SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
3 ธันวาคม 2559
Manfred F.R. Kets de Vries
Harvard Business Review, December 2016
At least half of all employees have quit a job at some point because of their supervisor. People
complain of bosses who bully them, micromanage, steal credit, hoard information, and otherwise
make them unhappy—which threatens their productivity and the organization’s success.
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
 อย่าเพิ่งสิ้นหวัง ถ้าคุณเข้าไม่ได้กับเจ้านายของคุณ บทความนี้ มีทางออก 5 ขั้นตอน ที่
คุณสามารถใช้ เพื่อปรับปรุงสถานการณ์:
 1. แสดงความเห็นอกเห็นใจ การวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมและประสาทวิทยา แนะนาให้
ระลึกถึงแรงกดดันที่มีผลต่อเจ้านายของคุณ ให้นามาใช้เพื่อการสนับสนุนกันและกัน
 2. ตรวจสอบบทบาทของคุณ พิจารณาพฤติกรรมที่คุณอาจมีในเชิงลบ และแสวงหา
การฝึกอบรมหรือคาแนะนา ที่จะช่วยให้คุณเปลี่ยนพฤติกรรมของคุณ
 3. พูดคุยกับเจ้านายของคุณ เริ่มต้นด้วยการถามว่า คุณสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพ
การทางานและความสัมพันธ์ของคุณอย่างไร หากไม่เกิดผล ให้เปิดการสนทนาที่
ตรงไปตรงมา เกี่ยวกับความผิดปกติในการติดต่อระหว่างกัน
 4. ไปที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล เป็นมาตรการสุดท้าย และถ้าคุณมีหลักฐานแสดงให้เห็น
ว่า เจ้านายของคุณไม่เหมาะสม ให้ทาการร้องเรียนอย่างเป็นทางการ
 5. ลาออก ถ้าคุณไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง ก็อาจถึงเวลาที่จะเริ่มต้นหางานใหม่
เกริ่นนา
 ตามรายงานของ Gallup ในเรื่อง "สถานะทั่วไปในสถานที่ทางาน"
ครึ่งหนึ่งของพนักงานในสหรัฐอเมริกาได้ลาออกจากงาน
เนื่องมาจากเจ้านายของพวกเขา
 ตัวเลขมีความคล้ายคลึงกัน หรือแม้กระทั่งสูงกว่าสาหรับคนงาน
ในยุโรป เอเชีย ตะวันออกกลาง และแอฟริกา
 การสารวจเดียวกันนี้ ยังแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ชัดเจน
ระหว่างความผูกพันของพนักงาน (แรงจูงใจและความพยายามที่
จะบรรลุเป้ าหมายขององค์กร) และความสัมพันธ์ของเขาหรือเธอ
กับเจ้านาย
ความผูกพันของพนักงาน
 77% ของพนักงานที่มีความผูกพัน อธิบายการสื่อสารกับผู้จัดการ
ของพวกเขาในแง่บวก (ตัวอย่างเช่น "ผู้บังคับบัญชาของฉัน
มุ่งเน้นไปที่จุดแข็งของฉัน") ในขณะที่ของ "ผู้ไม่ผูกพัน" 23%
และของ "ผู้ไม่ผูกพันอย่างยิ่ง" 4%
 เป็นที่น่ากังวล เพราะมีงานวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า พนักงานที่มี
ความผูกพัน เป็นตัวขับเคลื่อนหลักของความสาเร็จขององค์กร
และตาม Gallup มีเพียง 13% ของพนักงานทั่วโลกตกอยู่ใน
ประเภทนี้
5 ขั้นตอน ที่คุณสามารถใช้ เพื่อปรับปรุงสถานการณ์:
 1. แสดงความเห็นอกเห็นใจ (Practice Empathy)
 2. ตรวจสอบบทบาทของคุณ (Examine Your Role)
 3. พูดคุยกับเจ้านายของคุณ (Talk to Your Boss)
 4. ไปที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล (Go to HR)
 5. ลาออก (Leave)
1. แสดงความเห็นอกเห็นใจ (Practice Empathy)
 ขั้นตอนแรกคือ การพิจารณาแรงกดดันภายนอกที่ผู้จัดการของ
คุณได้รับ
 โปรดจาไว้ว่า ผู้บังคับบัญชาที่ไม่ดีส่วนใหญ่ไม่ได้คนเลวโดยเนื้ อ
แท้ พวกเขาเป็นคนดี แต่มีจุดอ่อนที่มาจากความกดดันที่ต้องการ
มีผลลัพธ์ที่ดี
 จึงเป็นสิ่งสาคัญ ที่จะต้องพิจารณาไม่เพียงแต่วิธีการที่พวกเขาทา
แต่ให้ค้นหาว่า ทาไมพวกเขาจึงทาเช่นนั้น
 การวิจัยได้แสดงให้เห็นครั้งแล้วครั้งเล่าว่า การเอาใจใส่
(empathy) สามารถเปลี่ยนเกมในเรื่องความสัมพันธ์ ซึ่งไม่
เพียงแต่เป็นปรากฏการณ์จากบนลงล่างได้เท่านั้น
 ผู้เชี่ยวชาญเช่น Stephen Covey และ Daniel Goleman เน้น
ความสาคัญของการใช้ความฉลาดทางอารมณ์ในการจัดการ
 นักประสาทวิทยาแสดงให้เห็นว่า มันเป็นกลยุทธ์ที่มี
ประสิทธิภาพ เนื่องจากเซลล์ประสาทในสมองของมนุษย์ตาม
ธรรมชาติ พร้อมที่จะมีการตอบสนองต่อพฤติกรรม
 ท้ายที่สุด ถ้าคุณแสดงการเอาใจใส่เจ้านายของคุณ มีโอกาสที่เขา
หรือเธอจะเริ่มต้นเอาใจใส่คุณ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อทุกคน
 ดูเหมือนเป็นเรื่องยาก ที่จะมีความรู้สึกที่ดีกับผู้จัดการที่ไม่ให้สิ่ง
ที่คุณต้องการ หรือเป็นคนที่คุณไม่ชอบ แต่ Goleman แสดงให้
เห็นว่า การเอาใจใส่สามารถเรียนรู้ได้
 ผลการวิจัยล่าสุดจากนักวิชาการอื่น ๆ รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญที่
Menninger Clinic แสดงให้เห็นว่า ถ้าคุณฝึกการเอาใจใส่อย่างมี
สติ การรับรู้ของคุณต่อความรู้สึกของผู้อื่น จะมีความแม่นยามาก
ขึ้น
 การแสดงออกเรื่องการใส่ใจ จะมีผลที่ดีที่สุด ด้วยการกระทา
อย่างไม่เป็นทางการ
 โดยไม่ต้องมีการนัดหมาย ให้คุณมองหาช่วงเวลาที่เหมาะสม
แสดงให้คนนั้น ๆ ได้เห็นความพยายามของคุณ
2. พิจารณาบทบาทของคุณ (Consider Your Role)
 คนที่เข้าไม่ได้กับผู้บังคับบัญชาของพวกเขา มักเป็นส่วนหนึ่งของ
ปัญหาที่เกิดขึ้น พฤติกรรมที่พวกเขาแสดงออก กีดกันพวกเขา
จากการเป็นที่ยอมรับและมีคุณค่า
 นี่ไม่ใช่สิ่งที่คุณต้องการจะได้ยิน แต่ต้องยอมรับว่า คุณอาจจะทา
อะไรที่ผิดพลาด การหาว่ามันคืออะไร แล้วทาการปรับปรุง อาจ
กอบกู้ความสัมพันธ์กลับคืนมาได้
 เริ่มต้นด้วยการพิจารณาหาหลักฐาน ที่ทาให้คุณถูก
วิพากษ์วิจารณ์ใด ๆ โดยเจ้านายของคุณ
 คุณจาเป็นต้องปรับปรุงในเรื่องใด? พฤติกรรมหรือการ
แสดงออกของคุณ ที่อาจทาให้เขาหรือเธอระคายเคือง?
 นอกจากนี้ ให้ถามตัวเองว่า บุคลิกของคุณที่ทาให้เกิดมีการปะทะ
กัน คืออะไร?
 ถัดไป ให้สังเกตและขอคาแนะนาจากเพื่อนร่วมงาน ที่ประสบ
ความสาเร็จในการทางานกับเจ้านายของคุณ ในเรื่องความชอบ
นิสัยใจคอ และจุดเดือดของเจ้านาย รวมถึงรับฟังการชี้แนะ
บางอย่างเกี่ยวกับวิธีการ ที่คุณควรทาให้แตกต่างจากเดิม
 เมื่อคุณถามเพื่อนร่วมงาน ให้ตั้งคาถามอย่างรอบคอบ
ยกตัวอย่างเช่น แทนที่จะถามว่า ทาไมเจ้านายมักขัดจังหวะเมื่อ
คุณพูดเสมอ ให้ถามว่า "คุณจะรู้ได้อย่างไรว่าควรจะพูดหรือไม่?
คุณบอกได้อย่างไรว่า เมื่อใดเจ้านายต้องการหรือไม่ต้องการการ
ป้ อนข้อมูล? คุณทาอย่างไรในการแสดงความไม่เห็นด้วย?"
3. พูดคุยกับเจ้านายของคุณ (Talking to Your Boss )
 หากเพื่อนร่วมงานของคุณไม่ได้ให้ข้อมูลเชิงลึกใด ๆ ในเรื่อง
วิธีการทางาน ขั้นตอนต่อไปคือ การพยายามพูดคุยกับเจ้านายของ
คุณเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น
 อีกครั้ง คาถามในทางบวก "ผมจะช่วยให้คุณบรรลุเป้ าหมายของ
คุณได้อย่างไร?" มากกว่า "ผมทาอะไรผิดหรือเปล่า?" ให้วาง
ตาแหน่งตัวเองเป็นการขอคาแนะนา หรือขอคาปรึกษา
 เป็นการพูดแบบตัวต่อตัว และขอให้เจ้านายของคุณออกความเห็น
ในเรื่อง ปัญหาประสิทธิภาพการทางาน และการพัฒนาทักษะการ
จัดการของคุณ
 ถ้าคุณโชคดี เขาหรือเธอจะชื่นชมความตั้งใจของคุณที่จะมีส่วน
ร่วม และจะชี้ประเด็นที่ควรปรับปรุง ซึ่งเป็นการสร้างรากฐาน
สาหรับความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด
 หากเจ้านายของคุณแข็งกร้าวหรือโจมตีคุณอีก เป็นเบาะแสว่า
ปัญหาไม่ได้อยู่ที่คุณ และคุณจะต้องคิดเองว่า คุณจะต้องหาทาง
เปลี่ยนแปลงอย่างไรดี
 ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการความขัดแย้งส่วนใหญ่ แนะนาให้หา
บรรยากาศส่วนตัว ที่ไม่ถูกรบกวนทาให้หยุดชะงัก และเป็ น
สถานที่ที่มันจะเป็นเรื่องยากที่จะเดินออก
 การพูดคุยที่สร้างสรรค์ จึงเป็นสิ่งสาคัญที่ผู้คนรู้สึกว่าพวกเขาอยู่
ใน "สถานที่ที่ปลอดภัย (safe place)" เชิญเจ้านายของคุณออกไป
รับประทานอาหารกลางวัน ณ ร้านอาหารที่ไม่ถูกรบกวนโดย
เพื่อนร่วมงาน
 ให้อธิบายว่า คุณมีความกังวลส่วนตัวบางอย่าง ที่คุณต้องการจะ
หารือในสถานที่ที่อยู่ห่างจากที่ทางาน
 หากมีปัญหาทางธุรกิจที่เฉพาะเจาะจงเช่น ความล้มเหลวที่จะ
ทางานให้ทันกับเส้นตายที่สาคัญ เพราะความขัดแย้งระหว่างกัน
คุณสามารถบอกได้เลยว่า คุณต้องการที่จะพูดคุยเกี่ยวกับ
เหตุการณ์นี้ และผลกระทบของมันสาหรับโครงการอื่น ๆ
 ทาให้เจ้านายของคุณไม่สามารถหลบเลี่ยงการสนทนาได้
 หากคุณเพียงแค่บอกว่า คุณต้องการที่จะหารือเกี่ยวกับประเด็น
ความสัมพันธ์ระหว่างคุณกับเจ้านาย เจ้านายของคุณอาจจะไม่ให้
ความสาคัญ
4. การก่อกบฏ (Organize a Mutiny)
 ถ้าคุณไม่สามารถปรับปรุง โดยการเปลี่ยนพฤติกรรมของคุณ
หรือการติดต่อสื่อสารกับเจ้านายของคุณ และถ้าเพื่อนร่วมงาน
ของคุณหลาย ๆ คน รู้สึกแบบเดียวกับที่คุณเป็น คุณควร
พิจารณาการแจ้งเตือนฝ่ายทรัพยากรบุคคล และผู้บังคับบัญชา
ของเจ้านาย ในการแก้ไขปัญหา
 ในการใช้เส้นทางนี้ คุณต้องทาให้เป็นเรื่องของธุรกิจ ว่าทาไม
เจ้านายของคุณต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการที่ไม่ดี
ส่งผลกระทบต่อทีมงาน หน่วย หรือผลการดาเนินงานขององค์กร
นอกจากนี้ คุณยังจะต้องบอกว่าเป็นภัยคุกคาม ความน่าเชื่อถือใน
การดาเนินการของบริษัท
 คุณจะต้องมีหลักฐานของผลกระทบเชิงลบของเจ้านาย และ
พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่นมีพยานและตัวอย่างที่ชัดเจนของ
การละเมิดกฎระเบียบของบริษัท หรือแนวทางการบริหาร
ทรัพยากรบุคคล
 การที่มีหลายคนมีความเต็มใจบันทึกข้อร้องเรียนที่คล้ายกัน และ
มีหลักฐานที่ชัดเจน ก็จะทาให้ผู้บริหารระดับสูงปฏิเสธหรือไม่
สนใจปัญหาไม่ได้
 ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลที่แสดงให้เห็นรูปแบบของพฤติกรรมที่ไม่ดี
ตัวแทนทรัพยากรบุคคลมักจะไม่เป็นพันธมิตรด้วย บ่อยครั้งมาก
ที่พวกเขาจะอยู่กับฝ่ายเจ้านาย
 ผู้ใต้บังคับบัญชาหลายคน ที่ไม่มีหลักฐานที่แข็งแกร่งกับเจ้านาย
ต้องลงเอยด้วยการสูญเสียงานของพวกเขา มากกว่าการบังคับให้
มีการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมหรือการปฏิบัติ
 การกบฏและการเป่ านกหวีด ยังสร้างความเสียหายโอกาสในการ
ทางานในอนาคตของคุณ
 การยื่นข้อร้องเรียนอย่างเป็นทางการ จึงควรใช้เป็นมาตรการ
สุดท้าย
5. ถ่วงเวลาหรือย้ายออก (Play for Time or Move On)
 ถ้าคุณไม่สามารถเปลี่ยนความสัมพันธ์ของคุณกับเจ้านายของคุณ
ตามขั้นตอนที่อธิบาย และหากไม่มีการดาเนินการที่มีศักยภาพ
สาหรับกลุ่มแล้ว ตัวเลือกของคุณก็จากัด
 ในสถานการณ์เหล่านี้ พนักงานส่วนใหญ่มีการทางานและมี
ความสัมพันธ์กับเจ้านายลดลง ด้วยหวังว่าเจ้านายจะย้ายไป
 แต่จาไว้ว่า ในการเล่นแบบนี้ คุณต้องมีขีดจากัดเรื่องเวลาไว้ เพื่อ
จะไม่ได้กลายเป็นวิถีชีวิตที่เลวร้ายในการทางานของคุณ
 วิธีการแก้ปัญหาที่ดีคือ การมองหางานที่อื่น ในขณะที่คุณยังคง
ทางานอยู่ และลาออกด้วยตัวของคุณเอง
 ให้เตรียมทาประวัติส่วนตัว ติดต่อนายหน้าหางาน ทาหนังสือ
อ้างอิง และเริ่มต้นการสัมภาษณ์
 การมีเจ้านายที่ไม่ดีไม่ได้เป็นความผิดของคุณ แต่การยังคงอยู่
ต่อไป เป็น
สรุป
 นักวิจัย ผู้ฝึกสอน นักจิตวิทยา หลาย ๆ คนได้ใช้เวลาหลาย
ทศวรรษที่ผ่านมา ศึกษาการทางานของผู้บริหารระดับสูงและผู้มี
ศักยภาพสูง เพื่อช่วยแก้ปัญหาการจัดการของพวกเขา
 บทความนี้ มีตัวเลือกที่ใช้ได้กับทุกคนที่ประสบสถานการณ์
เดียวกัน ด้วยการแก้ปัญหาที่รู้สึกเสมือนเป็นสามัญสานึก
 คนมักลืมว่า เขายังมีหนทางในการปรับปรุงสถานการณ์ที่ไม่ดี
โดยทางเลือกอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน และมีประโยชน์
George Patton

More Related Content

What's hot (8)

The right to win
The right to winThe right to win
The right to win
 
Disc model
Disc modelDisc model
Disc model
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
Leadership competencies
Leadership competenciesLeadership competencies
Leadership competencies
 
Organization Boss
Organization BossOrganization Boss
Organization Boss
 
Positive leader
Positive leaderPositive leader
Positive leader
 
Organization diagnosis
Organization diagnosisOrganization diagnosis
Organization diagnosis
 
Performance dialogue
Performance dialoguePerformance dialogue
Performance dialogue
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Cumulative advantage
Cumulative advantageCumulative advantage
Cumulative advantage
 
The truth about blockchain
The truth about blockchainThe truth about blockchain
The truth about blockchain
 
Changes to the 2017–2018 baldrige excellence framework
Changes to the 2017–2018 baldrige excellence frameworkChanges to the 2017–2018 baldrige excellence framework
Changes to the 2017–2018 baldrige excellence framework
 
2016 baldrige award recipients
2016 baldrige award recipients2016 baldrige award recipients
2016 baldrige award recipients
 
Frontier economies
Frontier economiesFrontier economies
Frontier economies
 
Health care needs real competition
Health care needs real competitionHealth care needs real competition
Health care needs real competition
 
From learning to writing
From learning to writingFrom learning to writing
From learning to writing
 
Value chain analysis
Value chain analysisValue chain analysis
Value chain analysis
 
Effective interviewing steps
Effective interviewing stepsEffective interviewing steps
Effective interviewing steps
 
Thailand 4.0
Thailand 4.0Thailand 4.0
Thailand 4.0
 
Lessons from great family businesses
Lessons from great family businessesLessons from great family businesses
Lessons from great family businesses
 
Strategy definition
Strategy definitionStrategy definition
Strategy definition
 
Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellence
 
Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015
 
Board of directors
Board of directorsBoard of directors
Board of directors
 
Strategic five
Strategic fiveStrategic five
Strategic five
 
Maruay 17th ha forum
Maruay 17th ha forumMaruay 17th ha forum
Maruay 17th ha forum
 
Strategy or execution
Strategy or executionStrategy or execution
Strategy or execution
 
What does your customer really want
What does your customer really wantWhat does your customer really want
What does your customer really want
 
Km 2.0
Km 2.0Km 2.0
Km 2.0
 

Similar to Do you hate your boss

Drucker - Managing Oneself.pptx
Drucker - Managing Oneself.pptxDrucker - Managing Oneself.pptx
Drucker - Managing Oneself.pptxmaruay songtanin
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจPoy Thammaugsorn
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑Tuk Diving
 
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2Prapaporn Boonplord
 

Similar to Do you hate your boss (20)

Get smart
Get smartGet smart
Get smart
 
When things go wrong
When things go wrongWhen things go wrong
When things go wrong
 
Decision making 2
Decision making 2Decision making 2
Decision making 2
 
5 second rule
5 second rule5 second rule
5 second rule
 
Drucker - Managing Oneself.pptx
Drucker - Managing Oneself.pptxDrucker - Managing Oneself.pptx
Drucker - Managing Oneself.pptx
 
51105
5110551105
51105
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
 
How to think fast
How to think fastHow to think fast
How to think fast
 
Execution
ExecutionExecution
Execution
 
Tan
TanTan
Tan
 

More from maruay songtanin

๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...maruay songtanin
 
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...maruay songtanin
 
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...
 
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 

Do you hate your boss

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 3 ธันวาคม 2559
  • 2. Manfred F.R. Kets de Vries Harvard Business Review, December 2016 At least half of all employees have quit a job at some point because of their supervisor. People complain of bosses who bully them, micromanage, steal credit, hoard information, and otherwise make them unhappy—which threatens their productivity and the organization’s success.
  • 3. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  อย่าเพิ่งสิ้นหวัง ถ้าคุณเข้าไม่ได้กับเจ้านายของคุณ บทความนี้ มีทางออก 5 ขั้นตอน ที่ คุณสามารถใช้ เพื่อปรับปรุงสถานการณ์:  1. แสดงความเห็นอกเห็นใจ การวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมและประสาทวิทยา แนะนาให้ ระลึกถึงแรงกดดันที่มีผลต่อเจ้านายของคุณ ให้นามาใช้เพื่อการสนับสนุนกันและกัน  2. ตรวจสอบบทบาทของคุณ พิจารณาพฤติกรรมที่คุณอาจมีในเชิงลบ และแสวงหา การฝึกอบรมหรือคาแนะนา ที่จะช่วยให้คุณเปลี่ยนพฤติกรรมของคุณ  3. พูดคุยกับเจ้านายของคุณ เริ่มต้นด้วยการถามว่า คุณสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพ การทางานและความสัมพันธ์ของคุณอย่างไร หากไม่เกิดผล ให้เปิดการสนทนาที่ ตรงไปตรงมา เกี่ยวกับความผิดปกติในการติดต่อระหว่างกัน  4. ไปที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล เป็นมาตรการสุดท้าย และถ้าคุณมีหลักฐานแสดงให้เห็น ว่า เจ้านายของคุณไม่เหมาะสม ให้ทาการร้องเรียนอย่างเป็นทางการ  5. ลาออก ถ้าคุณไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง ก็อาจถึงเวลาที่จะเริ่มต้นหางานใหม่
  • 4. เกริ่นนา  ตามรายงานของ Gallup ในเรื่อง "สถานะทั่วไปในสถานที่ทางาน" ครึ่งหนึ่งของพนักงานในสหรัฐอเมริกาได้ลาออกจากงาน เนื่องมาจากเจ้านายของพวกเขา  ตัวเลขมีความคล้ายคลึงกัน หรือแม้กระทั่งสูงกว่าสาหรับคนงาน ในยุโรป เอเชีย ตะวันออกกลาง และแอฟริกา  การสารวจเดียวกันนี้ ยังแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ชัดเจน ระหว่างความผูกพันของพนักงาน (แรงจูงใจและความพยายามที่ จะบรรลุเป้ าหมายขององค์กร) และความสัมพันธ์ของเขาหรือเธอ กับเจ้านาย
  • 5. ความผูกพันของพนักงาน  77% ของพนักงานที่มีความผูกพัน อธิบายการสื่อสารกับผู้จัดการ ของพวกเขาในแง่บวก (ตัวอย่างเช่น "ผู้บังคับบัญชาของฉัน มุ่งเน้นไปที่จุดแข็งของฉัน") ในขณะที่ของ "ผู้ไม่ผูกพัน" 23% และของ "ผู้ไม่ผูกพันอย่างยิ่ง" 4%  เป็นที่น่ากังวล เพราะมีงานวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า พนักงานที่มี ความผูกพัน เป็นตัวขับเคลื่อนหลักของความสาเร็จขององค์กร และตาม Gallup มีเพียง 13% ของพนักงานทั่วโลกตกอยู่ใน ประเภทนี้
  • 6. 5 ขั้นตอน ที่คุณสามารถใช้ เพื่อปรับปรุงสถานการณ์:  1. แสดงความเห็นอกเห็นใจ (Practice Empathy)  2. ตรวจสอบบทบาทของคุณ (Examine Your Role)  3. พูดคุยกับเจ้านายของคุณ (Talk to Your Boss)  4. ไปที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล (Go to HR)  5. ลาออก (Leave)
  • 7. 1. แสดงความเห็นอกเห็นใจ (Practice Empathy)  ขั้นตอนแรกคือ การพิจารณาแรงกดดันภายนอกที่ผู้จัดการของ คุณได้รับ  โปรดจาไว้ว่า ผู้บังคับบัญชาที่ไม่ดีส่วนใหญ่ไม่ได้คนเลวโดยเนื้ อ แท้ พวกเขาเป็นคนดี แต่มีจุดอ่อนที่มาจากความกดดันที่ต้องการ มีผลลัพธ์ที่ดี  จึงเป็นสิ่งสาคัญ ที่จะต้องพิจารณาไม่เพียงแต่วิธีการที่พวกเขาทา แต่ให้ค้นหาว่า ทาไมพวกเขาจึงทาเช่นนั้น
  • 8.  การวิจัยได้แสดงให้เห็นครั้งแล้วครั้งเล่าว่า การเอาใจใส่ (empathy) สามารถเปลี่ยนเกมในเรื่องความสัมพันธ์ ซึ่งไม่ เพียงแต่เป็นปรากฏการณ์จากบนลงล่างได้เท่านั้น  ผู้เชี่ยวชาญเช่น Stephen Covey และ Daniel Goleman เน้น ความสาคัญของการใช้ความฉลาดทางอารมณ์ในการจัดการ  นักประสาทวิทยาแสดงให้เห็นว่า มันเป็นกลยุทธ์ที่มี ประสิทธิภาพ เนื่องจากเซลล์ประสาทในสมองของมนุษย์ตาม ธรรมชาติ พร้อมที่จะมีการตอบสนองต่อพฤติกรรม  ท้ายที่สุด ถ้าคุณแสดงการเอาใจใส่เจ้านายของคุณ มีโอกาสที่เขา หรือเธอจะเริ่มต้นเอาใจใส่คุณ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อทุกคน
  • 9.  ดูเหมือนเป็นเรื่องยาก ที่จะมีความรู้สึกที่ดีกับผู้จัดการที่ไม่ให้สิ่ง ที่คุณต้องการ หรือเป็นคนที่คุณไม่ชอบ แต่ Goleman แสดงให้ เห็นว่า การเอาใจใส่สามารถเรียนรู้ได้  ผลการวิจัยล่าสุดจากนักวิชาการอื่น ๆ รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญที่ Menninger Clinic แสดงให้เห็นว่า ถ้าคุณฝึกการเอาใจใส่อย่างมี สติ การรับรู้ของคุณต่อความรู้สึกของผู้อื่น จะมีความแม่นยามาก ขึ้น
  • 10.  การแสดงออกเรื่องการใส่ใจ จะมีผลที่ดีที่สุด ด้วยการกระทา อย่างไม่เป็นทางการ  โดยไม่ต้องมีการนัดหมาย ให้คุณมองหาช่วงเวลาที่เหมาะสม แสดงให้คนนั้น ๆ ได้เห็นความพยายามของคุณ
  • 11. 2. พิจารณาบทบาทของคุณ (Consider Your Role)  คนที่เข้าไม่ได้กับผู้บังคับบัญชาของพวกเขา มักเป็นส่วนหนึ่งของ ปัญหาที่เกิดขึ้น พฤติกรรมที่พวกเขาแสดงออก กีดกันพวกเขา จากการเป็นที่ยอมรับและมีคุณค่า  นี่ไม่ใช่สิ่งที่คุณต้องการจะได้ยิน แต่ต้องยอมรับว่า คุณอาจจะทา อะไรที่ผิดพลาด การหาว่ามันคืออะไร แล้วทาการปรับปรุง อาจ กอบกู้ความสัมพันธ์กลับคืนมาได้
  • 12.  เริ่มต้นด้วยการพิจารณาหาหลักฐาน ที่ทาให้คุณถูก วิพากษ์วิจารณ์ใด ๆ โดยเจ้านายของคุณ  คุณจาเป็นต้องปรับปรุงในเรื่องใด? พฤติกรรมหรือการ แสดงออกของคุณ ที่อาจทาให้เขาหรือเธอระคายเคือง?  นอกจากนี้ ให้ถามตัวเองว่า บุคลิกของคุณที่ทาให้เกิดมีการปะทะ กัน คืออะไร?
  • 13.  ถัดไป ให้สังเกตและขอคาแนะนาจากเพื่อนร่วมงาน ที่ประสบ ความสาเร็จในการทางานกับเจ้านายของคุณ ในเรื่องความชอบ นิสัยใจคอ และจุดเดือดของเจ้านาย รวมถึงรับฟังการชี้แนะ บางอย่างเกี่ยวกับวิธีการ ที่คุณควรทาให้แตกต่างจากเดิม  เมื่อคุณถามเพื่อนร่วมงาน ให้ตั้งคาถามอย่างรอบคอบ ยกตัวอย่างเช่น แทนที่จะถามว่า ทาไมเจ้านายมักขัดจังหวะเมื่อ คุณพูดเสมอ ให้ถามว่า "คุณจะรู้ได้อย่างไรว่าควรจะพูดหรือไม่? คุณบอกได้อย่างไรว่า เมื่อใดเจ้านายต้องการหรือไม่ต้องการการ ป้ อนข้อมูล? คุณทาอย่างไรในการแสดงความไม่เห็นด้วย?"
  • 14. 3. พูดคุยกับเจ้านายของคุณ (Talking to Your Boss )  หากเพื่อนร่วมงานของคุณไม่ได้ให้ข้อมูลเชิงลึกใด ๆ ในเรื่อง วิธีการทางาน ขั้นตอนต่อไปคือ การพยายามพูดคุยกับเจ้านายของ คุณเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น  อีกครั้ง คาถามในทางบวก "ผมจะช่วยให้คุณบรรลุเป้ าหมายของ คุณได้อย่างไร?" มากกว่า "ผมทาอะไรผิดหรือเปล่า?" ให้วาง ตาแหน่งตัวเองเป็นการขอคาแนะนา หรือขอคาปรึกษา  เป็นการพูดแบบตัวต่อตัว และขอให้เจ้านายของคุณออกความเห็น ในเรื่อง ปัญหาประสิทธิภาพการทางาน และการพัฒนาทักษะการ จัดการของคุณ
  • 15.  ถ้าคุณโชคดี เขาหรือเธอจะชื่นชมความตั้งใจของคุณที่จะมีส่วน ร่วม และจะชี้ประเด็นที่ควรปรับปรุง ซึ่งเป็นการสร้างรากฐาน สาหรับความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด  หากเจ้านายของคุณแข็งกร้าวหรือโจมตีคุณอีก เป็นเบาะแสว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่คุณ และคุณจะต้องคิดเองว่า คุณจะต้องหาทาง เปลี่ยนแปลงอย่างไรดี
  • 16.  ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการความขัดแย้งส่วนใหญ่ แนะนาให้หา บรรยากาศส่วนตัว ที่ไม่ถูกรบกวนทาให้หยุดชะงัก และเป็ น สถานที่ที่มันจะเป็นเรื่องยากที่จะเดินออก  การพูดคุยที่สร้างสรรค์ จึงเป็นสิ่งสาคัญที่ผู้คนรู้สึกว่าพวกเขาอยู่ ใน "สถานที่ที่ปลอดภัย (safe place)" เชิญเจ้านายของคุณออกไป รับประทานอาหารกลางวัน ณ ร้านอาหารที่ไม่ถูกรบกวนโดย เพื่อนร่วมงาน  ให้อธิบายว่า คุณมีความกังวลส่วนตัวบางอย่าง ที่คุณต้องการจะ หารือในสถานที่ที่อยู่ห่างจากที่ทางาน
  • 17.  หากมีปัญหาทางธุรกิจที่เฉพาะเจาะจงเช่น ความล้มเหลวที่จะ ทางานให้ทันกับเส้นตายที่สาคัญ เพราะความขัดแย้งระหว่างกัน คุณสามารถบอกได้เลยว่า คุณต้องการที่จะพูดคุยเกี่ยวกับ เหตุการณ์นี้ และผลกระทบของมันสาหรับโครงการอื่น ๆ  ทาให้เจ้านายของคุณไม่สามารถหลบเลี่ยงการสนทนาได้  หากคุณเพียงแค่บอกว่า คุณต้องการที่จะหารือเกี่ยวกับประเด็น ความสัมพันธ์ระหว่างคุณกับเจ้านาย เจ้านายของคุณอาจจะไม่ให้ ความสาคัญ
  • 18. 4. การก่อกบฏ (Organize a Mutiny)  ถ้าคุณไม่สามารถปรับปรุง โดยการเปลี่ยนพฤติกรรมของคุณ หรือการติดต่อสื่อสารกับเจ้านายของคุณ และถ้าเพื่อนร่วมงาน ของคุณหลาย ๆ คน รู้สึกแบบเดียวกับที่คุณเป็น คุณควร พิจารณาการแจ้งเตือนฝ่ายทรัพยากรบุคคล และผู้บังคับบัญชา ของเจ้านาย ในการแก้ไขปัญหา
  • 19.  ในการใช้เส้นทางนี้ คุณต้องทาให้เป็นเรื่องของธุรกิจ ว่าทาไม เจ้านายของคุณต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการที่ไม่ดี ส่งผลกระทบต่อทีมงาน หน่วย หรือผลการดาเนินงานขององค์กร นอกจากนี้ คุณยังจะต้องบอกว่าเป็นภัยคุกคาม ความน่าเชื่อถือใน การดาเนินการของบริษัท  คุณจะต้องมีหลักฐานของผลกระทบเชิงลบของเจ้านาย และ พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่นมีพยานและตัวอย่างที่ชัดเจนของ การละเมิดกฎระเบียบของบริษัท หรือแนวทางการบริหาร ทรัพยากรบุคคล
  • 20.  การที่มีหลายคนมีความเต็มใจบันทึกข้อร้องเรียนที่คล้ายกัน และ มีหลักฐานที่ชัดเจน ก็จะทาให้ผู้บริหารระดับสูงปฏิเสธหรือไม่ สนใจปัญหาไม่ได้  ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลที่แสดงให้เห็นรูปแบบของพฤติกรรมที่ไม่ดี ตัวแทนทรัพยากรบุคคลมักจะไม่เป็นพันธมิตรด้วย บ่อยครั้งมาก ที่พวกเขาจะอยู่กับฝ่ายเจ้านาย
  • 21.  ผู้ใต้บังคับบัญชาหลายคน ที่ไม่มีหลักฐานที่แข็งแกร่งกับเจ้านาย ต้องลงเอยด้วยการสูญเสียงานของพวกเขา มากกว่าการบังคับให้ มีการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมหรือการปฏิบัติ  การกบฏและการเป่ านกหวีด ยังสร้างความเสียหายโอกาสในการ ทางานในอนาคตของคุณ  การยื่นข้อร้องเรียนอย่างเป็นทางการ จึงควรใช้เป็นมาตรการ สุดท้าย
  • 22. 5. ถ่วงเวลาหรือย้ายออก (Play for Time or Move On)  ถ้าคุณไม่สามารถเปลี่ยนความสัมพันธ์ของคุณกับเจ้านายของคุณ ตามขั้นตอนที่อธิบาย และหากไม่มีการดาเนินการที่มีศักยภาพ สาหรับกลุ่มแล้ว ตัวเลือกของคุณก็จากัด  ในสถานการณ์เหล่านี้ พนักงานส่วนใหญ่มีการทางานและมี ความสัมพันธ์กับเจ้านายลดลง ด้วยหวังว่าเจ้านายจะย้ายไป  แต่จาไว้ว่า ในการเล่นแบบนี้ คุณต้องมีขีดจากัดเรื่องเวลาไว้ เพื่อ จะไม่ได้กลายเป็นวิถีชีวิตที่เลวร้ายในการทางานของคุณ
  • 23.  วิธีการแก้ปัญหาที่ดีคือ การมองหางานที่อื่น ในขณะที่คุณยังคง ทางานอยู่ และลาออกด้วยตัวของคุณเอง  ให้เตรียมทาประวัติส่วนตัว ติดต่อนายหน้าหางาน ทาหนังสือ อ้างอิง และเริ่มต้นการสัมภาษณ์  การมีเจ้านายที่ไม่ดีไม่ได้เป็นความผิดของคุณ แต่การยังคงอยู่ ต่อไป เป็น
  • 24. สรุป  นักวิจัย ผู้ฝึกสอน นักจิตวิทยา หลาย ๆ คนได้ใช้เวลาหลาย ทศวรรษที่ผ่านมา ศึกษาการทางานของผู้บริหารระดับสูงและผู้มี ศักยภาพสูง เพื่อช่วยแก้ปัญหาการจัดการของพวกเขา  บทความนี้ มีตัวเลือกที่ใช้ได้กับทุกคนที่ประสบสถานการณ์ เดียวกัน ด้วยการแก้ปัญหาที่รู้สึกเสมือนเป็นสามัญสานึก  คนมักลืมว่า เขายังมีหนทางในการปรับปรุงสถานการณ์ที่ไม่ดี โดยทางเลือกอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน และมีประโยชน์