SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
จัดทาโดย
1. ด.ช.นที พลอยดี เลขที่ 8
2. ด.ญ. ชนากานต์ สุขถวิล เลขที่ 8
3. ด.ญ. สุทธิดา คงถาวร เลขที่ 8
4. ด.ญ.อินทิรา เอื้อบุญนา เลขที่ 8
5. ด.ญ.อุดมพร อื้อบุญนา เลขที่ 8
เสนอ
อาจาร์ย กุศล งามเนตร
วิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของ วิชา วิยาศาสตร์เพิ่มเติม ว 20206
โรงเรียน สตรีนครสวรรค์ ตาบล บากน้า อาเภอ เมือง จังหวัด นครสวรรค์
ชั้นมัธยมศึกษา ม.3/8
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ไห้นักเรียนสารวจชนิดและปริมาณ ของพืชที่ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์
ที ชื่อพืช ชื่อวิทยาศาสตร์ รูป-ลักษณ์ ของพืช
1 ใบเตย Pandanus
amaryllifolius Roxb.
ไม้พุ่มขนาดเล็ก เจริญเติบโตลักษณะเป็นกอ มีลาต้นเป็นเห
อบใบเรียบปลายใบเรียวแหลม ใบมีสีเขียวสด กลิ่นหอม
2 พลับพรึง Crinum
asiaticum Linn.
พลับพลึงเป็นพรรณไม้ล้มลุกขึ้นเป็นกอ และมีหัวอยู่ใต้ดิน ลาต้นกลมมีความกว้าง
ขอบใบจะเป็นคลื่น ตรงปลายใบจะแหลม ใบจะมีความยาวประมาณ 1 เมต
ตอนดอกยง
3 อบเชย Cinnamomum
bdjolghota Sweet
ไม้ยืนต้นขน
4 ลาใย Dimocarpus longan
ลาไยเป็นไม้ผลเมืองร้อนโตเต็มที่สูง
5 เฟิร์นใบมะขาม Nephrolepsis
biserratacr. furcan
ต้นเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก ลาต้นเป็นข้อ ใบ ใบสีเขียว ส่วนปลา
6 ไผ่ฟิลิปฟินส์ Dracaenna surculosa
Lindl
ลักษณะทั่วไป (Characteristic) : ไม้พุ่มขนาดเล็ก ลา
7 พลูด่าง Scindapsus aureus
เป็นไม้เลื้อยเขตร้อน ใบมีลักษณะเป็นรูปหัวใจสีเขียวสด สลับกับสีเหลืองนวล ชอบแสงสว่าง ต้นมีลักษณะอ่อนซ้อย นามาปลูก
พลูด่างเป็นพืชที่มีรากอากาศ และจะเจริญ
8 ราชฟฤกษ์ Dracaena goldieana
ต้น เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลาต้นมีควา
เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากลาต้นส่วนยอดเรียงซ้อนกันเวียนรอบลาต้นเป็นรูปวงกลมลักษณะใบเรียวยาดอก ออกดอกเป็นช่อ
9 กวนอิม Ribbon Plant
เป็นพรรณไม้พุ่มยืนต้นคล้ายสกุลหวายลาต้นโตประมาณ 1-2 เซนติเมตร ลาต้นสูงประมาณ 1-3 เมตร ลาต้นกลมตรงเล็ก ลาต้นเป็นข
มีกาบใบห้อหุ้มลาต้นสลับกันเป็นชั้นๆ ตามข้อของลาต
10 กาแฟ Robusta Coffee,
Coffea canephora
Pierre ex Froehner
กาแฟ เป็นไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 8-12 ซม. ยาว 15-20 ซม. หูใบอยู่ระหว่างก้านใบ ดอกช่อ ออ
11 อินทนิลน้า agerstroemia
speciosa (L.) Pers.
ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ แต่ผลิใบใหม่ไว สูง 5-20 เมตร ลาต้น ต้นเล็กมักคดงอ แต่พอใหญ่ขึ้นจะเปลา ตรง ทรงใบร
เป็นมันทั้งสองด้านกลีบดอกบาง รูปช้อนที่มีโคนกลีบเป็นก้านเรียว ผิวกลีบเป็นคล
12 ตีนเป็ดฝรั่ง Cresentia alata L
ไม้ต้นสูง 4-10 เมตร ลาต้น เรือนยอดโปร่ง แผ่กว้างเปลือกต้นสีน้าตาลเข้ม ใบ เป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเป
มีลายสีม่วงแดง กลิ่นเหม็นหืน ผล
กลม เปลือกเข็งหนา ผิวเกลี้ยง มีเมล็ด
13 มะยม Phyllanthus
acidus (L.) Skeels
ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 3 – 10 เมตร ลาต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านสาขาบริเวณปลายยอใบ เป็น
ออกเป็นช่อตามกิ่ง ดอกย่อยสีเหลืองอมน้าตาลเรื่อๆ ผล เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อแ
14 หวายเขียว Dracaena reflexa
หวายเขียวนี้จัดเป็นตัวต้นแบบของหวายและซองออฟทั้งหลายใบจะมีสีเขียวเข็ม ลักษณะของใบแคบ ยาวปลายใบแหลม ใบจะ
สนามหญ้าหรือจัดสวน
15 กระทุ้มบก Anthocephalus
chinensis (Lamk.) A.
Rich. ex Walp.
ต้นขนาดกลางถึงขนาด
รูปไข่ รูปรี หรือรูปขอบขนาน ยาว 12-25 ซม. (ใบอ่อนมีขนาดใหญ่และยาวกว่าน
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 ซม. ก้านช่อยาว 1.5-4 ซม. ดอกเล็กอัดกันแน่น ติด
ข
16 ต้นสาโรง Sterculia Foetida L.
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 30เมตร ผลัดใบ
เรือนยอดรูปไข่ ถึงทรงกระบอก ลาต้นเปลาตรง โคนมีพูพอนต่าๆ
เปลือกเรียบสีน้าตาลปนเทา
ใบ ใบประกอบรูปนิ้วมือ กางแผ่ออกจาก
เรียงเวียนจากจุดเดียวกัน เรียงเวียนตอนปลายกิ่ง ใบย่อย5-7 ใบ ดอก สีแดงหรือสีแสด มีกลิ่นเหม็นมาก ออก
ผิวมันและเกลี้ยงเมื่อ แก่แตกเป็นสองซีกกว้าง
17 กระเบาใหญ่ Hydnocarpus
anthelminthicus Pierre
ex Laness.
ไม้ยืนต้น สูง 10 - 20 เมตร ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนาน ดอกออกที่ซอกใบ แยกเพศอยู่คนละต้น ต้นตัวเมียเรียกว่า กระเบา ต้นตัวผ
มีเมล็ดจานวนมาก
18 รางเงิน Hippeastrum
reticulatum
(L.Herit) Harl.
ลักษณะพืช ไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดิน ใบ ใบเดี่ยว ออกจากหัวใต้ดิน รูป แถบกว้าง 3.5 - 4 เซนติเมตร ยาว 25 - 35 เซนติเมตร ปลายแห
กลีบดอกรูประฆังโคนเชื่อมกันเป็น
ยาว 2 - 2.5 เซนติเมตร ปลายแยกเป็น 6 กลีบ มีลายสีเข้ม เมื่อบาน เส้นผ่าศูนย์กลาง 7 - 8
19 ฟิโลเดนดรอน Philodendron spp
ฟิโลเดนดรอนมีถิ่นกาเนิดอยู่ตามธรรมชาติ ในอเมริกาเขตร้อนและหมู่เกาะอินเดียตะวันตก เป็นพันธ์ไม้ใบหรือไม้ปร
เป็นไม้ที่ชอบเลื้อยชอบไต่ตามสิ่งที่อยู่ใกล้เคียง โดยใช้รากอาศัยเกาะพยุงต้นไว้ลักษณะใบมีรูปร่างแปลกๆ ส่วนมาก
เมื่อใบแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเขียวบางชนิดมีใบคล้ายใบลั่นทม เส้นใบสีแดงหรือชมพู พื้นใบสีเขียวอ่อน บางชนิดมีแฉกลึกเกือบถึงเส้น
ดังนั้นใบใหม่ที่เพิ่งผลิตออกมาจึงมีขนาดเล
20 หวายด่าง Dracaena
sonderiana"silver"
ไม้ยืนต้น คล้ายกับสกุลหวายลาต้นโตประมาณ 1-2 เซนติเมตร ลาต้นมีความสูงประมาณ 1-3 เมตร
ลาต้นกลมตรงเล็กลาต้นเป็นข้อๆสีเขียวไม่มีกิ่งก้านสาขามีการเจริญการยืดตัวของข้อใบเป็นใบเดี่ยวแตกออกจากส่วนยอด
ของลาต้น มีกาบใบหุ้มห่อลาต้น สลับกันเป็นชั้นๆ ตามข้อของลาต้น ใบแคบเรียวยาว ปลายใบแหลม โคนใบสอบลงมาถึงกาบ
ใบพื้นใบมีสีเขียวหรืมีสีขาวพาดตามยาวของใบ ขนาดความกว้างของใบประมาณ 2-3 เซนติเมตร ยาวประมาณ 6-8 เซนติเมตร
21 เล็บครุฑ Polyscias fruticosa
Harms.
ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว 2 เมตร ลักษณะต้นเป็นข้อ ลาต้นอ่อนมีสีเขียวอ่อนแกมน้าตาลอ่อน เมื่อลาต้นแก่เต็มที่ก็จะเปล
ใบย่อยมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ขอบใบหยักย่อยละเอียด ปลายใบเรีย
22 ดีปลี Piper
retrofractum Vahl
ไม้เถารากฝอยออกบริเวณข้อเพื่อใช้ยึดเกาะ ใบ เดี่ยวรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 7-10 ซม. สีเขียวเข้มเป็นมัน ดอก ช่อ ออ
23 สัตบรรณ Blackboard Tree,
Devil Tree, Alstonia
scholaris (Linn.) R.
Br.
อบข้อ ใบเดี่ยว เรียงรอบข้อๆ ละ 6-9 ใบ รูปขอบขนานแกมใบหอกกลับหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2-6 ซม. ยาว 5-18 ซม. ปลายทู่กลม
รูปกลมยาว
24 ปาล์มน้ามัน Elaeis
guineensis Jacq.
ลักษณะทั่วไป (Characteristic) : ปาล์มต้นเดี่ยว ใบ (Foliage) : ใบประกอบแบบขนนก เร
รูปขอบขนาน กว้าง 2-5 เซนติเมตร ยาว 75-90 เซนติเมตร ดอก (Flower) : สีขาว ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงร
25 ปาล์มหางกระรอก Wodyetia
bifurcata A.K. Irvine
ลักษณะทั่วไป (Characteristic) : ปาล์มต้นเดี่ยว ลาต้นป่องกลางเล็ก
ใบ (Foliage) : ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ทางใบยาว 2-2.50 เมตร ดอก (Flower) : สีขาว ออกเ
ผล (Fruit) : ผลสดแบบมีเนื้อเมล็ดเดียว ติดผลจานวนมาก ทรงกลม
26 ฤษีผสม Coleus atropurpurrus
Benth.
เป็นพรรณไม้ที่มีอยู่หลากหลายพรรณ และยังมากด้วยสีสันอีกด้วยซึ่งก็สวยงามมาก
แต่ถ้าเราหมั่นเด็ดยอดอาจจะเป็นไม้คลุมดินหรือลักษณะคล้ายไม้เลื้อยก็ได้ ลักษณะของใบม
ฟันเลื่อย สีของใบจะมีทั้งสีแดงเข้ม แดงอ่อน ชมพู แดงทอง น้าตาล เขียวอ่อน และม่วงแด
สีขาวหรือเขียวอ่อน มีใบที่นุ่มมาก ถ้าหมั่นเด็ดยอดใบจะแตกเป็นพุ่มดกงามมาก ดอกออกเป
มีขนาดเล็กมาก และจะมีสีต่าง ๆ กันแล้วแต่พรรณของฤาษีผสมนั้น เป็นพ
27 หว้า Syzygium cumini
ลักษณะ ลาต้น ไม้ยืนต้นสูง 10-35 เมตร เปลือกต้นค่อนข้างเรียบ สีน้าตาล ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 3-7 เซนติเมตร
ออกที่ซอกใบหรือปลายยอด ฐานรองดอกเป็นรูปกรวย กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ เกสรตัวผู้มีจานวนมาก ออกดอกและติดผล
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ไห้นักเรียนสารวจชนิดและปริมาณ ของสัตว์ที่ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์
เซนติเมตร ผลแก่ ราวเดือนพฤษภาคม เมล็ด มี 1 เมล็ด รูปไข่
28 ปาล์มพัด Prichardia Pacifica
Seem. & H.A. Wendl.
ลักษณะทั่วไป: เป็นปาล์มที่มีลาต้นเดี่ยว สูงประมาณ 30 ฟุต ลาต้นจะตั้งตรง เกลี้ยงเรียว ใบเป็นรูปพัดมีสีเขียวอ่อน และเป็นมัน ใต
กว้างประมาณ 5 ฟุต ทางใบยาว 3 ฟุต ออกดอกเป็นช่อ ๆ ดอกสีเหลืองอมน้าตาล ช่อหนึ่งจะมีดอกเป็นจานวนมาก แต่เป็นดอกที่ไม่ส
ประมาณ 1 เซนติเมตร ในเวลาที่ผลสุกจะมีสีดา ข้างในผลจะมีเมล็ด
ที่
ชื่อสัตว์
ชนิด-
ประเภ
ท
รูป-ลักษณ์ –ของสัตว์และที่อยู่ ปริมาณที่พ
บ
1 แมลงปอ
เป็นแมลงมีปีก 4 ปีก กินแมลงเป็นอาหาร บางคนเรียกว่า นักล่าแห่งเวหา เพราะมีความสามารถในการบินสูงมาก
แมลงปอสามารถบินได้ไกลถึง 100 ก.ม. การขยับปีกขึ้น-ลง จะใช้ความเร็วเฉลี่ยประมาณ 500
ครั้งต่อวินาที แมลงปอขนาดใหญ่ ซึ่งอาจจัดอยู่ในกลุ่มแมลงปอบ้าน แต่มีปีกคู่หลังเท่ากับปีกคู่หน้าและมีหนวด
1 ตัว
2 แมว
แมว หรือ แมวบ้าน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Felis catus)
เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม อยู่ในตระกูล Felidae ซึ่งเป็นตระกูลเดียวกับสิงโตและเสือดาว ต้นตระกูลแมวมาจากเสือไซบีเรีย
น (Felis tigris altaica) ซึ่งมีช่วงลาตัวตั้งแต่จมูกถึงปลายหางยาวประมาณ 4 เมตร แมวที่เลี้ยงตามบ้าน จะมีรูปร่างขนาดเล็ก
ขนาดลาตัวยาว ช่วงขาสั้นและจัดอยู่ในกลุ่มของประเภทสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร
มีเขี้ยวและเล็บแหลมคมสามารถหดซ่อนเล็บได้เช่นเดียวกับเสือ
1 ตัว
3
จิ้งโจน้า
จิงโจ้น้า (Water Striders / Pond Skaters) เป็นแมลงที่จัดอยู่ในกลุ่มประเภทมวนอยู่ในอันดับ Hemiptera วงศ์ Gerridae
ชื่อสามัญ Water Striders หรือ Pond skaters มีชื่อเรียกต่างกันคือ จิงโจ้น้า มวนจิงโจ้น้า แมงกะพุ้งน้า
1 ตัว
4 หอยเชอ
รี่
เป็นหอยน้าจืดจาพวกหอยฝาเดียว สามารถแบ่งหอยเชอรี่ได้2 พวก คือ พวกที่มีเปลือกสีเหลืองปนน้าตาล
เนื้อและหนวดสีเหลือง และพวกมีเปลือกสีเขียวเข้มปนดา และมีสีดาจาง ๆ พาดตามความยาว เนื้อและหนวดสีน้าตาลอ่อน
หอยเชอรี่เจริญเติบโตและขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว ลูกหอยอายุเพียง 2 – 3 เดือน จะจับคู่ผสมพันธุ์ได้ตลอดเวลา
หลังจากผสมพันธุ์ได้1 – 2 วัน ตัวเมียจะวางไข่ในเวลากลางคืน โดยคลานไปวางไข่ตามที่แห้งเหนือน้า เช่น ตามกิ่งไม้
ต้นหญ้าริมน้า
1 ตัว
5 มด
มด เป็นสัตว์ในวงศ์ Formicidae อันดับ Hymenoptera มีจานวนชนิดมากกว่า 12,000 ชนิด
โดยพบมากในเขตร้อนของโลก มดมีการสร้างรังเป็นอาณาจักรขนาดใหญ่ บางรังมีจานวนประชากรมากถึงล้านตัว
มีการแบ่งวรรณะกันทาหน้าที่คือ วรรณะมดงาน เป็นมดเพศเมียเป็นหมัน ทาหน้าที่หาอาหาร สร้างและซ่อมแซมรัง
ปกป้ องรังจากศัตรู ดูแลตัวอ่อน และงานอื่นๆ ทั่วไป เป็นวรรณะที่พบได้มากที่สุด วรรณะสืบพันธุ์ เป็นมดเพศผู้และราชินี
เพศเมีย มีหน้าที่สืบพันธุ์
1 ตัว
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ให้นักเรียนสารวจและศึกษา ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิติกับสิ่งไม่มีชีวิตในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์
ภาวะความสัมพันธ์ บริเวณที่พ
บ
ชนิดของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่ว
มกัน
การได้รับผลประโยชน์ของสิ่งมี
ชีวิต
รูปภาพ
ได้รับ
(+)
ไม่ได้-
ไม่เสีย(0)
เสีย
(-)
1. ภาวะพึ่งพา
Mutualism
หน้าตึก 1 รากับต้นไม้ใหญ่  - -
2. ภาวะอ้างอิงCommensalism กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่   - -
3.ภาวะได้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน(Protocoope
ration)
ผีเสื้อกับดอกไม้  - -
4.ภาวะปรสิต(Parasitism) กาฝากกับต้นไม้ใหญ่  - 
5.ภาวะการล่าเหยื่อ(Predation) กิ้งก่ากับแมลง  - 
6.ภาวะการแข่งขัน(Competition) กวางกับกวาง - - 
7.ภาวะเป็นกลาง(Competition) มดกับเพลีย -  -
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ไห้นักเรียนจาแนกพืช ที่นักเรียนสารวจได้ที่ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์
ที่ division ตัวอย่างพืช ลัษณะเด่น ชนิดพืชที่พบในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ชนิดที่พบ บริเวณที่พบ
1 Division Pterophyta พวกเฟิร์น
เป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชที่มีราว ๆ 20,000 สปีชีส์ ที่ถูกจาแนกในไฟลัม
Pteridophyta หรือ Filicophyta[ต้องการอ้างอิง]
พืชกลุ่มนี้ยังเป็น Polypodiophyta หรือ
Polypodiopsida ด้วย
เมื่อถือตามส่วนย่อยของพืชมีท่อลาเลียง คาว่า เทอริโดไฟต์ (pteridophyte)
ใช้เพื่อกล่าวถึงพืชมีท่อลาเลียงที่ไม่มีเมล็ดทั้งหมด ทาให้มันหมายถึง
"เฟิร์นและพืชใกล้เคียงเฟิร์น"
พวกเฟิร์น หน้าตึก 1
ซึ่งสามารถสร้างความสับสนเมื่อสมาชิกของเฟิร์นในส่วน Pteridophyta
บางครั้งอ้างเป็นเทอริโดไฟต์ได้ด้วยเหมือนกัน
การศึกษาในเรื่องของเฟิร์นและเทอริโดไฟต์อื่น ๆ เรียกว่า วิทยาเฟิร์น (pteridology)
2 Psilopyta หวายทะนอย
ต้นหวายทะนอยที่พบทั่วไปคือ ต้นสปอร์โรไฟต์ ชอบขึ้นในที่ชุ่มชื้นมีลักษณะดังนี้
- ลาต้นเป็นเหลี่ยม ขนาดเล็กมีสีเขียว สังเคราะห์เเสงได้
- เเตกกิ่งเป็นคู่ๆ ( dichotomous branching )
- มีอับสปอร์สีออกเหลืองที่ปลายกิ่งสั้นๆ เรียกว่า sysnaning
( fused sporangia ) สร้างสปอรื ( n ) โดยการเเบ่งเซลล์เเบบไมโอซิส
- มีใบเป็นเกล็ดเล็กๆตามข้อ
- มีลาต้นใต้ดินเรียกว่า ไรโซม ( rhizoid )
- ไม่มีราก มีไรซอยด์ ( rhizoid ) ทาหน้าที่เเทนราก
หวายทะนอย หน้าตึก 1
3 Lycophyta หญ้ารังไก่
- ต้นที่เห็นทั่วไปคือ สปอโรไฟต์ ที่เริ่มเจริญมาเป็นราก ลาต้นและใบ
- สาหรับรากและลาต้นมักแตกเป็นคู่ (dichotomous branching)
- ใบที่ยอดจะรวมตัวกันเป็นรูปคล้ายกรวยหรือกระบอง เรียกว่าstrobilus
(cone) ใบที่รวมกลุ่มเป็น strobilus แต่ละใบเรียกว่า sporophyll ทาหน้าที่สร้างสปอร์
หญ้ารังไก่ หน้าตึก 1
4
Pinophyta ปรง ปรง หน้าตึก 1
ลาต้นจะเป็นข้อๆ มีรากและใบที่แท้จริง เช่นหญ้าถอดปล้อง สนหางม้า
5 Pinicae แปะก๊วย
เป็นพืชยืนต้น มีเนื้อไม้มีท่อลาเลียงที่พัฒนาขึ้น มีราก ใบ เมล็ด
แปะก๊วย หน้าตึก 1
แต่เมล็ดไม่มีเปลือกหุ้ม แบ่งออกเป็น 3 sub-division คือ sub-division cycadicae
เช่น ปรง และsub-division Pinicae เช่น แป๊ ะก๊วย สนสองใบ สนสามใบ และ sub-
division Gneticae เช่น มะเมื่อย และพืชในทะเลทรายแอฟริกา
6 Magnoliophyta พืชใบเลี้ยงคู่
ได ้แก่พืชไม ้ดอกที่มีท่อลำเลียง มีใบและรำก มีเมล็ดที่มีรังไข่หุ้ม
แบ่งเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocots) และพืชใบเลี้ยงคู่ (dicots)
พืชใบเลี้ยงคู่ หน้าตึก 1
7 Lycophyta หญ้ารังไก่ หญ้ารังไก่ หน้าตึก 1
เป็นพืชโบราณ มีใบและรากที่แท้จริง เช่น ต้นตีนตุ๊กแก หญ้ารังไก่
8 Coniferophyta สนสามใบ
พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ได้แก่ พวกสน ( Pinus )
เช่น สนสองใบและสนสามใบ
สนสามใบ หน้าตึก 1
9
Anthophyta พืชดอก
พืชที่สร้างเมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม ถือว่ามีวิวัฒนาการสูงสุด พบมากที่สุด ได้แก่ พืชดอก
(Flowering plant)
พืชดอก หน้าตึก 1
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ไห้นักเรียนจาแนกสัตว์ที่นักเรียนสารวจได้ที่ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์
ที่ phaylum ตัวอย่างสัตว์ ลักษณะเด่น ชนิดสัตว์ที่พบในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ชนิดที่พบ บริเวณที่พบ
1 Porifera ฟองน้า
1. มีสมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry) หรือไม่มีสมมาตร
(asymmetry)
2. ผนังตัวของฟองน้าประกอบด้วยเซลล์ที่มาเรียงตัวเป็นชั้นของเซลล์ 2
ชั้น คือชั้นเซลล์ผิว ด้านนอกหรือเอพิเดอมิส (epidermis)
ประกอบด้วยเซลล์เพียงชนิดเดียวคือ พินาโคไซท์(pinacocyte)
จึงอาจเรียกเซลล์ผิวนี้ว่า พินาโคเดิร์ม (pinacoderm)
ส่วนด้านเซลล์บุช่องกลางตัว คือ โคเอโนไซท์ (choanocyte or collar
ฟองน้า หน้าตึก 1
cell ) จึงเรียกว่า โคเอโนเดิร์ม (choanoderm)
โคเอโนไซท์เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายปลอกคอ มีแส้ (flagellum) 1
เส้นทาหน้าที่ให้น้าไหลเวียนและย่อยอาหาร ระหว่างชั้นของเซลล์ 2
ชั้นนี้จะมีสารคล้ายวุ้น (gelatinous matrix) แทรกอยู่
ซึ่งจะมีเซลล์ที่เคลื่อนที่แบบอะมีบา(amoeboid cell) หรือ อะมีโบไซท์
(amoebocyte) เรียกชั้นนี้ว่า มีโซฮิล (mesohyl) หรือมีเซนไคม์
(mesenchyme)
3. ฟองน้ามีระบบโครงร่างค้าจุนให้คงรูปอยู่ได้บางชนิดแข็งเรียกว่า
ขวาก (spicule) ซึ่งมักเป็น หินปูน และซิลิกา (silica) เช่นฟองน้าหินปูน
ฟองน้าแก้ว บางชนิดเป็นเส้นใยโปรตีน เรียกว่า สพองจิน (spongin)
ได้แก่ ฟองน้าถูตัว
4. ไม่มีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และระบบประสาท
ซึ่งจะอาศัยการไหลเวียนน้าเป็นตัวการสาคัญในกระบวนการเหล่านี้
ฟองน้ากินอาหารโดยกรองอาหารที่อยู่ในน้าผ่านเข้ารูพรุนรอบตัว
หายใจโดยการดูดซึมออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้าผ่านผนังลาตัว
5. มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกัน
และจะได้ตัวอ่อนที่มี ซิเลียว่ายน้าได้
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อ (budding)
6. ตัวเต็มวัยจะเกาะอยู่กับที่ (sessile animal)
2 Coelenterata ปะการัง
กัลปังหา
ดอกไม้ทะเล
แมงกะพรุน
1. มีสมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry)
2. มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ เนื้อเยื่อชั้นนอกทาหน้าที่เป็นผิวลาตัวเรียกว่า
เอพิเดอร์มิส (Epidermis)
และเนื้อเยื่อชั้นในทาหน้าที่เป็นเยื่อบุทางเดินอาหารเรียกว่า
แกสโทรเดอร์มิส (Gastrodermis)
ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อชั้นในมีสารซึ่งมีลักษณะคล้ายวุ้น
แทรกอยู่เรียกว่าชั้นโซเกลีย (Mesoglea)
3. ทางเดินอาหารเป็นแบบถุงไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนักช่อง
ทางเดินอาหารนี้อยู่กลางลาตัวทาหน้าที่เป็นทั้งทางเดินอาหารและ
ระบบหมุนเวียน เรียกว่าแกสโทรวาสคูลาร์ คาวิตี (Gastrovascular
ปะการัง หน้าตึก 1
carvity) 4.
มีเข็มพิษหรือเนมาโทซีสต์(Nematocyst)ใช้ในการป้ องกันและฆ่า
เหยื่อเนมาโทซีสต์มักจะอยู่กันหนาแน่นที่บริเวณหนวด(Tentacle)
ซึ่งอยู่รอบปากมากกว่าบริเวณอื่นๆทาให้การหาอาหารและการต่อสู้กับ
ศัตรูมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
5. ไม่มีระบบหายใจ ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบขับถ่ายโดยเฉพาะ
แต่โดยทั่วไปอาศัยการแพร่ของก๊าซและของเสียต่างๆระหว่างน้าที่
อยู่รอบๆตัวกับผิวลาตัวโดยตรง หรือมีเซลล์ชนิดพิเศษเช่นเซลล์
ที่ทาหน้าที่ในการย่อยอาหาร (nutritive cell) ช่วยทาหน้าที่
ย่อยและดูดซึมสามอาหาร เพื่อส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายต่อไป
6. ระบบประสาทเป็นแบบข่ายใยประสาท(Nerve net)แผ่กระจายทั่วตัว
และหนาแน่นบริเวณหนวดดังนั้นการนากระแสประสาทจึงเป็นไปใน
ลักษณะทุกทิศทุกทางทาให้กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปได้ช้าและมีทิศ
ทางไม่แน่นอนซึ่งแตกต่างจากสัตว์ชั้นสูงอื่นๆ
7. สัตว์กลุ่มนี้มีรูปร่างเป็น 2 แบบ คือ รูปร่างแบบต้นไม้เรียกว่า โพลิป
(Polyp) เช่น ไฮดรา ปะการังดอกไม้ทะเลและรูร่างคล้ายร่มหรือกระ
ดิ่งคว่า เรียกว่า เมดูซา(Medusa) ได้แก่แมงกระพรุน
8. การสืบพันธุ์ มีทั้งแบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศแบบอาศัยเพศ
เช่น แมงกะพรุน โอบีเลียมีการสืบพันธุ์
3 Nematoda นอนตัวกลม
1. มีสมมาตรแบบผ่าซีก (Bilateral symmetry)
2. มีช่องว่างในลาตัวแบบเทียม ลาตัวกลม ยาว แหลมหัวแหลมท้าย
ไม่มีข้อปล้อง ผิวลาตัวเรียบ มีสารคิวทิเคิลหนาหุ้มตัว
4. ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด
แต่ใช้ของเหลวในช่องว่างเทียมช่วยในการลาเลียงสาร
5. ไม่มีอวัยวะหายใจโดยเฉพาะ
พวกที่ดารงชีพวิตแบบปรสิตหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน
แต่พวกที่อยู่อย่างอิสระใช้ผิวหนังเป็นส่วนแลกเปลี่ยนก็าซกับสิ่งแวดล้อ
ม
6. ระบบขับถ่ายประกอบด้วยเส้นข้างลาตัว (Lateral line)
ซึ่งภายในบรรจุท่อขับถ่าย (Excretory canal) ไว้
7. ทางเดินอาหารสมบูรณ์ประกอบด้วยปากและทวารหนัก
8. ระบบประสาท ประกอบด้วยปมประสาทรูปวงแหวน (Nerve ring)
อยู่รอบคอหอยและมีแขนงประสาทแยกออกทางด้านท้องและทางด้านห
นอนตัวกลม หน้าตึก 1
ลัง
9. มีระบบกล้ามเนื้อยาวตลอดลาตัว (Longitudinal muscle)
10.
เป็นสัตว์แยกเพศตัวเมียมักมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้เนื่องจากตัวเมียต้องทาห
น้าที่ในการออ
4 Arthropoda กุ้ง
. มีสมมาตรแบบผ่าซีก
2. มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น และมีช่องตัวแบบแท้งจริง
3. ลาตัวมีลักษณะเป็นปล้อง และแบ่งออกเป็นส่วนๆโดยทั่วไปแล้วมี 3 ส่วน คือ
ส่วนหัว(Head) ส่วนอก( Thorax) และส่วนท้อง(Abdomen) เช่นพวกแมลง
แต่บางชนิดส่วนหัวและส่วนอกจะรวมกันเป็นส่วนเดียวแยกออกจากกันไม่ได้เรียก
ว่า เซฟาโลทอแรกซ์ (Cephalothorax) เช่น กุ้ง ปู นอกจากนี้ในพวกกิ้งกือและ
ตะขาบส่วนของอกและท้องจะมีลักษณะเหมือนกัน
4. มีรยางค์ยื่นออกจากลาตัวเป็นคู่ๆ เช่น ขาเดิน ขาว่ายน้า อวัยวะส่วนปาก
หนวด ปีก และรยางค์เหล่านี้มักมีลักษณะต่อกันเป็นข้อๆด้วย
5. มีโครงร่างภายนอก (Exoskeleton) เป็นสารจาพวกไคทิน(Chitin)
แข็งหุ้มรอบตัว ดังนั้นในขณะที่มีการเจริญเติบโต
สัตว์ในไฟลัมนี้หลายชนิดจึงต้องมีการลอกคราบ (Molting)
เพื่อเอาเปลือกเก่าซึ่งมีขนาดเล็กออกเล็กแล้วสร้างเปลือกใหม่ที่มีขนาดใหญ่กว่าขึ้
นมาแทน
6. ทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ มีปากและทวารหนัก
สาหรับส่วนปากมีอวัยวะที่ช่วยในการกินอาหารและมีการดัดแปลงไปเพื่อให้เหมา
ะสมกับ สภาพของอาหาร เช่นมีปากแบบกัดกิน ดูดกิน เจาะดูด
กุ้ง หน้าตึก 1
5 Chordata จึ้งโจ้
1. การมีโนโตคอร์ด (notochord)
พวกคอร์เดตทุกชนิดจะต้องมีโนโตคอร์ดอย่างน้อยช่วงหนึ่งของชีวิต
พวกคอร์เดตชั้นต่า เช่น แอมฟิออกซัสจะมีโนโตคอร์ด ตลอดชีวิต
พวกคอร์เดตชั้นสูงเช่นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังจะมีโนโตคอร์ดในระยะตัวอ่อนเท่านั้
น พอเจริญเติบโตจะเกิดกระดูกสันหลังขึ้นมาแทนที่โนโตคอร์ด
ลักษณะของโนโตคอร์ดจัดเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อชั้นมีโซเดิร์ม
ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่ค่อนข้างอ่อนคล้ายวุ้น แต่มีเปลือกหุ้ม (sheath)
หุ้มอีกชั้นทาให้มีลักษณะเป็นแท่งแข็งแรง แต่ยืดหยุ่นได้ดี และไม่แบ่งเป็นปล้อง
แท่งโนโตคอร์ดเป็นโครงสร้างค้าจุนที่อยู่ทางด้านหลังใต้ระบบประสาทส่วนกลางแ
ต่อยู่เหนือทางเดินอาหาร notochord = a rod-shaped supporting axis, or
backbone
2. การมีช่องเหงือก (pharyngeal gill slits)
คอร์เดตทุกชนิดโดยเฉพาะพวกที่อยู่ในน้าจะมีช่องเหงือกตลอดชีวิต
ส่วนพวกที่อาศัยอยู่บนบกจะพบช่องเหงือกในระยะตัวอ่อนเท่านั้น
เมื่อเจริญเติบโตขึ้น ช่องเหงือกจะปิดซึ่งอาจจะพบร่องรอยเพียงเล็กน้อย
(ในคนเกิดการเปลี่ยนแปลงไปเป็นท่อยูสเตเชียนเชื่อมระหว่างหูส่วนกลางกับหลอ
จึ้งโจ้ หน้าตึก 1
ดลมบริเวณคอ)
6 Echinodermata ปะการั้ง
1. รูปร่างในวงชีวิตของสัตว์กลุ่มนี้มีรูปร่าง 2 แบบ คือ มีสมมาตรครึ่งซีก
ซึ่งพบในระยะที่เป็นตัวอ่อน เมื่อตัวอ่อนเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยแล้ว
รูปร่างจึงค่อยเปลี่ยนไปเป็นแบบสมมาตรรัศมี ไม่มีส่วนหัวและไม่มีปล้อง
2. ร่างกายประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ชั้นนอกเป็นเอพิเดอร์มิสชั้นเดียวบาง ๆ
ปกคลุมโครงร่างภายใน (endoskeleton)
ซึ่งเป็นแผ่นหินปูนที่เจริญมาจากชั้นมีโซเดอร์ม (mesoderm)
เช่นเดียวกับระบบโครงกระดูกของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
แผ่นหินปูนบางแผ่นมีหนาม (calcareous spine) ติดอยู่ด้วย
3. ลาตัวแบ่งออกเป็น 5 ส่วนในแนวรัศมีเท่า ๆกัน มีลักษณะเป็น 5 แฉก
(pentamerous) แต่ละแฉกเรียกว่า แขนหรืออัมบูลากา (arm หรือ ambulaca)
ด้านล่างมีเท้าท่อ (tube feet) ซึ่งช่วยในการเคลื่อนที่หรือจับอาหาร
4. มีระบบท่อน้า (water vascular system)
ภายในร่างกายซึ่งเจริญมาจากช่องตัวในระยะตัวอ่อน
ภายในท่อบรรจุด้วยน้าเค็มจากภายนอก
ลักษณะภายนอกของระบบนี้ที่พอเห็นได้คือ เท้าท่อ (tube feet)
เมื่อทางานร่วมกันทาให้สามารถเคลื่อนไหวจับอาหาร หายใจและรับความรู้สึกได้
ปะการั้ง หน้าตึก 1
ระบบนี้ถือว่าเป็นระบบไฮดรอลิก (hydraulic system) ซึ่งไม่มีในสัตว์ไฟลัมอื่น
5. มีช่องตัวกว้าง และมีเยื่อบุช่องตัว (peritoneum) บุอยู่ภายใน
ภายในช่องตัวมีของเหลวและมีเซลล์อะมีโบไซต์ (amoebocyte)
ลอยเคลื่อนที่อยู่
6. การหายใจ อวัยวะที่ใช้ในการหายใจ คือ เหงือกที่ผิวหนัง

More Related Content

What's hot

หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...KalyakornWongchalard
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652PattriyaTowanasutr
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...dijchanokbunyaratave
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Maimai Pudit
 

What's hot (20)

สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
New species
New speciesNew species
New species
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 

Viewers also liked

Social Media For Business
Social Media For BusinessSocial Media For Business
Social Media For BusinessAdam Erhart
 
Gül ü Bülbül Mesnevisi
Gül ü Bülbül Mesnevisi Gül ü Bülbül Mesnevisi
Gül ü Bülbül Mesnevisi Oncü Yıldız
 
Comparative and Superlative
Comparative and SuperlativeComparative and Superlative
Comparative and Superlativecrafian
 
A word press site even your mother can use
A word press site even your mother can useA word press site even your mother can use
A word press site even your mother can useJerrett Farmer
 
Theodor W. Adorno Minima Moralia
Theodor W. Adorno   Minima MoraliaTheodor W. Adorno   Minima Moralia
Theodor W. Adorno Minima MoraliaOncü Yıldız
 
WordPress for Lazy People 2
WordPress for Lazy People 2WordPress for Lazy People 2
WordPress for Lazy People 2Jerrett Farmer
 
Comte de lautréamont maldoror'un şarkıları
Comte de lautréamont   maldoror'un şarkılarıComte de lautréamont   maldoror'un şarkıları
Comte de lautréamont maldoror'un şarkılarıOncü Yıldız
 
A love of pumpkins spuds and beans 02 for slideshare
A love of pumpkins spuds and beans 02 for slideshareA love of pumpkins spuds and beans 02 for slideshare
A love of pumpkins spuds and beans 02 for slideshareIpswichSuffolkM
 
Illuminate Facebook Advanced Seminar
Illuminate Facebook Advanced SeminarIlluminate Facebook Advanced Seminar
Illuminate Facebook Advanced SeminarMark Huddleston
 
Whats new-in-p6-eppm-1927798
Whats new-in-p6-eppm-1927798Whats new-in-p6-eppm-1927798
Whats new-in-p6-eppm-1927798mahmoud omran
 
Anglés de Lockhart Academy a La Vitxeta (dilluns i dimecres)
Anglés de Lockhart Academy a La Vitxeta (dilluns i dimecres)Anglés de Lockhart Academy a La Vitxeta (dilluns i dimecres)
Anglés de Lockhart Academy a La Vitxeta (dilluns i dimecres)LockhartAcademy
 
Como aumentar tus ventas eCommerce - Ukelele
Como aumentar tus ventas eCommerce - Ukelele Como aumentar tus ventas eCommerce - Ukelele
Como aumentar tus ventas eCommerce - Ukelele VTEX Latam
 

Viewers also liked (17)

Social Media For Business
Social Media For BusinessSocial Media For Business
Social Media For Business
 
Gül ü Bülbül Mesnevisi
Gül ü Bülbül Mesnevisi Gül ü Bülbül Mesnevisi
Gül ü Bülbül Mesnevisi
 
Comparative and Superlative
Comparative and SuperlativeComparative and Superlative
Comparative and Superlative
 
A word press site even your mother can use
A word press site even your mother can useA word press site even your mother can use
A word press site even your mother can use
 
Theodor W. Adorno Minima Moralia
Theodor W. Adorno   Minima MoraliaTheodor W. Adorno   Minima Moralia
Theodor W. Adorno Minima Moralia
 
WordPress for Lazy People 2
WordPress for Lazy People 2WordPress for Lazy People 2
WordPress for Lazy People 2
 
Unit plan bot
Unit plan botUnit plan bot
Unit plan bot
 
Two Worlds
Two WorldsTwo Worlds
Two Worlds
 
Comte de lautréamont maldoror'un şarkıları
Comte de lautréamont   maldoror'un şarkılarıComte de lautréamont   maldoror'un şarkıları
Comte de lautréamont maldoror'un şarkıları
 
A love of pumpkins spuds and beans 02 for slideshare
A love of pumpkins spuds and beans 02 for slideshareA love of pumpkins spuds and beans 02 for slideshare
A love of pumpkins spuds and beans 02 for slideshare
 
Illuminate Facebook Advanced Seminar
Illuminate Facebook Advanced SeminarIlluminate Facebook Advanced Seminar
Illuminate Facebook Advanced Seminar
 
Whats new-in-p6-eppm-1927798
Whats new-in-p6-eppm-1927798Whats new-in-p6-eppm-1927798
Whats new-in-p6-eppm-1927798
 
Anglés de Lockhart Academy a La Vitxeta (dilluns i dimecres)
Anglés de Lockhart Academy a La Vitxeta (dilluns i dimecres)Anglés de Lockhart Academy a La Vitxeta (dilluns i dimecres)
Anglés de Lockhart Academy a La Vitxeta (dilluns i dimecres)
 
Como aumentar tus ventas eCommerce - Ukelele
Como aumentar tus ventas eCommerce - Ukelele Como aumentar tus ventas eCommerce - Ukelele
Como aumentar tus ventas eCommerce - Ukelele
 
Prezentacja1
Prezentacja1Prezentacja1
Prezentacja1
 
MATOA CORNER PRODUCTION
MATOA CORNER PRODUCTIONMATOA CORNER PRODUCTION
MATOA CORNER PRODUCTION
 
my life
my lifemy life
my life
 

Similar to นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20

Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 lookpedkeele
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)MetawadeeNongsana
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3JiradaAke
 

Similar to นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20 (20)

Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 

นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20

  • 1. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต จัดทาโดย 1. ด.ช.นที พลอยดี เลขที่ 8 2. ด.ญ. ชนากานต์ สุขถวิล เลขที่ 8 3. ด.ญ. สุทธิดา คงถาวร เลขที่ 8 4. ด.ญ.อินทิรา เอื้อบุญนา เลขที่ 8 5. ด.ญ.อุดมพร อื้อบุญนา เลขที่ 8 เสนอ อาจาร์ย กุศล งามเนตร วิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของ วิชา วิยาศาสตร์เพิ่มเติม ว 20206 โรงเรียน สตรีนครสวรรค์ ตาบล บากน้า อาเภอ เมือง จังหวัด นครสวรรค์ ชั้นมัธยมศึกษา ม.3/8
  • 2. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ไห้นักเรียนสารวจชนิดและปริมาณ ของพืชที่ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ ที ชื่อพืช ชื่อวิทยาศาสตร์ รูป-ลักษณ์ ของพืช 1 ใบเตย Pandanus amaryllifolius Roxb. ไม้พุ่มขนาดเล็ก เจริญเติบโตลักษณะเป็นกอ มีลาต้นเป็นเห อบใบเรียบปลายใบเรียวแหลม ใบมีสีเขียวสด กลิ่นหอม
  • 3. 2 พลับพรึง Crinum asiaticum Linn. พลับพลึงเป็นพรรณไม้ล้มลุกขึ้นเป็นกอ และมีหัวอยู่ใต้ดิน ลาต้นกลมมีความกว้าง ขอบใบจะเป็นคลื่น ตรงปลายใบจะแหลม ใบจะมีความยาวประมาณ 1 เมต ตอนดอกยง
  • 4. 3 อบเชย Cinnamomum bdjolghota Sweet ไม้ยืนต้นขน 4 ลาใย Dimocarpus longan ลาไยเป็นไม้ผลเมืองร้อนโตเต็มที่สูง
  • 5. 5 เฟิร์นใบมะขาม Nephrolepsis biserratacr. furcan ต้นเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก ลาต้นเป็นข้อ ใบ ใบสีเขียว ส่วนปลา 6 ไผ่ฟิลิปฟินส์ Dracaenna surculosa Lindl ลักษณะทั่วไป (Characteristic) : ไม้พุ่มขนาดเล็ก ลา
  • 6. 7 พลูด่าง Scindapsus aureus เป็นไม้เลื้อยเขตร้อน ใบมีลักษณะเป็นรูปหัวใจสีเขียวสด สลับกับสีเหลืองนวล ชอบแสงสว่าง ต้นมีลักษณะอ่อนซ้อย นามาปลูก พลูด่างเป็นพืชที่มีรากอากาศ และจะเจริญ
  • 7. 8 ราชฟฤกษ์ Dracaena goldieana ต้น เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลาต้นมีควา เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากลาต้นส่วนยอดเรียงซ้อนกันเวียนรอบลาต้นเป็นรูปวงกลมลักษณะใบเรียวยาดอก ออกดอกเป็นช่อ
  • 8. 9 กวนอิม Ribbon Plant เป็นพรรณไม้พุ่มยืนต้นคล้ายสกุลหวายลาต้นโตประมาณ 1-2 เซนติเมตร ลาต้นสูงประมาณ 1-3 เมตร ลาต้นกลมตรงเล็ก ลาต้นเป็นข มีกาบใบห้อหุ้มลาต้นสลับกันเป็นชั้นๆ ตามข้อของลาต
  • 9. 10 กาแฟ Robusta Coffee, Coffea canephora Pierre ex Froehner กาแฟ เป็นไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 8-12 ซม. ยาว 15-20 ซม. หูใบอยู่ระหว่างก้านใบ ดอกช่อ ออ
  • 10. 11 อินทนิลน้า agerstroemia speciosa (L.) Pers. ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ แต่ผลิใบใหม่ไว สูง 5-20 เมตร ลาต้น ต้นเล็กมักคดงอ แต่พอใหญ่ขึ้นจะเปลา ตรง ทรงใบร เป็นมันทั้งสองด้านกลีบดอกบาง รูปช้อนที่มีโคนกลีบเป็นก้านเรียว ผิวกลีบเป็นคล
  • 11. 12 ตีนเป็ดฝรั่ง Cresentia alata L ไม้ต้นสูง 4-10 เมตร ลาต้น เรือนยอดโปร่ง แผ่กว้างเปลือกต้นสีน้าตาลเข้ม ใบ เป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเป มีลายสีม่วงแดง กลิ่นเหม็นหืน ผล กลม เปลือกเข็งหนา ผิวเกลี้ยง มีเมล็ด
  • 12. 13 มะยม Phyllanthus acidus (L.) Skeels ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 3 – 10 เมตร ลาต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านสาขาบริเวณปลายยอใบ เป็น ออกเป็นช่อตามกิ่ง ดอกย่อยสีเหลืองอมน้าตาลเรื่อๆ ผล เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อแ
  • 13. 14 หวายเขียว Dracaena reflexa หวายเขียวนี้จัดเป็นตัวต้นแบบของหวายและซองออฟทั้งหลายใบจะมีสีเขียวเข็ม ลักษณะของใบแคบ ยาวปลายใบแหลม ใบจะ สนามหญ้าหรือจัดสวน
  • 14. 15 กระทุ้มบก Anthocephalus chinensis (Lamk.) A. Rich. ex Walp. ต้นขนาดกลางถึงขนาด รูปไข่ รูปรี หรือรูปขอบขนาน ยาว 12-25 ซม. (ใบอ่อนมีขนาดใหญ่และยาวกว่าน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 ซม. ก้านช่อยาว 1.5-4 ซม. ดอกเล็กอัดกันแน่น ติด ข
  • 15. 16 ต้นสาโรง Sterculia Foetida L. ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 30เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปไข่ ถึงทรงกระบอก ลาต้นเปลาตรง โคนมีพูพอนต่าๆ เปลือกเรียบสีน้าตาลปนเทา ใบ ใบประกอบรูปนิ้วมือ กางแผ่ออกจาก เรียงเวียนจากจุดเดียวกัน เรียงเวียนตอนปลายกิ่ง ใบย่อย5-7 ใบ ดอก สีแดงหรือสีแสด มีกลิ่นเหม็นมาก ออก ผิวมันและเกลี้ยงเมื่อ แก่แตกเป็นสองซีกกว้าง
  • 16. 17 กระเบาใหญ่ Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness. ไม้ยืนต้น สูง 10 - 20 เมตร ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนาน ดอกออกที่ซอกใบ แยกเพศอยู่คนละต้น ต้นตัวเมียเรียกว่า กระเบา ต้นตัวผ มีเมล็ดจานวนมาก
  • 17. 18 รางเงิน Hippeastrum reticulatum (L.Herit) Harl. ลักษณะพืช ไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดิน ใบ ใบเดี่ยว ออกจากหัวใต้ดิน รูป แถบกว้าง 3.5 - 4 เซนติเมตร ยาว 25 - 35 เซนติเมตร ปลายแห กลีบดอกรูประฆังโคนเชื่อมกันเป็น ยาว 2 - 2.5 เซนติเมตร ปลายแยกเป็น 6 กลีบ มีลายสีเข้ม เมื่อบาน เส้นผ่าศูนย์กลาง 7 - 8
  • 18. 19 ฟิโลเดนดรอน Philodendron spp ฟิโลเดนดรอนมีถิ่นกาเนิดอยู่ตามธรรมชาติ ในอเมริกาเขตร้อนและหมู่เกาะอินเดียตะวันตก เป็นพันธ์ไม้ใบหรือไม้ปร เป็นไม้ที่ชอบเลื้อยชอบไต่ตามสิ่งที่อยู่ใกล้เคียง โดยใช้รากอาศัยเกาะพยุงต้นไว้ลักษณะใบมีรูปร่างแปลกๆ ส่วนมาก เมื่อใบแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเขียวบางชนิดมีใบคล้ายใบลั่นทม เส้นใบสีแดงหรือชมพู พื้นใบสีเขียวอ่อน บางชนิดมีแฉกลึกเกือบถึงเส้น ดังนั้นใบใหม่ที่เพิ่งผลิตออกมาจึงมีขนาดเล
  • 19. 20 หวายด่าง Dracaena sonderiana"silver" ไม้ยืนต้น คล้ายกับสกุลหวายลาต้นโตประมาณ 1-2 เซนติเมตร ลาต้นมีความสูงประมาณ 1-3 เมตร ลาต้นกลมตรงเล็กลาต้นเป็นข้อๆสีเขียวไม่มีกิ่งก้านสาขามีการเจริญการยืดตัวของข้อใบเป็นใบเดี่ยวแตกออกจากส่วนยอด ของลาต้น มีกาบใบหุ้มห่อลาต้น สลับกันเป็นชั้นๆ ตามข้อของลาต้น ใบแคบเรียวยาว ปลายใบแหลม โคนใบสอบลงมาถึงกาบ ใบพื้นใบมีสีเขียวหรืมีสีขาวพาดตามยาวของใบ ขนาดความกว้างของใบประมาณ 2-3 เซนติเมตร ยาวประมาณ 6-8 เซนติเมตร
  • 20. 21 เล็บครุฑ Polyscias fruticosa Harms. ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว 2 เมตร ลักษณะต้นเป็นข้อ ลาต้นอ่อนมีสีเขียวอ่อนแกมน้าตาลอ่อน เมื่อลาต้นแก่เต็มที่ก็จะเปล ใบย่อยมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ขอบใบหยักย่อยละเอียด ปลายใบเรีย
  • 21. 22 ดีปลี Piper retrofractum Vahl ไม้เถารากฝอยออกบริเวณข้อเพื่อใช้ยึดเกาะ ใบ เดี่ยวรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 7-10 ซม. สีเขียวเข้มเป็นมัน ดอก ช่อ ออ
  • 22. 23 สัตบรรณ Blackboard Tree, Devil Tree, Alstonia scholaris (Linn.) R. Br. อบข้อ ใบเดี่ยว เรียงรอบข้อๆ ละ 6-9 ใบ รูปขอบขนานแกมใบหอกกลับหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2-6 ซม. ยาว 5-18 ซม. ปลายทู่กลม รูปกลมยาว
  • 23. 24 ปาล์มน้ามัน Elaeis guineensis Jacq. ลักษณะทั่วไป (Characteristic) : ปาล์มต้นเดี่ยว ใบ (Foliage) : ใบประกอบแบบขนนก เร รูปขอบขนาน กว้าง 2-5 เซนติเมตร ยาว 75-90 เซนติเมตร ดอก (Flower) : สีขาว ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงร
  • 24. 25 ปาล์มหางกระรอก Wodyetia bifurcata A.K. Irvine ลักษณะทั่วไป (Characteristic) : ปาล์มต้นเดี่ยว ลาต้นป่องกลางเล็ก ใบ (Foliage) : ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ทางใบยาว 2-2.50 เมตร ดอก (Flower) : สีขาว ออกเ ผล (Fruit) : ผลสดแบบมีเนื้อเมล็ดเดียว ติดผลจานวนมาก ทรงกลม
  • 25. 26 ฤษีผสม Coleus atropurpurrus Benth. เป็นพรรณไม้ที่มีอยู่หลากหลายพรรณ และยังมากด้วยสีสันอีกด้วยซึ่งก็สวยงามมาก แต่ถ้าเราหมั่นเด็ดยอดอาจจะเป็นไม้คลุมดินหรือลักษณะคล้ายไม้เลื้อยก็ได้ ลักษณะของใบม ฟันเลื่อย สีของใบจะมีทั้งสีแดงเข้ม แดงอ่อน ชมพู แดงทอง น้าตาล เขียวอ่อน และม่วงแด สีขาวหรือเขียวอ่อน มีใบที่นุ่มมาก ถ้าหมั่นเด็ดยอดใบจะแตกเป็นพุ่มดกงามมาก ดอกออกเป มีขนาดเล็กมาก และจะมีสีต่าง ๆ กันแล้วแต่พรรณของฤาษีผสมนั้น เป็นพ 27 หว้า Syzygium cumini ลักษณะ ลาต้น ไม้ยืนต้นสูง 10-35 เมตร เปลือกต้นค่อนข้างเรียบ สีน้าตาล ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 3-7 เซนติเมตร ออกที่ซอกใบหรือปลายยอด ฐานรองดอกเป็นรูปกรวย กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ เกสรตัวผู้มีจานวนมาก ออกดอกและติดผล
  • 26. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ไห้นักเรียนสารวจชนิดและปริมาณ ของสัตว์ที่ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ เซนติเมตร ผลแก่ ราวเดือนพฤษภาคม เมล็ด มี 1 เมล็ด รูปไข่ 28 ปาล์มพัด Prichardia Pacifica Seem. & H.A. Wendl. ลักษณะทั่วไป: เป็นปาล์มที่มีลาต้นเดี่ยว สูงประมาณ 30 ฟุต ลาต้นจะตั้งตรง เกลี้ยงเรียว ใบเป็นรูปพัดมีสีเขียวอ่อน และเป็นมัน ใต กว้างประมาณ 5 ฟุต ทางใบยาว 3 ฟุต ออกดอกเป็นช่อ ๆ ดอกสีเหลืองอมน้าตาล ช่อหนึ่งจะมีดอกเป็นจานวนมาก แต่เป็นดอกที่ไม่ส ประมาณ 1 เซนติเมตร ในเวลาที่ผลสุกจะมีสีดา ข้างในผลจะมีเมล็ด
  • 27. ที่ ชื่อสัตว์ ชนิด- ประเภ ท รูป-ลักษณ์ –ของสัตว์และที่อยู่ ปริมาณที่พ บ 1 แมลงปอ เป็นแมลงมีปีก 4 ปีก กินแมลงเป็นอาหาร บางคนเรียกว่า นักล่าแห่งเวหา เพราะมีความสามารถในการบินสูงมาก แมลงปอสามารถบินได้ไกลถึง 100 ก.ม. การขยับปีกขึ้น-ลง จะใช้ความเร็วเฉลี่ยประมาณ 500 ครั้งต่อวินาที แมลงปอขนาดใหญ่ ซึ่งอาจจัดอยู่ในกลุ่มแมลงปอบ้าน แต่มีปีกคู่หลังเท่ากับปีกคู่หน้าและมีหนวด 1 ตัว
  • 28. 2 แมว แมว หรือ แมวบ้าน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Felis catus) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม อยู่ในตระกูล Felidae ซึ่งเป็นตระกูลเดียวกับสิงโตและเสือดาว ต้นตระกูลแมวมาจากเสือไซบีเรีย น (Felis tigris altaica) ซึ่งมีช่วงลาตัวตั้งแต่จมูกถึงปลายหางยาวประมาณ 4 เมตร แมวที่เลี้ยงตามบ้าน จะมีรูปร่างขนาดเล็ก ขนาดลาตัวยาว ช่วงขาสั้นและจัดอยู่ในกลุ่มของประเภทสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร มีเขี้ยวและเล็บแหลมคมสามารถหดซ่อนเล็บได้เช่นเดียวกับเสือ 1 ตัว
  • 29. 3 จิ้งโจน้า จิงโจ้น้า (Water Striders / Pond Skaters) เป็นแมลงที่จัดอยู่ในกลุ่มประเภทมวนอยู่ในอันดับ Hemiptera วงศ์ Gerridae ชื่อสามัญ Water Striders หรือ Pond skaters มีชื่อเรียกต่างกันคือ จิงโจ้น้า มวนจิงโจ้น้า แมงกะพุ้งน้า 1 ตัว
  • 30. 4 หอยเชอ รี่ เป็นหอยน้าจืดจาพวกหอยฝาเดียว สามารถแบ่งหอยเชอรี่ได้2 พวก คือ พวกที่มีเปลือกสีเหลืองปนน้าตาล เนื้อและหนวดสีเหลือง และพวกมีเปลือกสีเขียวเข้มปนดา และมีสีดาจาง ๆ พาดตามความยาว เนื้อและหนวดสีน้าตาลอ่อน หอยเชอรี่เจริญเติบโตและขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว ลูกหอยอายุเพียง 2 – 3 เดือน จะจับคู่ผสมพันธุ์ได้ตลอดเวลา หลังจากผสมพันธุ์ได้1 – 2 วัน ตัวเมียจะวางไข่ในเวลากลางคืน โดยคลานไปวางไข่ตามที่แห้งเหนือน้า เช่น ตามกิ่งไม้ ต้นหญ้าริมน้า 1 ตัว
  • 31. 5 มด มด เป็นสัตว์ในวงศ์ Formicidae อันดับ Hymenoptera มีจานวนชนิดมากกว่า 12,000 ชนิด โดยพบมากในเขตร้อนของโลก มดมีการสร้างรังเป็นอาณาจักรขนาดใหญ่ บางรังมีจานวนประชากรมากถึงล้านตัว มีการแบ่งวรรณะกันทาหน้าที่คือ วรรณะมดงาน เป็นมดเพศเมียเป็นหมัน ทาหน้าที่หาอาหาร สร้างและซ่อมแซมรัง ปกป้ องรังจากศัตรู ดูแลตัวอ่อน และงานอื่นๆ ทั่วไป เป็นวรรณะที่พบได้มากที่สุด วรรณะสืบพันธุ์ เป็นมดเพศผู้และราชินี เพศเมีย มีหน้าที่สืบพันธุ์ 1 ตัว
  • 33. รูปภาพ ได้รับ (+) ไม่ได้- ไม่เสีย(0) เสีย (-) 1. ภาวะพึ่งพา Mutualism หน้าตึก 1 รากับต้นไม้ใหญ่  - - 2. ภาวะอ้างอิงCommensalism กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่   - -
  • 34. 3.ภาวะได้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน(Protocoope ration) ผีเสื้อกับดอกไม้  - - 4.ภาวะปรสิต(Parasitism) กาฝากกับต้นไม้ใหญ่  -  5.ภาวะการล่าเหยื่อ(Predation) กิ้งก่ากับแมลง  - 
  • 35. 6.ภาวะการแข่งขัน(Competition) กวางกับกวาง - -  7.ภาวะเป็นกลาง(Competition) มดกับเพลีย -  -
  • 36. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ไห้นักเรียนจาแนกพืช ที่นักเรียนสารวจได้ที่ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ ที่ division ตัวอย่างพืช ลัษณะเด่น ชนิดพืชที่พบในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ชนิดที่พบ บริเวณที่พบ 1 Division Pterophyta พวกเฟิร์น เป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชที่มีราว ๆ 20,000 สปีชีส์ ที่ถูกจาแนกในไฟลัม Pteridophyta หรือ Filicophyta[ต้องการอ้างอิง] พืชกลุ่มนี้ยังเป็น Polypodiophyta หรือ Polypodiopsida ด้วย เมื่อถือตามส่วนย่อยของพืชมีท่อลาเลียง คาว่า เทอริโดไฟต์ (pteridophyte) ใช้เพื่อกล่าวถึงพืชมีท่อลาเลียงที่ไม่มีเมล็ดทั้งหมด ทาให้มันหมายถึง "เฟิร์นและพืชใกล้เคียงเฟิร์น" พวกเฟิร์น หน้าตึก 1
  • 38. 2 Psilopyta หวายทะนอย ต้นหวายทะนอยที่พบทั่วไปคือ ต้นสปอร์โรไฟต์ ชอบขึ้นในที่ชุ่มชื้นมีลักษณะดังนี้ - ลาต้นเป็นเหลี่ยม ขนาดเล็กมีสีเขียว สังเคราะห์เเสงได้ - เเตกกิ่งเป็นคู่ๆ ( dichotomous branching ) - มีอับสปอร์สีออกเหลืองที่ปลายกิ่งสั้นๆ เรียกว่า sysnaning ( fused sporangia ) สร้างสปอรื ( n ) โดยการเเบ่งเซลล์เเบบไมโอซิส - มีใบเป็นเกล็ดเล็กๆตามข้อ - มีลาต้นใต้ดินเรียกว่า ไรโซม ( rhizoid ) - ไม่มีราก มีไรซอยด์ ( rhizoid ) ทาหน้าที่เเทนราก หวายทะนอย หน้าตึก 1
  • 39. 3 Lycophyta หญ้ารังไก่ - ต้นที่เห็นทั่วไปคือ สปอโรไฟต์ ที่เริ่มเจริญมาเป็นราก ลาต้นและใบ - สาหรับรากและลาต้นมักแตกเป็นคู่ (dichotomous branching) - ใบที่ยอดจะรวมตัวกันเป็นรูปคล้ายกรวยหรือกระบอง เรียกว่าstrobilus (cone) ใบที่รวมกลุ่มเป็น strobilus แต่ละใบเรียกว่า sporophyll ทาหน้าที่สร้างสปอร์ หญ้ารังไก่ หน้าตึก 1 4 Pinophyta ปรง ปรง หน้าตึก 1
  • 40. ลาต้นจะเป็นข้อๆ มีรากและใบที่แท้จริง เช่นหญ้าถอดปล้อง สนหางม้า 5 Pinicae แปะก๊วย เป็นพืชยืนต้น มีเนื้อไม้มีท่อลาเลียงที่พัฒนาขึ้น มีราก ใบ เมล็ด แปะก๊วย หน้าตึก 1
  • 41. แต่เมล็ดไม่มีเปลือกหุ้ม แบ่งออกเป็น 3 sub-division คือ sub-division cycadicae เช่น ปรง และsub-division Pinicae เช่น แป๊ ะก๊วย สนสองใบ สนสามใบ และ sub- division Gneticae เช่น มะเมื่อย และพืชในทะเลทรายแอฟริกา
  • 42. 6 Magnoliophyta พืชใบเลี้ยงคู่ ได ้แก่พืชไม ้ดอกที่มีท่อลำเลียง มีใบและรำก มีเมล็ดที่มีรังไข่หุ้ม แบ่งเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocots) และพืชใบเลี้ยงคู่ (dicots) พืชใบเลี้ยงคู่ หน้าตึก 1 7 Lycophyta หญ้ารังไก่ หญ้ารังไก่ หน้าตึก 1
  • 44. 8 Coniferophyta สนสามใบ พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ได้แก่ พวกสน ( Pinus ) เช่น สนสองใบและสนสามใบ สนสามใบ หน้าตึก 1
  • 45. 9 Anthophyta พืชดอก พืชที่สร้างเมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม ถือว่ามีวิวัฒนาการสูงสุด พบมากที่สุด ได้แก่ พืชดอก (Flowering plant) พืชดอก หน้าตึก 1
  • 46. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ไห้นักเรียนจาแนกสัตว์ที่นักเรียนสารวจได้ที่ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ ที่ phaylum ตัวอย่างสัตว์ ลักษณะเด่น ชนิดสัตว์ที่พบในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ชนิดที่พบ บริเวณที่พบ 1 Porifera ฟองน้า 1. มีสมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry) หรือไม่มีสมมาตร (asymmetry) 2. ผนังตัวของฟองน้าประกอบด้วยเซลล์ที่มาเรียงตัวเป็นชั้นของเซลล์ 2 ชั้น คือชั้นเซลล์ผิว ด้านนอกหรือเอพิเดอมิส (epidermis) ประกอบด้วยเซลล์เพียงชนิดเดียวคือ พินาโคไซท์(pinacocyte) จึงอาจเรียกเซลล์ผิวนี้ว่า พินาโคเดิร์ม (pinacoderm) ส่วนด้านเซลล์บุช่องกลางตัว คือ โคเอโนไซท์ (choanocyte or collar ฟองน้า หน้าตึก 1
  • 47. cell ) จึงเรียกว่า โคเอโนเดิร์ม (choanoderm) โคเอโนไซท์เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายปลอกคอ มีแส้ (flagellum) 1 เส้นทาหน้าที่ให้น้าไหลเวียนและย่อยอาหาร ระหว่างชั้นของเซลล์ 2 ชั้นนี้จะมีสารคล้ายวุ้น (gelatinous matrix) แทรกอยู่ ซึ่งจะมีเซลล์ที่เคลื่อนที่แบบอะมีบา(amoeboid cell) หรือ อะมีโบไซท์ (amoebocyte) เรียกชั้นนี้ว่า มีโซฮิล (mesohyl) หรือมีเซนไคม์ (mesenchyme) 3. ฟองน้ามีระบบโครงร่างค้าจุนให้คงรูปอยู่ได้บางชนิดแข็งเรียกว่า ขวาก (spicule) ซึ่งมักเป็น หินปูน และซิลิกา (silica) เช่นฟองน้าหินปูน ฟองน้าแก้ว บางชนิดเป็นเส้นใยโปรตีน เรียกว่า สพองจิน (spongin) ได้แก่ ฟองน้าถูตัว 4. ไม่มีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และระบบประสาท ซึ่งจะอาศัยการไหลเวียนน้าเป็นตัวการสาคัญในกระบวนการเหล่านี้ ฟองน้ากินอาหารโดยกรองอาหารที่อยู่ในน้าผ่านเข้ารูพรุนรอบตัว หายใจโดยการดูดซึมออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้าผ่านผนังลาตัว 5. มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกัน และจะได้ตัวอ่อนที่มี ซิเลียว่ายน้าได้ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตกหน่อ (budding) 6. ตัวเต็มวัยจะเกาะอยู่กับที่ (sessile animal)
  • 48. 2 Coelenterata ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน 1. มีสมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry) 2. มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ เนื้อเยื่อชั้นนอกทาหน้าที่เป็นผิวลาตัวเรียกว่า เอพิเดอร์มิส (Epidermis) และเนื้อเยื่อชั้นในทาหน้าที่เป็นเยื่อบุทางเดินอาหารเรียกว่า แกสโทรเดอร์มิส (Gastrodermis) ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อชั้นในมีสารซึ่งมีลักษณะคล้ายวุ้น แทรกอยู่เรียกว่าชั้นโซเกลีย (Mesoglea) 3. ทางเดินอาหารเป็นแบบถุงไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนักช่อง ทางเดินอาหารนี้อยู่กลางลาตัวทาหน้าที่เป็นทั้งทางเดินอาหารและ ระบบหมุนเวียน เรียกว่าแกสโทรวาสคูลาร์ คาวิตี (Gastrovascular ปะการัง หน้าตึก 1
  • 49. carvity) 4. มีเข็มพิษหรือเนมาโทซีสต์(Nematocyst)ใช้ในการป้ องกันและฆ่า เหยื่อเนมาโทซีสต์มักจะอยู่กันหนาแน่นที่บริเวณหนวด(Tentacle) ซึ่งอยู่รอบปากมากกว่าบริเวณอื่นๆทาให้การหาอาหารและการต่อสู้กับ ศัตรูมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น 5. ไม่มีระบบหายใจ ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบขับถ่ายโดยเฉพาะ แต่โดยทั่วไปอาศัยการแพร่ของก๊าซและของเสียต่างๆระหว่างน้าที่ อยู่รอบๆตัวกับผิวลาตัวโดยตรง หรือมีเซลล์ชนิดพิเศษเช่นเซลล์ ที่ทาหน้าที่ในการย่อยอาหาร (nutritive cell) ช่วยทาหน้าที่ ย่อยและดูดซึมสามอาหาร เพื่อส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายต่อไป 6. ระบบประสาทเป็นแบบข่ายใยประสาท(Nerve net)แผ่กระจายทั่วตัว และหนาแน่นบริเวณหนวดดังนั้นการนากระแสประสาทจึงเป็นไปใน ลักษณะทุกทิศทุกทางทาให้กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปได้ช้าและมีทิศ ทางไม่แน่นอนซึ่งแตกต่างจากสัตว์ชั้นสูงอื่นๆ 7. สัตว์กลุ่มนี้มีรูปร่างเป็น 2 แบบ คือ รูปร่างแบบต้นไม้เรียกว่า โพลิป (Polyp) เช่น ไฮดรา ปะการังดอกไม้ทะเลและรูร่างคล้ายร่มหรือกระ ดิ่งคว่า เรียกว่า เมดูซา(Medusa) ได้แก่แมงกระพรุน 8. การสืบพันธุ์ มีทั้งแบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศแบบอาศัยเพศ เช่น แมงกะพรุน โอบีเลียมีการสืบพันธุ์
  • 50. 3 Nematoda นอนตัวกลม 1. มีสมมาตรแบบผ่าซีก (Bilateral symmetry) 2. มีช่องว่างในลาตัวแบบเทียม ลาตัวกลม ยาว แหลมหัวแหลมท้าย ไม่มีข้อปล้อง ผิวลาตัวเรียบ มีสารคิวทิเคิลหนาหุ้มตัว 4. ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด แต่ใช้ของเหลวในช่องว่างเทียมช่วยในการลาเลียงสาร 5. ไม่มีอวัยวะหายใจโดยเฉพาะ พวกที่ดารงชีพวิตแบบปรสิตหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน แต่พวกที่อยู่อย่างอิสระใช้ผิวหนังเป็นส่วนแลกเปลี่ยนก็าซกับสิ่งแวดล้อ ม 6. ระบบขับถ่ายประกอบด้วยเส้นข้างลาตัว (Lateral line) ซึ่งภายในบรรจุท่อขับถ่าย (Excretory canal) ไว้ 7. ทางเดินอาหารสมบูรณ์ประกอบด้วยปากและทวารหนัก 8. ระบบประสาท ประกอบด้วยปมประสาทรูปวงแหวน (Nerve ring) อยู่รอบคอหอยและมีแขนงประสาทแยกออกทางด้านท้องและทางด้านห นอนตัวกลม หน้าตึก 1
  • 51. ลัง 9. มีระบบกล้ามเนื้อยาวตลอดลาตัว (Longitudinal muscle) 10. เป็นสัตว์แยกเพศตัวเมียมักมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้เนื่องจากตัวเมียต้องทาห น้าที่ในการออ
  • 52. 4 Arthropoda กุ้ง . มีสมมาตรแบบผ่าซีก 2. มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น และมีช่องตัวแบบแท้งจริง 3. ลาตัวมีลักษณะเป็นปล้อง และแบ่งออกเป็นส่วนๆโดยทั่วไปแล้วมี 3 ส่วน คือ ส่วนหัว(Head) ส่วนอก( Thorax) และส่วนท้อง(Abdomen) เช่นพวกแมลง แต่บางชนิดส่วนหัวและส่วนอกจะรวมกันเป็นส่วนเดียวแยกออกจากกันไม่ได้เรียก ว่า เซฟาโลทอแรกซ์ (Cephalothorax) เช่น กุ้ง ปู นอกจากนี้ในพวกกิ้งกือและ ตะขาบส่วนของอกและท้องจะมีลักษณะเหมือนกัน 4. มีรยางค์ยื่นออกจากลาตัวเป็นคู่ๆ เช่น ขาเดิน ขาว่ายน้า อวัยวะส่วนปาก หนวด ปีก และรยางค์เหล่านี้มักมีลักษณะต่อกันเป็นข้อๆด้วย 5. มีโครงร่างภายนอก (Exoskeleton) เป็นสารจาพวกไคทิน(Chitin) แข็งหุ้มรอบตัว ดังนั้นในขณะที่มีการเจริญเติบโต สัตว์ในไฟลัมนี้หลายชนิดจึงต้องมีการลอกคราบ (Molting) เพื่อเอาเปลือกเก่าซึ่งมีขนาดเล็กออกเล็กแล้วสร้างเปลือกใหม่ที่มีขนาดใหญ่กว่าขึ้ นมาแทน 6. ทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ มีปากและทวารหนัก สาหรับส่วนปากมีอวัยวะที่ช่วยในการกินอาหารและมีการดัดแปลงไปเพื่อให้เหมา ะสมกับ สภาพของอาหาร เช่นมีปากแบบกัดกิน ดูดกิน เจาะดูด กุ้ง หน้าตึก 1
  • 53. 5 Chordata จึ้งโจ้ 1. การมีโนโตคอร์ด (notochord) พวกคอร์เดตทุกชนิดจะต้องมีโนโตคอร์ดอย่างน้อยช่วงหนึ่งของชีวิต พวกคอร์เดตชั้นต่า เช่น แอมฟิออกซัสจะมีโนโตคอร์ด ตลอดชีวิต พวกคอร์เดตชั้นสูงเช่นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังจะมีโนโตคอร์ดในระยะตัวอ่อนเท่านั้ น พอเจริญเติบโตจะเกิดกระดูกสันหลังขึ้นมาแทนที่โนโตคอร์ด ลักษณะของโนโตคอร์ดจัดเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อชั้นมีโซเดิร์ม ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่ค่อนข้างอ่อนคล้ายวุ้น แต่มีเปลือกหุ้ม (sheath) หุ้มอีกชั้นทาให้มีลักษณะเป็นแท่งแข็งแรง แต่ยืดหยุ่นได้ดี และไม่แบ่งเป็นปล้อง แท่งโนโตคอร์ดเป็นโครงสร้างค้าจุนที่อยู่ทางด้านหลังใต้ระบบประสาทส่วนกลางแ ต่อยู่เหนือทางเดินอาหาร notochord = a rod-shaped supporting axis, or backbone 2. การมีช่องเหงือก (pharyngeal gill slits) คอร์เดตทุกชนิดโดยเฉพาะพวกที่อยู่ในน้าจะมีช่องเหงือกตลอดชีวิต ส่วนพวกที่อาศัยอยู่บนบกจะพบช่องเหงือกในระยะตัวอ่อนเท่านั้น เมื่อเจริญเติบโตขึ้น ช่องเหงือกจะปิดซึ่งอาจจะพบร่องรอยเพียงเล็กน้อย (ในคนเกิดการเปลี่ยนแปลงไปเป็นท่อยูสเตเชียนเชื่อมระหว่างหูส่วนกลางกับหลอ จึ้งโจ้ หน้าตึก 1
  • 55. 6 Echinodermata ปะการั้ง 1. รูปร่างในวงชีวิตของสัตว์กลุ่มนี้มีรูปร่าง 2 แบบ คือ มีสมมาตรครึ่งซีก ซึ่งพบในระยะที่เป็นตัวอ่อน เมื่อตัวอ่อนเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยแล้ว รูปร่างจึงค่อยเปลี่ยนไปเป็นแบบสมมาตรรัศมี ไม่มีส่วนหัวและไม่มีปล้อง 2. ร่างกายประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ชั้นนอกเป็นเอพิเดอร์มิสชั้นเดียวบาง ๆ ปกคลุมโครงร่างภายใน (endoskeleton) ซึ่งเป็นแผ่นหินปูนที่เจริญมาจากชั้นมีโซเดอร์ม (mesoderm) เช่นเดียวกับระบบโครงกระดูกของสัตว์มีกระดูกสันหลัง แผ่นหินปูนบางแผ่นมีหนาม (calcareous spine) ติดอยู่ด้วย 3. ลาตัวแบ่งออกเป็น 5 ส่วนในแนวรัศมีเท่า ๆกัน มีลักษณะเป็น 5 แฉก (pentamerous) แต่ละแฉกเรียกว่า แขนหรืออัมบูลากา (arm หรือ ambulaca) ด้านล่างมีเท้าท่อ (tube feet) ซึ่งช่วยในการเคลื่อนที่หรือจับอาหาร 4. มีระบบท่อน้า (water vascular system) ภายในร่างกายซึ่งเจริญมาจากช่องตัวในระยะตัวอ่อน ภายในท่อบรรจุด้วยน้าเค็มจากภายนอก ลักษณะภายนอกของระบบนี้ที่พอเห็นได้คือ เท้าท่อ (tube feet) เมื่อทางานร่วมกันทาให้สามารถเคลื่อนไหวจับอาหาร หายใจและรับความรู้สึกได้ ปะการั้ง หน้าตึก 1
  • 56. ระบบนี้ถือว่าเป็นระบบไฮดรอลิก (hydraulic system) ซึ่งไม่มีในสัตว์ไฟลัมอื่น 5. มีช่องตัวกว้าง และมีเยื่อบุช่องตัว (peritoneum) บุอยู่ภายใน ภายในช่องตัวมีของเหลวและมีเซลล์อะมีโบไซต์ (amoebocyte) ลอยเคลื่อนที่อยู่ 6. การหายใจ อวัยวะที่ใช้ในการหายใจ คือ เหงือกที่ผิวหนัง