb such as definite pronoun, definite adverb, indefinite pronoun, indefinite adjective, interrogative pronoun, interrogative adjective : the different thing is pronoun stands alone, adverb comes after the other word. คำาวิเศษณ์บางคำาสามารถทำาหน้าที่เป็นกริยาของ ประโยคได้ โดยเฉพาะลักษณวิเศษณ์ เช่น หล่อ ดี สวย ร้อน เป็นต้น Some adverbs can be used as verb of sentence, especially character adverbs. หล่อ นักร้องคนนี้หล่อมาก 4 6
  • 47. ดี เธอดีกว่าคนอื่น สวย นางเอกหนังสวยกว่าคนธรรมดา ร้อน เมืองไทยร้อนมาก 5. บุพบท (Preposition) หมายถึง คำาที่ใช้เชื่อม คำา วลี เข้ากับคำาหรือ ประโยคอื่น ด้วยคำาว่า ของ สำาหรับ เพื่อ ใน กับ แก่ แต่ ต่อ แด่ วางไว้หน้าคำานาม คำาสรรพนาม คำากริยา และคำา วิเศษณ์ Prepositions mean words combine words or phrases into other words or main sentence. ของ การทำางานของคณะกรรมการชุดนี้ดีมาก สำาหรับ ของขวัญกล่องนี้สำาหรับเธอ เพื่อ แม่ทำาทุกอย่างเพื่อลูก ใน จังหวัดกรุงเทพมหานครมีคนมากที่สุดใน ประเทศไทย กับ เขาเห็นมากับตา แก่ โปรดเอื้อเฟื้อแก่เด็ก สตรี และคนชรา แต่ เขาเลือกทำาแต่ความดี ต่อ ลูกค้ายื่นเรื่องร้องเรียนบริการต่อบริษัท แด่ ประชาชนแสดงความจงรักภักดีแด่พระ มหากษัตริย์ 4 7
  • 48. เพราะ พระเอกจับตัวนาง เอกไปเพราะความ รัก เนื่องด้วย งานนี้สำาเร็จได้เนื่องด้วยความสามัคคี ทั้งที่ เธอรีบมาส่งงานทั้งที่ป่วย โดย เขาวิ่งมาโดยเร็ว ด้วย ศาลตัดสินคดีด้วยความยุติธรรม ตาม ตากล้องเดินไปตามสวนสาธารณะ 6. สันธาน (Conjunctions) คือ คำาที่ใช้เชื่อม ประโยค 2 ประโยคเข้าด้วยกัน ซึ่งลักษณะของการเชื่อมมี 4 ลักษณะ คือ คล้อยตาม ขัดแย้ง ให้เลือก แสดงเหตุผล Conjunctions mean words combine two sentences together that the types of combination are And type, But type, Or type, and So type. 6.1 การเชื่อมแบบคล้อยตาม คือ การเชื่อม ไปในทิศทางเดียวกัน โดยใช้คำาว่า กับ และ ทั้ง...และ ครั้น...ก็ ครั้น...จึง พอ...ก็ ฉันชอบแอปเปิ้ลและแตงโม แม่ไปตลาดกับห้างสรรพสินค้า ทั้งมานีและปิติเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ครั้นพระอาทิตย์ตกดิน นกกาก็บินกลับรัง ครั้นเห็นว่าเธอไม่มาตามนัด เขาจึงรีบไปตามที่ บ้าน 4 8
  • 49. พอรัฐบาลประกาศลดราคานำ้ามัน ประชาชนก็พา กันไปเติม 6.2 การเชื่อมแบบขัดแย้ง คือ การเชื่อม ข้อความที่ไม่สัมพันธ์ โดยใช้คำาว่า แต่ ถึง...ก็ กว่า...ก็ แต่ ทว่า แม้ แม้...ก็ อย่างไรก็ดี ยกเว้น ทุกคนต่างพากันดีใจที่เรียนจบแต่ก็เสียใจที่ต้อง จากเพื่อน ถึงอาหารมังสวิรัติจะดีต่อสุขภาพ แต่คนก็ยังชอบ ทานเนื้อสัตว์ กว่าคณะผู้เดินทางจะมาถึง งานแสดงก็เลิกแล้ว เขาเอาใจใส่ดูแลลูกมาก แต่ทว่าลูกของเขากลับ ไม่รักดี แม้จิตใจของเขาจะหดหู่ แต่ก็ต้องฝืนทำาร่าเริงไว้ แม้ทุกคนจะปลอบโยนเขา เขาก็ยังคงเสียใจอยู่ อย่างนั้น เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศยังคงซบเซา ยกเว้นการท่องเที่ยว 6.3 การเชื่อมแบบให้เลือก คือ การเชื่อม ระหว่างสองสิ่งเพื่อให้เลือก โดยใช้คำาว่า หรือ หรือไม่ก็ ไม่ ก็ ไม่เช่นนั้น มิฉะนั้น ไม่...ก็ เธอจะไปห้องสมุดกับเขาหรือจะไปตลาดกับฉัน คุณต้องส่งงานวันนี้หรือไม่ก็รอส่งสัปดาห์หน้า 4 9
  • 50. ไม่ฉันก็เขาที่ต้องไปร่วมงานวันศุกร์นี้ ฉันต้องไปขึ้นรถเดี๋ยวนี้มิฉะนั้นฉันจะสาย 6.4 การเชื่อมแบบแสดงเหตุผล คือ การบอก สาเหตุ และผลจาการเหตุนั้น ด้วยคำาว่า จึง ครั้น...จึง พอ...ก็ เพราะ เนื่องจาก เมื่อฝนตก ทุกคนจึงหยิบร่มขึ้นมากาง ครั้นตอนสายแดดออก ทุกคนจึงเก็บร่ม วันนี้นักเรียนขออนุญาตไม่เข้าเรียนเพราะต้อง ไปทำากิจกรรม 7. คำาอุทาน (Interjection) คือ คำาที่ใช้เพื่อแสดง อารมณ์ หรือบอกอาการ หรือเพื่อเสริมบทให้เกิดเสียงที่ คล้องจองกัน Interjections mean words expres sing mood or behavior. The other type of interjection is to make a consistence of word. 7.1 อุทาน อุ๊ยตาย ว้าย กรี๊ด โอ้ ว้าว โอ๊ย อุ๊ย อ้าว โห อืม ฮึ ฮ้า 7.2 อุทานเสริมบท ชามเชิม อาหงอาหาร ละคงละคร รถรา กินเกิน ขาย เขย ซื้อเซ้อ สั่งเสิ่ง กระดูก กระเดี้ยว 5 0
  • 51. หน้าที่ของคำาและการนำาไปใช้ (Functions of words and usage) คำาทั้ง 7 ชนิด ทำาหน้าที่แตกต่างกันไปในประโยค เมื่อ จะนำาไปใช้จึงต้องคำานึงถึงหน้าที่เพื่อให้ใช้ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม 1. หน้าที่ของคำานาม จากประโยค คุณตาให้ขนมรสช็อกโกแลตแก่ เด็กๆ ที่โรงเรียน 1.1 ประธาน (Subject) คุณตา 1.2 กรรมตรง (Direct Object) ขนม 1.3 กรรมรอง (Indirect Object) เด็กๆ 1.4 ส่วนขยาย (Complement) รส ช็อกโกแลต โรงเรียน 2. หน้าที่ของคำาสรรพนาม จากประโยค เขาบอกให้เธอคลานเข่าเข้าไปหา ท่านแทนพวกเรา 2.1 ประธาน(Subject) เขา 2.2 กรรมตรง (Direct Object) เธอ 2.3 กรรมรอง (Indirect Object) ท่าน 2.4 ส่วนขยาย (Complement) พวก เรา 3. หน้าที่ของคำากริยา จากประโยค มานีทำาการบ้านจนเสร็จแล้วไปเดิน ชมดอกไม้ในสวน 3.1 กลุ่มคำากริยา (Verb phrase) ทำา… เสร็จ, ไปเดินชม จากประโยค นอนตอนกลางวันทำาให้นอนไม่หลับ ตอนกลางคืน 5 1
  • 52. 3.2 ทำาหน้าที่เหมือนคำานาม (Subject) นอน (ตอนกลางวัน) 4. หน้าที่ของคำาวิเศษณ์ จากประโยค ตำารวจไทยสวมเครื่องแบบสีกากี ตามระเบียบอย่างเคร่งครัด 4.1 ขยายประธาน (Subject modifier) ไทย 4.2 ขยายกริยา (Verb modifier) ตาม ระเบียบ 4.3 ขยายกรรม (Object modifier) สี กากี 4.4 ขยายวิเศษณ์(Adverb modifier) อย่าง เคร่งครัด 5. หน้าที่ของคำาบุพบท จากประโยค นักเรียนต้องเข้าแถวหน้าเสาธง นักเรียนต้องทานอาหารที่โรงอาหาร นายกรัฐมนตรีกล่าวปราศรัย ท่ามกลางประชาชน เชื่อมคำา (Word combination) หน้า, ที่, ท่ามกลาง 6. หน้าที่ของคำาสันธาน จากประโยคอธิการบดีพร้อมด้วยอาจารย์ต้อนรับ และเลี้ยงรับรองผู้แทนจากประเทศจีน เชื่อมประโยค (Sentence combination) พร้อมด้วย อธิการบดีต้อนรับและเลี้ยงรับรองผู้แทน จากประเทศจีน 5 2
  • 53. อาจารย์ต้อนรับและเลี้ยงรับรองผู้แทนจาก ประเทศจีน และ อธิการบดีพร้อมด้วยอาจารย์ต้อนรับผู้แทน จากประเทศจีน อธิการบดีพร้อมด้วย อาจารย์เลี้ยงรับรองผู้แทนจากประเทศจีน 7. หน้าที่ของคำาอุทาน จากประโยค อุ๊ย ทำาไมมาไม่ให้สุ่มให้เสียง 7.1 อุทาน (Interjection) อุ๊ย 7.2 อุทานเสริมบท ให้สุ่มให้เสียง การจดจำาชนิด และหน้าที่ของคำาในภาษาไทยมีความ สำาคัญมากเพราะช่วยให้ผู้เรียนวางรูปประโยคได้อย่างถูก ต้อง แม้คำาบางชนิดจะทำาหน้าที่ได้หลากหลาย แต่โดยรวม แล้ว การเลือกใช้คำาให้ถูกต้องกับหน้าที่ในประโยคถือเป็น สิ่งที่เหมาะสมที่สุด ดังนั้น ผู้เรียนควรมีพจนานุกรมไทย – จีน และจีน – ไทย เพื่อให้มีคลังคำาสำาหรับการสร้าง ประโยคและค้นหาความหมาย To remember parts of speech and functions of them is important to learn Thai language because it helps the arrangement of sentence correctly. Although some parts of speech have many function, on the whole the correct words matching their functions is the best fit. Therefore, the learner should have Thai – Chinese dictionary and Chinese – Thai one being a word repository for making sentences and looking up. แบบฝึกหัดที่ 2 1. คำามีกี่ประเภท จงอธิบาย 5 3
  • 54. --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------- 2. จงยกตัวอย่างคำานามจำานวน 10 คำา พร้อมอ่านออก เสียง --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- -------------------------------------------- 3. จงยกตัวอย่างคำากริยาจำานวน 10 คำา พร้อมอ่านออก เสียง --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- ---------- 4. จงยกตัวอย่างคำาวิเศษณ์จำานวน 10 คำา พร้อมอ่าน ออกเสียง --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- 5 4
  • 55. --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------- ---------- 5. จากคำาที่กำาหนดให้ จงเติมลงในช่องว่างให้เหมาะสม ข้ามถนน ที่ ระหว่าง สิ่งแวดล้อม แต่ สิ่ง ตอบแทน ซาบซึ้ง ผู้ร้าย สะพานลอย แพงกว่า โดย เขา ฉัน นัท ใคร เช้า เย็น ดำา ห้าม ขาว อุ๊ย ใครก็ได้ ความขยัน นะ เพราะ เดินเล่น คนไหน ริมทางเดิน เนื่องจาก 5.1 เขาทำาความดีโดยไม่หวัง_________ 5.2 อากาศร้อนขึ้นเพราะ________เปลี่ยนแปลง 5.3 เขาอยากไป___________ที่สวนสาธารณะ 5.4 ตำารวจไล่จับ___________ 5.5 นักศึกษาไม่มาเข้าเรียน__________ต้องไปทำา กิจกรรม 5.6 โทรศัพท์มือถือที่เมืองจีนมี ราคา__________เมืองไทย 5.7 เมื่อต้องการ_________ควร ใช้______________ 5.8 __________และความตั้งใจช่วยให้เรียนได้ดี 5.9 ไม่มีนักเรียน__________ได้รับรางวัลจากการ แข่งขัน 5.10นักร้องมีรายได้มาก__________ก็มีเวลาพัก ผ่อนน้อย 5 5
  • 56. 5.11เสื้อที่อยู่________กระโปรงสองตัวนั้นเป็นของ ฉัน 5.12ในโรงภาพยนตร์เหลือแต่ที่นั่ง______ 5.13คุณไม่ควรไปสาย________จะทำาให้ถูกตำาหนิ 5.14คน___ส่งงานแล้ว กลับบ้านได้ 5.15อะไรที่คุณทำาเพื่อฉัน ฉัน___________มาก 5.16แม่พาน้องไปโรงเรียน________การเดิน 5.17อาจารย์_______สอนภาษาไทย 5.18_______จะไปดูการแข่งขันกีฬาพรุ่งนี้ 5.19_______บอก______ว่า เขาไม่สบาย 5.20___________ไปกินข้าวเป็นเพื่อนฉันหน่อย 5.21เราไปอ่านหนังสือที่ห้องสมุดด้วยกัน________ 5.22สุนัขสี_______กับแมวสี_______กำาลังกัดกัน 5.23_________เดินลัดสนาม 5.24_________ตกใจหมดเลย 5.25เราเคารพธงชาติในเวลา_____และ________ 6. จงบอกชนิดของคำาทุกคำาในข้อความต่อไปนี้ จีนไม่เพียงแต่เป็นประเทศอันกว้างใหญ่ไพศาลแต่ยัง มีอารยธรรมอันเก่าแก่ และมี ประวัติศาสตร์ที่สืบเนื่องยาวนานกว่าชาติอื่นใดในโลก _________________________________________ _________________________________________ _________________________________________ _________________________________________ _________________________________________ _________________________________________ _________________________________________ _________________________________________ _________________________________________ _____________________ บทที่ 3 การสร้างคำาในภาษาไทย 5 6
  • 57. การสร้างคำา (Word making) ภาษาไทย เป็นภาษาในตระกูลคำาโดด (ไม่ เปลี่ยนแปลงรูปคำา) และมีการกำาหนดคำาแทนความหมาย ต่างๆ ขึ้น เรียกว่า คำามูล ซึ่งเป็นคำาตั้งขึ้นเอง หรือยืมมา จากภาษาอื่น คำามูล เป็นคำาถือเป็นรากของคำานั้น ๆ แล้ว ไม่อาจจะแยกต่อไปได้อีก หรือเมื่อแยกแล้ว ได้คำาที่ไม่ สอดคล้องกับความหมายเดิม เช่น ตา ยาย แม่ กิน นอน ศาสนา เขนย ขบ เป็นต้น Thai language is an isolating language (no changes within words) and there is a word definition to represent meaning. These words call root word (คำามูล). Root words may be made by own Thais but some are loaned from other language. Root words cannot separate any more so root words can be one or more syllable. ข้อควรสังเกต นาที เป็นคำามูล ไม่สามารถแยกได้อีก แม้ว่า นา และ ที จะมีความหมายแต่ไม่ สัมพันธ์กับความหมายในบริบทที่ต้องเกี่ยวเนื่องกับเวลา ไฟฟ้า เป็นคำาประสม ที่มาจาก ไฟ และ ฟ้า ที่ต่างก็มี ความหมาย และเมื่อรวมแล้ว กลายเป็นคำาใหม่ที่มีเค้าความ หมายเดิม คือ ไฟ Tip for consideration which one is root word or compound word. นาที (minute) it is a root word, it cannot separate any more even if it comes from นา (field) และ ที (times) having their own meaning but they do not relate time. ไฟฟ้า (electricity) it is a compound word, because it can separate then having meaning related to electricity. This word comes from ไฟ (fire) 5 7
  • 58. and ฟ้า (sky). In Thai language ไฟ means something gives brightness so ไฟฟ้า is a compound word. เนื่องจากมีคำามูลจากหลายภาษาปะปนอยู่ในภาษา ไทย จึงควรศึกษาที่มาของคำาประเภทต่างๆ นี้ไว้เพื่อให้ เข้าใจถึงเหตุผลของการเขียนคำาที่ถูกต้อง คำามูลภาษาไทย 1. มีตัวสะกดตรงตามมาตรา มีพยางค์เดียวเป็นส่วน มาก เช่น นั่ง นอน พ่อ แม่ น้า งู กา หากมีหลายพยางค์ อาจเกิดจากการกร่อนเสียง แทรก เสียง เติมพยางค์ เช่น หมากม่วง – มะม่วง ต้นขบ – ตะขบ สายเอว – สะเอว ผักเฉด – ผักกะเฉด ลูกดุม – ลูกกระดุม นกจิบ – นก กระจิบ โจน – กระโจน โดด – กระโดด 2. ไม่นิยมควบกลำ้า ไม่มีตัวการันต์ มีความหมาย หลายอย่างในลักษณะพ้องรูป เช่น เพลา อ่านว่า เพ – ลา แปลว่า เวลา เพลา อ่านว่า เพลา แปลว่า ส่วน ประกอบของรถ แหนอ่านว่า แหน แปลว่า หวง แหนอ่านว่า แหนฺ แปลว่า พืชชนิดหนึ่ง 5 8
  • 59. 3. มีรูปวรรณยุกต์กำากับ ใช้ ใ เป็นส่วนใหญ่และใช้ ไ กับคำาอ่าน ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ มิหลงใหลใครขอดู จะใคร่ลงเรือใบ ดูนำ้าใสและปลาปู สิ่งใดอยู่ในตู้ มิใช่อยู่ใต้ตั่งเตียง บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ยี่สิบม้วนจำาจงดี ข้อสังเกต คำาว่า ศอก ศึก เศิก เศร้า ศก กระดาษ ดาษ ฝีดาษ ฝรั่งเศส เป็นคำาไทยแท้ คำามูลภาษาบาลี (ท่อง พยัญชนะวรรค ข้างต้น) 1. มีตัวสะกดซำ้ากับพยัญชนะถัดไป 2. ไม่มี ศ ษ 3. ใช้ ฬ แทน ฑ 4. ไม่มี ฤ ฤา ฦ ฦๅ รร คำามูลภาษาสันสกฤต 1. มีตัวควบกลำ้า 2. มี รร ศ ษ ฤ ฤา ฑ สถ ข้อเปรียบเทียบระหว่างคำามูลภาษาบาลี บาลี สันสกฤต คห คฤห อิทธิ ฤทธิ์ อิสิ ฤษี อุตุ ฤดู จักก จักร สุกก์ ศุกร์ ขณะ กษณะ ขัตติยะ กษัตริย์ เขต เกษตร 5 9
  • 60. สิกขา ศึกษา อัคค อัคร นิจจ์ นิตย์ สัจจะ สัตยา อาทิจจ อาทิตย วิชชา วิทยา มัชฌิม มัธยม ปัญญา ปรัชญา กัญญา กันยา สามัญ สามานย์ ถาวร สถาพร สมุทท สมุทร กัปป์ กัลป์ ธัมม ธรรม วิเสส วิเศษ s คำามูลภาษาเขมร 1. มีคำาว่า บัง บัน บรร บำา เช่น บังคับ บังคม บันได บันดาล บันลือ บำาบัด บำาเหน็จ บังเหียน 2. คำาเหล่านี้ เหมือนคำามูลภาษาไทย แต่ที่จริง คือ คำา เขมร แข โลด เดิน นัก อวย ศก เลิก บาย มาน 3. คำาที่ใช้กับพระมหากษัตริย์ ส่วนมากมาจากเขมร เขนย ขนง เสด็จ สมเด็จ อาจ ไถง 4. สะกดด้วย จ ร ล ญ เช่น อร ถวิล เพ็ญ ครวญ อัญเชิญ คำามูลภาษาจีน 6 0
  • 61. เจ้าสัว โจ๊ก เจ๊ง เจ๋ง เกาเหลา เก้าอี้ กวยจั๊บ ก๋วยเตี๋ยว โต๊ะ เกี๊ยะ เกี๊ยว เจี๊ยะ แป๊ะ ซิ้ม โสหุ้ย เย็นตาโฟ เก๋ง ซูฮก หลงจู๊ เจ๊ เตี่ย เล้ง เต็ง เขียม ก๊ก คำามูลภาษาญี่ปุ่น คาราเต้ เคนโด้ กิโมโน ซามูไร ซูโม่ คำามูลภาษาเปอร์เซีย กุหลาบ ชุกชี สุหร่าย ยี่หร่า คาราวาน คำามูลภาษาทมิฬ ตะกั่ว อาจาด สาเก กุลี คำามูลภาษาชวา มลายู มังคุด มะละกอ บุหลัน บุหรง น้อยหน่า กริช โสร่ง สลัด คำามูลภาษาโปรตุเกส สบู่ ปิ่นโต เหรียญ กะละแม บาทหลวง คำามูลภาษาฝรั่งเศส กงสุล กรัม ลิตร โชเฟอร์ บุฟเฟต์ คิว เมตร กรัม ปาร์เก้ คาเฟ่ 6 1