SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
Naranjo's algorithm: สําหรับประเมินความสัมพันธระหวางอาการไมพึงประสงคกับยาที่สงสัย
ชื่อผูปวย..................................................................................HN……………………………..อายุ…………………
ยาที่สงสัย.……….… …………………….. อาการไมพึงประสงค …………………………….…….……………
เลขที่แบบรายงาน ……………………… โรงพยาบาล ….………………………………………………..
คําถาม ใช ไมใช ไมทราบ คะแนน
1. เคยมีสรุปหรือรายงานการปฏิกิริยานี้มาแลวหรือไม +1 0 0
2. อาการไมพึงประสงคนี้เกิดขึ้นภายหลังจากไดรับยาที่คิดวาเปน
สาเหตุหรือไม
+2 -1 0
3. อาการไมพึงประสงคนี้ดีขึ้นเมื่อหยุดยาดังกลาว หรือเมื่อใหยา
ตานที่จําเพาะเจาะจง (specific antagonist) หรือไม
+1 0 0
4. อาการไมพึงประสงคดังกลาวเกิดขึ้นอีกเมื่อเริ่มใหยาใหม
หรือไม
+2 -1 0
5. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสามารถเกิดจากสาเหตุอื่น (นอกเหนือจากยา)
ของผูปวยไดหรือไม
-1 +2 0
6. ปฏิกิริยาดังกลาวเกิดขึ้นอีก เมื่อใหยาหลอกหรือไม -1 +1 0
7. สามารถตรวจวัดปริมาณยาไดในเลือด (หรือของเหลวอื่น) ใน
ปริมาณความเขมขนที่เปนพิษหรือไม
+1 0 0
8. ปฏิกิริยารุนแรงขึ้น เมื่อเพิ่มขนาดยาหรือลดความรุนแรงลงเมื่อ
ลดขนาดยาหรือไม
+1 0 0
9. ผูปวยเคยมีปฏิกิริยาที่เหมือนหรือคลายคลึงกันนี้มากอน ในการ
ไดรับยาครั้งกอน ๆ หรือไม
+1 0 0
10. อาการไมพึงประสงคนี้ ไดรับการยืนยันโดยหลักฐานที่เปน
รูปธรรม (objective evidence)หรือไม
+1 0 0
รวม
สรุป ระดับคะแนน คะแนนมากกวาหรือเทากับ 9 Definite ใชแน
คะแนนเทากับ 5-8 Probable ใช
คะแนนเทากับ 1-4 Possible อาจจะใช
คะแนนนอยกวาหรือเทากับ 0 Doubtful นาสงสัย
ลงชื่อ .....................................ผูประเมิน
วันที่........................................
คําแนะนําการกรอก Naranjo's algorithm
คําแนะนําทั่วไป
1. แบบ Naranjo,s algorithm 1 ฉบับ ใชประเมินความสัมพันธระหวางอาการไมพึงประสงค 1 ชนิด กับยา 1 ชนิด
2. Naranjo,s algorithm ประกอบดวย คําถาม 10 ขอ โดยมีคะแนนกํากับในกรณีที่ตอบ "ใช" "ไมใช" หรือ "ไมทราบ" นํา
คะแนนที่ตอบไดมารวมกันแลวจัดลําดับคะแนน
คะแนนนอยกวา 1 เปนระดับ "Doubtful" (นาสงสัย)
คะแนนเทากับ 1-4 เปนระดับ "Possible" (อาจจะใช)
คะแนนเทากับ 5-8 เปนระดับ "Probable" (นาจะใช)
คะแนนมากกวา 8 ขึ้นไป ระดับ "Definite" (ใชแน)
3.
บันทึกชื่อยาที่สงสัย และความผิดปกติที่พบ ชื่อโรงพยาบาล พรอมเลขที่รายงาน(ศูนยแมขาย) ในแบบ Naranjo's
algorithm
คําอธิบายคําถามในแบบ Naranjo's algorithm
ขอที่ 1 เคยมีสรุปหรือรายงานการเกิดปฏิกิริยานี้มาแลวหรือไม
หมายถึง : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น เคยมีการสรุปหรือรายงานมากอนวา มีความ สัมพันธกับยาที่สงสัยใช
หรือไม
วิธีบันทึก :
(1) กรณีที่เคยมีสรุปหรือรายงานมากอน เชน ยา Penicillin ทําใหเกิดผื่นคัน ใหบันทึกคะแนน = +1
(2) กรณีที่ไมเคยมีการสรุปหรือรายงานมากอนใหบันทึกคะแนน = 0
(3) กรณีที่ไมทราบวาเคยมีการสรุป หรือรายงานมากอนหรือไมใหบันทึกคะแนน = 0
ขอที่ 2 อาการไมพึงประสงคนี้เกิดขึ้นภายหลังจากไดรับยาที่สงสัยวาเปนสาเหตุ หรือไม
หมายถึง : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น พบวาเกิดขึ้นในชวงเวลาภายหลังจากที่ไดรับยาที่สงสัยใชหรือไม
วิธีบันทึก :
(1)
กรณีที่อาการไมพึงประสงคนั้นเกิดภายหลังจากไดรับยาที่สงสัย เชน รับประทานยา penicillin วันที่ 10
มกราคม 2543 ตอนบายหรือเกิดหลังจากวันที่ 10 มกราคม 2543 ตอนเชาเกิดอาการผื่นคัน ใหบันทึก
คะแนน = +2
(2)
กรณีที่อาการไมพึงประสงคนั้น เกิดขึ้นกอนวันที่ไดรับยาที่สงสัย เชนpenicillin วันที่ 10 มกราคม 2544
แตเกิดอาการผื่นคันวันที่ 9 มกราคม 2544 หรือกอนหนานั้น ใหบันทึกคะแนน = -1
(3) กรณีไมทราบขอมูลวันที่เกิดอาการไมพึงประสงค และวันที่ไดรับยา ใหบันทึกคะแนน = 0
ขอที่ 3 อาการไมพึงประสงคนี้ดีขึ้นเมื่อหยุดยาดังกลาวหรือเมื่อใหยาตานที่จําเพาะเจาะจง (specific antagonist) หรือไม
หมายถึง : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น มีอาการดีขึ้นเมื่อหยุดยาที่สงสัย หรือเมื่อไดรับยาตานอาการที่จําเพาะเจาะจง
ใชหรือไม
วิธีบันทึก :
(1)
กรณีที่อาการไมพึงประสงคมีอาการดีขึ้น เมื่อหยุดยาที่สงสัย เชน เกิดอาการผื่นคัน หลังจากการไดรับ
ยา penicillin และเมื่อหยุดยา penicillin หรือเมื่อใหยาตานที่เฉพาะเจาะจงปรากฎวาอาการผื่นคัน
บรรเทาหรือหายไป บันทึกคะแนน = +1
(2)
กรณีที่อาการไมพึงประสงคไมดีขึ้น แมวาจะมีการหยุดยาที่สงสัย หรือเมื่อมีการใหยาตานเฉพาะเจาะจง
เชนเกิดอาการผื่นคัน หลังจากไดรับยา penicillin แตเมื่อหยุดยา penicillin หรือใหยาตานเฉพาะเจาะจง
แลวปรากฏวาผื่นคันยังคงอยูไมทุเลา ใหบันทึกคะแนน = 0
(3)
กรณีไมมีหรือไมทราบขอมูลอาการไมพึงประสงคภายหลังหยุดใชยา หรือภายหลังไดยาตาน
เฉพาะเจาะจง ใหบันทึกคะแนน = 0
ขอที่ 4 อาการไมพึงประสงคดังกลาวเกิดขึ้นอีกเมื่อเริ่มใหยาใหมซ้ําหรือไม
หมายถึง : อาการไมพึงประสงคดังกลาว เกิดขึ้นซ้ําอีกหรือไมเมื่อมีการใหยาที่สงสัยซ้ําอีกครั้ง
วิธีบันทึก :
(1)
กรณีที่เกิดอาการไมพึงประสงคแลวอาการดังกลาวหายไป ตอมาไดรับยาที่สงสัยเดิม เขาไปใหมอีก
ปรากฎอาการไมพึงประสงคเดิมเกิดขึ้นอีก เชน เกิดอาการผื่นคัน ภายหลังไดรับ penicillin เมื่อหยุดยา
penicillin ปรากฎวาอาการผื่นคันทุเลาและหายไป ตอไมไดรับยา penicillin เขาไปใหม (ไมวาจงใจ
ทดลองใชหรือไดรับเขาไปโดยไมตั้งใจ) ปรากฎวาอาการผื่นคันเกิดขึ้นอีกเชนเดียวกับครั้งกอนหนานี้
ใหบันทึกคะแนน = +2
(2) กรณีที่ดําเนินการเชนเดียวกับกรณีที่ 1 แตอาการไมพึงประสงคไมเกิดขึ้นอีกใหบันทึกคะแนน = -1
(3)
กรณีที่ไมทราบหรือไมมีขอมูลวามีการใหยาที่สงสัยใหมอีกครั้งหรือไม หรือไมทราบ หรือไมมีขอมูล
ผลการใหยาที่สงสัยใหมอีกวาเปนอยางไร ใหบันทึกคะแนน = 0
ขอที่ 5 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสามารถเกิดจากสาเหตุอื่น (นอกเหนือจากยา) ของผูปวยไดหรือไม
หมายถึง : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น สามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุอื่น (เชนโรคประจําตัว เปนตน (นอกเหนือจากยา)
ของผูปวยไดหรือไม
วิธีบันทึก :
(1)
กรณีที่อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นสามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุอื่นของผูปวยได เชน ผูปวยไดรับยา
cisparide แลวเกิดอาการไมพึงประสงคเกี่ยวกับการเตนของหัวใจผิดปกติ โดยที่ผูปวยเปนโรคหัวใจอยู
กอนแลว ใหบันทึกคะแนน = -1
(2)
กรณีที่อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น ไมสามารถระบุไดวาเกิดจากสาเหตุอื่นของผูปวยใหบันทึก
คะแนน = +2
(3)
กรณีที่ไมทราบหรือไมมีขอมูลวา อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นสามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุอื่นของ
ผูปวยไดหรือไม ใหบันทึกคะแนน = 0
ขอที่ 6 ปฏิกิริยาดังกลาวเกิดขึ้นอีก เพื่อใหยาหลอก (placebo) หรือไม
หมายถึง : เมื่อมีการใหยาหลอก ภายหลังจากอาการไมพึงประสงคไดหายแลว อาการไมพึงประสงคดังกลาวเกิดขึ้น
อีกใชหรือไม
วิธีบันทึก :
(1) กรณีที่ใหยาหลอกแลว อาการไมพึงประสงคดังกลาวเกิดขึ้นอีกใหบันทึกคะแนน = -1
(2) กรณีที่ใหยาหลอกแลว อาการไมพึงประสงคดังกลาวไมเกิดขึ้นใหบันทึกคะแนน = +1
(3)
กรณีไมทราบหรือไมมีขอมูลวาภายหลังการใหยาหลอก อาการไมพึงประสงคดังกลาวเปนอยางไร ให
บันทึกคะแนน = 0
ขอที่ 7 สามารถตรวจวัดปริมาณยาในเลือด (หรือของเหลงอื่น) ที่ในปริมาณความเขมขนที่เปนพิษหรือไม
หมายถึง : เมื่อตรวจวัดปริมาณยาใหเลือด (หรือของเหลวอื่น) ภายหลังเกิดอาการไมพึงประสงค แลวพบปริมาณความ
เขมขนของยาในเลือดที่บงบอกวาเปนพิษหรือไม
วิธีบันทึก :
(1)
กรณีเมื่อเกิดอาการไมพึงประสงคแลว ตรวจวัดปริมาณยาในเลือดพบความเขมขนของยาอยูในชวงที่
เปนพิษ เชน เกิดอาการหัวใจเตนผิดปกติ หายใจขัด ภายหลังไดรับ digoxin และเมื่อตรวจวัดปริมาณยา
digoxin ในเซรั่ม พบความเขมขันมากกวา 2 ng/ml ซึ่งเปนปริมาณความเขมขนในชวงที่ทําใหเกิดพิษ
ใหบันทึกคะแนน = +1
(2)
กรณีเชนเดียวกันกับกรณีที่ 1 แตปริมาณความเขมขนของยาไมไดอยูในชวงที่ไมทําใหเกิดพิษ ต่ํากวา 2
ng/ml ใหบันทึกคะแนน = 0
(3) กรณีที่ไมมีขอมูลการตรวจวัดปริมาณยาในเลือดของยาที่สงสัยใหบันทึกคะแนน = 0
ขอที่ 8 ปฏิกิริยารุนแรงขึ้น เมื่อเพิ่มขนาดยาหรือลดความรุนแรงลงเมื่อลดขนาดยาหรือไม
หมายถึง : ความรุนแรงของอาการไมพึงประสงคเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามขนาดยาที่ไดรับใชหรือไม
วิธีบันทึก :
(1)
กรณีที่อาการไมพึงประสงคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มขนาดยา เชน ภาวะหัวใจเตนผิดปกติ จากการ
ไดรับยา digoxin มีอาการรุนแรงมากขึ้น เมื่อขนาดยาเพิ่มขึ้น ใหบันทึกคะแนน = +1
(2)
กรณีเชนเดียวกับกรณีที่ 1 ถาภาวะหัวใจเตนผิดปกติมีความรุนแรงลดลงเมื่อลดขนาดยา digoxin ให
บันทึกคะแนน = 0
(3)
กรณีที่ไมไมมีขอมูลวา อาการไมพึงประสงคจะมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามขนาดยาที่ได
เพิ่มขึ้นหรือลดลง ใหบันทึกคะแนน = 0
ขอที่ 9 ผูปวยเคยมีปฏิกิริยาที่เหมือนหรือคลายคลึงกันนี้มากอน เมื่อไดรับยานี้ในครั้งกอน ๆ หรือไม
หมายถึง : ผูปวยเคยมีประวัติเกิดอาการไมพึงประสงคลักษณะที่เหมือนหรือคลายคลึงกับอาการในครั้งนี้ จากการ
ไดรับยาที่สงสัยนี้มากอนหรือไม
วิธีบันทึก :
(1)
กรณีที่ผูปวยเคยมีประวัติเกิดอาการไมพึงประสงคลักษณะที่เหมือนหรือคลายคลึงกับอาการไมพึง
ประสงคในครั้งนี้ ภายหลังจากรับยาที่สงสัย เชน ผูปวยไดรับยา penicillin แลวเกิดอาการผื่นคัน และ
ผูปวยเคยมีประวัติ เกิดอาการผื่นคัน หลังจากไดรับ penicillin มากอนในลักษณะกับเหมือนหรือ
คลายคลึงกันที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ ใหบันทึกคะแนน = +1
(2)
กรณีเชนเดียวกับกรณีที่ 1 ถาผูปวยไมเคยมีประวัติวาเกิดอาการผื่นคันภายหลังไดรับ penicillin ให
บันทึกคะแนน= 0
(3)
กรณีที่ไมทราบ หรือไมมีขอมูลวาผูปวยเคยมีประวัติเกิดอาการไมพึงประสงค ในลักษณะเหมือนหรือ
คลายคลึงกับอาการที่เกิดในครั้งนี้มากอนใหบันทึกคะแนน= 0
ขอที่ 10 อาการไมพึงประสงคนี้ ไดรับการยืนยันโดยหลักฐานที่เปนรูปธรรม (objective evidence) หรือไม
หมายถึง : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ มีหลักฐานที่เปนรูปธรรม เชนผลตรวจทางหองปฏิบัติการ ผลตรวจ
EKG ผลการวัดความดัน เปนตน ที่ยืนยันวาเกิดอาการไมพึงประสงคนั้น หรือไม
วิธีบันทึก :
(1) กรณีที่อาการไมพึงประสงคนั้น มีหลักฐานที่เปนรูปธรรมวาเกิดอาการไมพึงประสงคดังกลาว เชนเกิด
ภาวะตับอักเสบ และผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ พบระดับ AST, ALT สูงกวาคาปกติ ใหบันทึก
คะแนน = +1
(2)
กรณีเชนเดียวกับขอ 1 แตผลการตรวจทางหองปฏิบัติการพบ AST, ALT อยูในระดับคาปกติ ใหบันทึก
คะแนน = 0
(3) กรณีที่ไมมีหลักฐานที่เปนรูปธรรมที่สามารถยืนยันอาการไมพึงประสงค นั้น ใหบันทึกคะแนน = 0

More Related Content

What's hot

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
Rachanont Hiranwong
 

What's hot (20)

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 

Viewers also liked

Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Montree Dangreung
 

Viewers also liked (14)

Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
Thaialgorithm Slide
Thaialgorithm SlideThaialgorithm Slide
Thaialgorithm Slide
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
Curriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat editCurriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat edit
 
Resume2
Resume2Resume2
Resume2
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 

Naranjo

  • 1. Naranjo's algorithm: สําหรับประเมินความสัมพันธระหวางอาการไมพึงประสงคกับยาที่สงสัย ชื่อผูปวย..................................................................................HN……………………………..อายุ………………… ยาที่สงสัย.……….… …………………….. อาการไมพึงประสงค …………………………….…….…………… เลขที่แบบรายงาน ……………………… โรงพยาบาล ….……………………………………………….. คําถาม ใช ไมใช ไมทราบ คะแนน 1. เคยมีสรุปหรือรายงานการปฏิกิริยานี้มาแลวหรือไม +1 0 0 2. อาการไมพึงประสงคนี้เกิดขึ้นภายหลังจากไดรับยาที่คิดวาเปน สาเหตุหรือไม +2 -1 0 3. อาการไมพึงประสงคนี้ดีขึ้นเมื่อหยุดยาดังกลาว หรือเมื่อใหยา ตานที่จําเพาะเจาะจง (specific antagonist) หรือไม +1 0 0 4. อาการไมพึงประสงคดังกลาวเกิดขึ้นอีกเมื่อเริ่มใหยาใหม หรือไม +2 -1 0 5. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสามารถเกิดจากสาเหตุอื่น (นอกเหนือจากยา) ของผูปวยไดหรือไม -1 +2 0 6. ปฏิกิริยาดังกลาวเกิดขึ้นอีก เมื่อใหยาหลอกหรือไม -1 +1 0 7. สามารถตรวจวัดปริมาณยาไดในเลือด (หรือของเหลวอื่น) ใน ปริมาณความเขมขนที่เปนพิษหรือไม +1 0 0 8. ปฏิกิริยารุนแรงขึ้น เมื่อเพิ่มขนาดยาหรือลดความรุนแรงลงเมื่อ ลดขนาดยาหรือไม +1 0 0 9. ผูปวยเคยมีปฏิกิริยาที่เหมือนหรือคลายคลึงกันนี้มากอน ในการ ไดรับยาครั้งกอน ๆ หรือไม +1 0 0 10. อาการไมพึงประสงคนี้ ไดรับการยืนยันโดยหลักฐานที่เปน รูปธรรม (objective evidence)หรือไม +1 0 0 รวม สรุป ระดับคะแนน คะแนนมากกวาหรือเทากับ 9 Definite ใชแน คะแนนเทากับ 5-8 Probable ใช คะแนนเทากับ 1-4 Possible อาจจะใช คะแนนนอยกวาหรือเทากับ 0 Doubtful นาสงสัย ลงชื่อ .....................................ผูประเมิน วันที่........................................
  • 2. คําแนะนําการกรอก Naranjo's algorithm คําแนะนําทั่วไป 1. แบบ Naranjo,s algorithm 1 ฉบับ ใชประเมินความสัมพันธระหวางอาการไมพึงประสงค 1 ชนิด กับยา 1 ชนิด 2. Naranjo,s algorithm ประกอบดวย คําถาม 10 ขอ โดยมีคะแนนกํากับในกรณีที่ตอบ "ใช" "ไมใช" หรือ "ไมทราบ" นํา คะแนนที่ตอบไดมารวมกันแลวจัดลําดับคะแนน คะแนนนอยกวา 1 เปนระดับ "Doubtful" (นาสงสัย) คะแนนเทากับ 1-4 เปนระดับ "Possible" (อาจจะใช) คะแนนเทากับ 5-8 เปนระดับ "Probable" (นาจะใช) คะแนนมากกวา 8 ขึ้นไป ระดับ "Definite" (ใชแน) 3. บันทึกชื่อยาที่สงสัย และความผิดปกติที่พบ ชื่อโรงพยาบาล พรอมเลขที่รายงาน(ศูนยแมขาย) ในแบบ Naranjo's algorithm คําอธิบายคําถามในแบบ Naranjo's algorithm ขอที่ 1 เคยมีสรุปหรือรายงานการเกิดปฏิกิริยานี้มาแลวหรือไม หมายถึง : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น เคยมีการสรุปหรือรายงานมากอนวา มีความ สัมพันธกับยาที่สงสัยใช หรือไม วิธีบันทึก : (1) กรณีที่เคยมีสรุปหรือรายงานมากอน เชน ยา Penicillin ทําใหเกิดผื่นคัน ใหบันทึกคะแนน = +1 (2) กรณีที่ไมเคยมีการสรุปหรือรายงานมากอนใหบันทึกคะแนน = 0 (3) กรณีที่ไมทราบวาเคยมีการสรุป หรือรายงานมากอนหรือไมใหบันทึกคะแนน = 0 ขอที่ 2 อาการไมพึงประสงคนี้เกิดขึ้นภายหลังจากไดรับยาที่สงสัยวาเปนสาเหตุ หรือไม หมายถึง : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น พบวาเกิดขึ้นในชวงเวลาภายหลังจากที่ไดรับยาที่สงสัยใชหรือไม วิธีบันทึก : (1) กรณีที่อาการไมพึงประสงคนั้นเกิดภายหลังจากไดรับยาที่สงสัย เชน รับประทานยา penicillin วันที่ 10 มกราคม 2543 ตอนบายหรือเกิดหลังจากวันที่ 10 มกราคม 2543 ตอนเชาเกิดอาการผื่นคัน ใหบันทึก คะแนน = +2 (2) กรณีที่อาการไมพึงประสงคนั้น เกิดขึ้นกอนวันที่ไดรับยาที่สงสัย เชนpenicillin วันที่ 10 มกราคม 2544 แตเกิดอาการผื่นคันวันที่ 9 มกราคม 2544 หรือกอนหนานั้น ใหบันทึกคะแนน = -1 (3) กรณีไมทราบขอมูลวันที่เกิดอาการไมพึงประสงค และวันที่ไดรับยา ใหบันทึกคะแนน = 0 ขอที่ 3 อาการไมพึงประสงคนี้ดีขึ้นเมื่อหยุดยาดังกลาวหรือเมื่อใหยาตานที่จําเพาะเจาะจง (specific antagonist) หรือไม
  • 3. หมายถึง : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น มีอาการดีขึ้นเมื่อหยุดยาที่สงสัย หรือเมื่อไดรับยาตานอาการที่จําเพาะเจาะจง ใชหรือไม วิธีบันทึก : (1) กรณีที่อาการไมพึงประสงคมีอาการดีขึ้น เมื่อหยุดยาที่สงสัย เชน เกิดอาการผื่นคัน หลังจากการไดรับ ยา penicillin และเมื่อหยุดยา penicillin หรือเมื่อใหยาตานที่เฉพาะเจาะจงปรากฎวาอาการผื่นคัน บรรเทาหรือหายไป บันทึกคะแนน = +1 (2) กรณีที่อาการไมพึงประสงคไมดีขึ้น แมวาจะมีการหยุดยาที่สงสัย หรือเมื่อมีการใหยาตานเฉพาะเจาะจง เชนเกิดอาการผื่นคัน หลังจากไดรับยา penicillin แตเมื่อหยุดยา penicillin หรือใหยาตานเฉพาะเจาะจง แลวปรากฏวาผื่นคันยังคงอยูไมทุเลา ใหบันทึกคะแนน = 0 (3) กรณีไมมีหรือไมทราบขอมูลอาการไมพึงประสงคภายหลังหยุดใชยา หรือภายหลังไดยาตาน เฉพาะเจาะจง ใหบันทึกคะแนน = 0 ขอที่ 4 อาการไมพึงประสงคดังกลาวเกิดขึ้นอีกเมื่อเริ่มใหยาใหมซ้ําหรือไม หมายถึง : อาการไมพึงประสงคดังกลาว เกิดขึ้นซ้ําอีกหรือไมเมื่อมีการใหยาที่สงสัยซ้ําอีกครั้ง วิธีบันทึก : (1) กรณีที่เกิดอาการไมพึงประสงคแลวอาการดังกลาวหายไป ตอมาไดรับยาที่สงสัยเดิม เขาไปใหมอีก ปรากฎอาการไมพึงประสงคเดิมเกิดขึ้นอีก เชน เกิดอาการผื่นคัน ภายหลังไดรับ penicillin เมื่อหยุดยา penicillin ปรากฎวาอาการผื่นคันทุเลาและหายไป ตอไมไดรับยา penicillin เขาไปใหม (ไมวาจงใจ ทดลองใชหรือไดรับเขาไปโดยไมตั้งใจ) ปรากฎวาอาการผื่นคันเกิดขึ้นอีกเชนเดียวกับครั้งกอนหนานี้ ใหบันทึกคะแนน = +2 (2) กรณีที่ดําเนินการเชนเดียวกับกรณีที่ 1 แตอาการไมพึงประสงคไมเกิดขึ้นอีกใหบันทึกคะแนน = -1 (3) กรณีที่ไมทราบหรือไมมีขอมูลวามีการใหยาที่สงสัยใหมอีกครั้งหรือไม หรือไมทราบ หรือไมมีขอมูล ผลการใหยาที่สงสัยใหมอีกวาเปนอยางไร ใหบันทึกคะแนน = 0 ขอที่ 5 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสามารถเกิดจากสาเหตุอื่น (นอกเหนือจากยา) ของผูปวยไดหรือไม หมายถึง : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น สามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุอื่น (เชนโรคประจําตัว เปนตน (นอกเหนือจากยา) ของผูปวยไดหรือไม วิธีบันทึก : (1) กรณีที่อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นสามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุอื่นของผูปวยได เชน ผูปวยไดรับยา cisparide แลวเกิดอาการไมพึงประสงคเกี่ยวกับการเตนของหัวใจผิดปกติ โดยที่ผูปวยเปนโรคหัวใจอยู กอนแลว ใหบันทึกคะแนน = -1 (2) กรณีที่อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น ไมสามารถระบุไดวาเกิดจากสาเหตุอื่นของผูปวยใหบันทึก คะแนน = +2 (3) กรณีที่ไมทราบหรือไมมีขอมูลวา อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นสามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุอื่นของ ผูปวยไดหรือไม ใหบันทึกคะแนน = 0
  • 4. ขอที่ 6 ปฏิกิริยาดังกลาวเกิดขึ้นอีก เพื่อใหยาหลอก (placebo) หรือไม หมายถึง : เมื่อมีการใหยาหลอก ภายหลังจากอาการไมพึงประสงคไดหายแลว อาการไมพึงประสงคดังกลาวเกิดขึ้น อีกใชหรือไม วิธีบันทึก : (1) กรณีที่ใหยาหลอกแลว อาการไมพึงประสงคดังกลาวเกิดขึ้นอีกใหบันทึกคะแนน = -1 (2) กรณีที่ใหยาหลอกแลว อาการไมพึงประสงคดังกลาวไมเกิดขึ้นใหบันทึกคะแนน = +1 (3) กรณีไมทราบหรือไมมีขอมูลวาภายหลังการใหยาหลอก อาการไมพึงประสงคดังกลาวเปนอยางไร ให บันทึกคะแนน = 0 ขอที่ 7 สามารถตรวจวัดปริมาณยาในเลือด (หรือของเหลงอื่น) ที่ในปริมาณความเขมขนที่เปนพิษหรือไม หมายถึง : เมื่อตรวจวัดปริมาณยาใหเลือด (หรือของเหลวอื่น) ภายหลังเกิดอาการไมพึงประสงค แลวพบปริมาณความ เขมขนของยาในเลือดที่บงบอกวาเปนพิษหรือไม วิธีบันทึก : (1) กรณีเมื่อเกิดอาการไมพึงประสงคแลว ตรวจวัดปริมาณยาในเลือดพบความเขมขนของยาอยูในชวงที่ เปนพิษ เชน เกิดอาการหัวใจเตนผิดปกติ หายใจขัด ภายหลังไดรับ digoxin และเมื่อตรวจวัดปริมาณยา digoxin ในเซรั่ม พบความเขมขันมากกวา 2 ng/ml ซึ่งเปนปริมาณความเขมขนในชวงที่ทําใหเกิดพิษ ใหบันทึกคะแนน = +1 (2) กรณีเชนเดียวกันกับกรณีที่ 1 แตปริมาณความเขมขนของยาไมไดอยูในชวงที่ไมทําใหเกิดพิษ ต่ํากวา 2 ng/ml ใหบันทึกคะแนน = 0 (3) กรณีที่ไมมีขอมูลการตรวจวัดปริมาณยาในเลือดของยาที่สงสัยใหบันทึกคะแนน = 0 ขอที่ 8 ปฏิกิริยารุนแรงขึ้น เมื่อเพิ่มขนาดยาหรือลดความรุนแรงลงเมื่อลดขนาดยาหรือไม หมายถึง : ความรุนแรงของอาการไมพึงประสงคเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามขนาดยาที่ไดรับใชหรือไม วิธีบันทึก : (1) กรณีที่อาการไมพึงประสงคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มขนาดยา เชน ภาวะหัวใจเตนผิดปกติ จากการ ไดรับยา digoxin มีอาการรุนแรงมากขึ้น เมื่อขนาดยาเพิ่มขึ้น ใหบันทึกคะแนน = +1 (2) กรณีเชนเดียวกับกรณีที่ 1 ถาภาวะหัวใจเตนผิดปกติมีความรุนแรงลดลงเมื่อลดขนาดยา digoxin ให บันทึกคะแนน = 0 (3) กรณีที่ไมไมมีขอมูลวา อาการไมพึงประสงคจะมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามขนาดยาที่ได เพิ่มขึ้นหรือลดลง ใหบันทึกคะแนน = 0 ขอที่ 9 ผูปวยเคยมีปฏิกิริยาที่เหมือนหรือคลายคลึงกันนี้มากอน เมื่อไดรับยานี้ในครั้งกอน ๆ หรือไม หมายถึง : ผูปวยเคยมีประวัติเกิดอาการไมพึงประสงคลักษณะที่เหมือนหรือคลายคลึงกับอาการในครั้งนี้ จากการ
  • 5. ไดรับยาที่สงสัยนี้มากอนหรือไม วิธีบันทึก : (1) กรณีที่ผูปวยเคยมีประวัติเกิดอาการไมพึงประสงคลักษณะที่เหมือนหรือคลายคลึงกับอาการไมพึง ประสงคในครั้งนี้ ภายหลังจากรับยาที่สงสัย เชน ผูปวยไดรับยา penicillin แลวเกิดอาการผื่นคัน และ ผูปวยเคยมีประวัติ เกิดอาการผื่นคัน หลังจากไดรับ penicillin มากอนในลักษณะกับเหมือนหรือ คลายคลึงกันที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ ใหบันทึกคะแนน = +1 (2) กรณีเชนเดียวกับกรณีที่ 1 ถาผูปวยไมเคยมีประวัติวาเกิดอาการผื่นคันภายหลังไดรับ penicillin ให บันทึกคะแนน= 0 (3) กรณีที่ไมทราบ หรือไมมีขอมูลวาผูปวยเคยมีประวัติเกิดอาการไมพึงประสงค ในลักษณะเหมือนหรือ คลายคลึงกับอาการที่เกิดในครั้งนี้มากอนใหบันทึกคะแนน= 0 ขอที่ 10 อาการไมพึงประสงคนี้ ไดรับการยืนยันโดยหลักฐานที่เปนรูปธรรม (objective evidence) หรือไม หมายถึง : อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ มีหลักฐานที่เปนรูปธรรม เชนผลตรวจทางหองปฏิบัติการ ผลตรวจ EKG ผลการวัดความดัน เปนตน ที่ยืนยันวาเกิดอาการไมพึงประสงคนั้น หรือไม วิธีบันทึก : (1) กรณีที่อาการไมพึงประสงคนั้น มีหลักฐานที่เปนรูปธรรมวาเกิดอาการไมพึงประสงคดังกลาว เชนเกิด ภาวะตับอักเสบ และผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ พบระดับ AST, ALT สูงกวาคาปกติ ใหบันทึก คะแนน = +1 (2) กรณีเชนเดียวกับขอ 1 แตผลการตรวจทางหองปฏิบัติการพบ AST, ALT อยูในระดับคาปกติ ใหบันทึก คะแนน = 0 (3) กรณีที่ไมมีหลักฐานที่เปนรูปธรรมที่สามารถยืนยันอาการไมพึงประสงค นั้น ใหบันทึกคะแนน = 0