SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
26 พฤศจิกายน 2559
Aldo Musacchio and Eric Werker
Harvard Business Review, December 2016
Multinationals are paying more attention to low-income, high-risk countries
both as new markets for selling goods and services and as platforms from
which to export them elsewhere.
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
 ขั้นตอนแรกในการระบุโอกาสของเศรษฐกิจชายแดนคือ การประเมิน
สภาพแวดล้อมการแข่งขันของอุตสาหกรรมทั้งสองมิติคือ (1) ในการทากาไร
นั้น กาหนดโดยการแข่งขันระหว่างบริษัท หรือโดยนโยบายและการกระทา
ของรัฐบาล และ (2) อุตสาหกรรมนั้น เน้นการขายในประเทศ หรือเน้นการ
ส่งออก
 การแบ่งอุตสาหกรรมเป็น 4 ประเภท (Workhorse, Cluster Builder,
Powerbroker, และ Rentier) มีความเกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ที่แตกต่างกัน ตั้งแต่
แบบธรรมดา (การใช้ประโยชน์จากความสามารถที่มีอยู่และปรับให้เข้ากับ
รสนิยมของท้องถิ่น) และแบบที่ไม่คุ้นเคย (ทาให้ตัวเองสาคัญจนขาดไม่ได้
ต่อผู้มีอานาจในท้องถิ่น)
 ผู้ประพันธ์ มีแนวทางช่วยให้บริษัทรู้ถึง สถานที่ในการเล่นและวิธีที่จะชนะ
(where to play and how to win) ในพื้นที่ที่พวกเขาเลือกที่จะแข่งขัน
เกริ่นนา
 บริษัทระดับโลก ที่พยายามให้การเจริญเติบโตเป็นตัวเลขสอง
หลัก กาลังจะหมดโอกาส
 ยักษ์ใหญ่ในตลาดเกิดใหม่เช่น บราซิล รัสเซีย และจีน กาลัง
ประสบภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว การใช้ประเทศเหล่านี้ เป็นฐาน
สาหรับการดาเนินงานมีค่าใช้จ่ายสูงมากขึ้น และเป็นเรื่องยากที่
จะส่งออกและนาเข้าจากประเทศเหล่านี้ อย่างที่เคยเป็น
 เป็นผลให้บริษัทข้ามชาติให้ความสนใจมากขึ้น กับประเทศที่มี
รายได้ต่าและมีความเสี่ยงสูง ว่าเป็นตลาดใหม่สาหรับการขาย
สินค้าและบริการ และใช้เป็นฐานที่จะส่งออกไปที่อื่น ๆ
เศรษฐกิจชายแดน (Frontier Economies)
 "เศรษฐกิจชายแดน" อาจดูเหมือนเป็นภูมิประเทศที่มีแนวโน้มไม่ดี
เพราะมีการจัดการตลาดโดยการเมือง มีระบบกฎหมายอ่อนแอ และ
รายได้ต่อหัวหรือ GDP ต่า
 เช่น ประเทศพม่า โมซัมบิก เวียดนาม และรวันดา ที่เป็นแหล่งใหญ่
ที่สุดของแร่ธาตุและโลหะของโลก สินค้าโภคภัณฑ์มีราคาถูก แต่การ
ลงทุนในประเทศเหล่านี้ จะช่วยเพิ่มทั้งรายได้และการเจริญเติบโต
ให้กับบริษัท
 การเจริญเติบโตในเศรษฐกิจชายแดน ไม่ขึ้นกับแนวโน้มเศรษฐกิจ
โลก ผู้ลงทุนรายแรก ๆ สามารถเก็บเกี่ยวผลตอบแทนที่ดี คุ้มค่ากับ
ปัจจัยความเสี่ยง
การดาเนินงานในเศรษฐกิจชายแดน
 แม้ในอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันอย่างลาเอียง โดยการจัดการ
ของรัฐบาล ถ้าผู้เล่นต่างชาติมีเป้ าหมายเฉพาะในภาคส่วนที่
เหมาะสมกับกลยุทธ์ ก็ยังสามารถประสบความสาเร็จได้
 ในความเป็นจริง บริษัทที่ดาเนินงานในประเทศเศรษฐกิจ
ชายแดน มักจะพบว่า การแข่งขันมีนัยสาคัญน้อยกว่าที่จะต้อง
เผชิญในกลุ่มเศรษฐกิจ BRIC หรือ tiger economy ดังนั้นจึงมี
แนวโน้มที่พวกเขาจะมีอัตรากาไรที่สูงเป็นระยะเวลานาน
การทาแผนที่ของโอกาส
 ขั้นตอนแรกในการระบุโอกาสในทางเศรษฐกิจชายแดนคือ การ
ประเมินสภาพแวดล้อมการแข่งขันของอุตสาหกรรมตามแนว
สองมิติ:
 (1) การทากาไรถูกกาหนดโดยการแข่งขันระหว่างบริษัท หรือ
โดยนโยบายและการดาเนินการของรัฐบาล และ
 (2) อุตสาหกรรมนั้นเน้นการขายในประเทศ หรือเน้นส่งออก
 อุตสาหกรรมนั้น ๆ จะตกอยู่ในหนึ่งในสี่ประเภท (Workhorse,
Cluster Builder, Powerbroker, และ Rentier)
1. ม้าทางาน (Workhorses –ม้าเอาไว้ใช้ทางาน ไม่ใช่เอาไว้ขี่)
 ในหมวดหมู่นี้ บริษัทมีขนาดค่อนข้างเล็ก ขายให้กับลูกค้าใน
ประเทศและแข่งขันกับคนอื่น โดยใช้กลยุทธ์การดาเนินธุรกิจ
ปกติ ที่มองหาความได้เปรียบในการแข่งขัน ผ่านความแตกต่าง
ของสินค้า ประสิทธิภาพการดาเนินงาน การตลาด และการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
 ตัวอย่างรวมถึงผู้ผลิตในท้องถิ่น (ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ ผู้ผลิตน้า
บรรจุขวด) ผู้ให้บริการ (บริษัทก่อสร้างขนาดเล็ก บริการรถ
แท็กซี่) ร้านค้าปลีก (ร้านขายของชา ร้านขายยา) และฟาร์ม
ขนาดเล็กที่ให้บริการตลาดในประเทศ
1. ม้าทางาน (ต่อ)
 ในเศรษฐกิจชายแดน ธุรกิจม้าทางานส่วนใหญ่ ต้องพึ่งพาอาศัย
แรงงานจานวนมาก
 ตัวอย่างของบริษัทต่างประเทศ ที่อยู่ในหมวดหมู่นี้ คือ ยูนิลีเวอร์
(Unilever) ที่ผลิตและขายผงซักฟอก ให้กับผู้บริโภคในกลุ่ม
ประเทศแอฟริกา
2. ผู้สร้างกลุ่ม (Cluster Builders)
 บริษัทในหมวดหมู่นี้ แข่งขันกันเองในธุรกิจส่งออก ส่วนใหญ่จะ
เป็นผู้ส่งมอบให้กับบริษัทต่างชาติขนาดใหญ่ ที่ให้บริการใน
ตลาดที่พัฒนาแล้ว
 บริษัทดังกล่าว มักจะตั้งเป็น กลุ่มอุตสาหกรรม (clusters) เพื่อ
ใช้ประโยชน์จากต้นทุนการผลิตที่ต่า แรงงานที่มีทักษะหรือราคา
ถูก (รวมถึงปัจจัยการผลิตอื่น ๆ ) การมีผู้ส่งมอบหลายหลาก
และมีความซับซ้อน หรือความต้องการของตลาดในประเทศ
2. ผู้สร้างกลุ่ม (ต่อ)
 กลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมการส่งออกนี้ แข่งขันในเรื่องราคาและ
คุณภาพ ที่ได้รับประโยชน์จากกฎหมายและกฎระเบียบ พวกเขา
จึงจาเป็นต้องมีสถาบันการพัฒนา รองรับการบังคับสัญญา
 เช่น ผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ผู้ผลิตเสื้อผ้า และผู้ให้บริการ
ระดับนานาชาติ (สายการเดินเรือ หรือศูนย์บริการทางโทรศัพท์)
 ผู้ผลิตเครื่องแต่งกาย Gap ในประเทศพม่า อยู่ในหมวดหมู่นี้
3. นายหน้าผูกขาดอานาจ (Powerbrokers)
 บริษัทในหมวดหมู่นี้ รองรับตลาดในประเทศ เช่นเดียวกับม้า
ทางาน แต่พวกเขาปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมที่การเมืองมี
อิทธิพลสูง
 ผู้เล่นทั่วไปรวมถึงบริษัทโทรคมนาคมขนาดใหญ่ การ
สาธารณูปโภค การบริการโครงสร้างพื้นฐาน ผู้ผลิตปูนซีเมนต์
และผู้จัดจาหน่ายน้ามัน
3.นายหน้าผูกขาดอานาจ (ต่อ)
 ตัวอย่างของบริษัทต่างประเทศในพื้นที่นี้ คือ Symbion Power จาก
Washington, D.C. ซึ่งเป็นบริษัทพลังงานที่พัฒนาและดาเนินงาน
โรงไฟฟ้ าใน แทนซาเนีย เคนยา มาดากัสการ์ และตลาด
ชายแดนอื่น ๆ
 ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ธุรกิจชนิดนี้ มักจะมีการส่งเสริมการ
แข่งขันหรือการปกป้ องลูกค้า แต่ในสภาพเศรษฐกิจชายแดน
กฎระเบียบจะเป็นหลักในการนาผลกาไรให้กับรัฐบาล หรือทาให้
บริษัทได้รับการยกเว้นเรื่องผลประโยชน์ต่าง ๆ
4. ผู้มีรายได้ประจา (Rentiers)
 บริษัทในหมวดหมู่นี้ มักจะเน้นการส่งออก แต่แง่ของการ
ดาเนินงานของพวกเขาในเรื่องเกี่ยวกับภาษี ค่าสิทธิบัตร ค่า
นายหน้า และสิทธิพิเศษอื่น ๆ จะได้รับการคุ้มครองจากการทา
สัญญากับรัฐบาล
 พวกเขามักทางานในลักษณะ "สัมปทาน (concession)" ที่อยู่บน
พื้นฐานการได้รับใบอนุญาตจากรัฐบาล ที่รวมถึง น้ามัน ก๊าซ แร่
และการถลุงแร่ต่าง ๆ
4. ผู้มีรายได้ประจา (ต่อ)
 การบังคับใช้กฎระเบียบและข้อตกลงในหมวดหมู่นี้ มักอ่อนแอ
ทาให้เกิดปัญหาด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม
 ผลกาไรขึ้นกับความสามารถดาเนินการที่มีค่าใช้จ่ายต่า และจาก
รายจ่ายที่ให้กับรัฐบาล
 บริษัทเหมืองแร่ยักษ์ใหญ่ Rio Tinto ที่ทาเหมืองทองแดงและ
เหมืองทองขนาดใหญ่ในมองโกเลีย คือตัวอย่างการดาเนินงานใน
พื้นที่ของผู้ที่มีรายได้ประจา
การทาแผนที่อุตสาหกรรม
 เมื่อเสร็จสิ้นการจาแนกประเภทอุตสาหกรรม ให้แบ่งกลุ่มย่อย
ของอุตสาหกรรม ตามจีดีพีอีกครั้ง ก็จะช่วยให้เห็นภาพรวม
เศรษฐกิจของประเทศนั้น ๆ ความสนใจของท้องถิ่น และรู้ถึง
โอกาสที่มีอยู่
 การแบ่งประเภทของอุตสาหกรรมด้วยการทาแผนที่สี่ประเภท
ไม่เพียงแต่แสดงให้เห็นโอกาสที่ดีที่สุด แต่ยังช่วยระบุกลยุทธ์ที่ดี
ที่สุดอีกด้วย
กลยุทธ์สาหรับม้าทางาน
 บริษัทที่ประสบความสาเร็จ มีลักษณะเช่นเดียวกับบริษัทที่
ประสบความสาเร็จได้ในทุกที่ พวกเขาปรับตัวและใช้
ความสามารถที่มีอยู่ ปรับการตลาดและการจัดจาหน่าย กลยุทธ์
ของพวกเขาจะสะท้อนรสนิยมของท้องถิ่นและข้อจากัดที่มี
 สาหรับบริษัทต่างประเทศที่แข่งขันกับธุรกิจในท้องถิ่นที่
แข็งแกร่ง มักจะต้องมีนวัตกรรมที่ท้าทาย รูปแบบธุรกิจที่โดด
เด่น และอาจจาเป็นต้องมีการดัดแปลงสินค้าหรือบริการ
กลยุทธ์สาหรับม้าทางาน (ต่อ)
 จากประสบการณ์ของบริษัทย่อย Hindustan Lever ในอินเดีย บริษัท
Unilever ตระหนักว่ามีโอกาสในแอฟริกา โดยการตัดพ่อค้าคนกลาง
ผลิตและจัดจาหน่ายโดยตรง ด้วยแพ็คเกจขนาดเล็กลงและมีราคาต่า
 เช่นเดียวกับที่ได้ทาในอินเดีย ยูนิลีเวอร์พัฒนาเครือข่ายของพนักงาน
ขายในพื้นที่ชนบท โดยจ้างระบบการจัดจาหน่ายให้กับผู้จัดจาหน่าย
ในระดับภูมิภาค ที่ให้การฝึกอบรมกับพนักงานขายระดับล่างสุด
 แม้ว่าอัตรากาไรต่อหน่วยต่า เนื่องจากการบรรจุภัณฑ์และค่าใช้จ่าย
การกระจายสินค้า แต่ก็ได้อาศัยศักยภาพจากปริมาณที่มาก
กลยุทธ์สาหรับกลุ่มการส่งออก
 หลายบริษัทพึ่งพาแหล่งผลิตสินค้าจากผู้ส่งมอบในประเทศ
เศรษฐกิจชายแดน หรือมีการตั้งโรงงานผลิตเป็นของตัวเอง
เนื่องจากแรงงานมีราคาถูก
 หากบริษัทต้องการการผลิตที่ยั่งยืนในประเทศเศรษฐกิจชายแดน
กลยุทธ์ของพวกเขาจะต้องเป็นอะไรที่มากกว่าการเข้าถึงแรงงาน
ราคาถูก พวกเขาจะต้องทาหน้าที่เป็นผู้สร้างกลุ่มด้วย โดยจัดให้
หลาย ๆ บริษัทที่ส่งออกอุตสาหกรรมเดียวกัน อยู่ในพื้นที่
เดียวกันเป็นกลุ่ม
กลยุทธ์สาหรับผู้ส่งออกแบบกลุ่ม (ต่อ)
 บริษัท the Integrated Tamale Fruit Company (ITFC) ซึ่งเป็นศูนย์กลาง
ร่วมกับผู้เข้าร่วมโครงการที่ยากจนในภาคเหนือของประเทศกานา
ส่งออกมะม่วงอินทรีย์โดยตรงไปยังตลาดยุโรป
 ITFC มีพื้นที่ของตัวเอง 400 เอเคอร์ ที่ทางานในฟาร์มเชิงพาณิชย์
โดยมืออาชีพ และร่วมมือทางานกับเกษตรกรรายย่อยในพื้นที่
โดยรอบ (outgrowers) ที่มีมากกว่า 1,200 ราย
 มีการแลกเปลี่ยนในรูปแบบเงินกู้และการฝึกอบรมที่ครอบคลุม
เกษตรกรรายย่อยจะปลูกมะม่วงในที่ดินของพวกเขาโดยใช้เทคนิค
อินทรีย์รายละ 1-2 เอเคอร์ และขายผ่านช่องทางการตลาดของ ITFC
กลยุทธ์สาหรับนายหน้าผูกขาดอานาจและผู้มีรายได้ประจา
 การปกป้ องผลประโยชน์ของนายหน้าผูกขาดอานาจและผู้มี
รายได้ประจา มักจะหนักกว่าการดาเนินงานในม้าทางานและ
กลุ่มผู้ส่งออก
 หลายโครงการเกี่ยวข้องกับ อัตลักษณ์ของสาธาณะ (public
identities) จึงมีความเสี่ยงอย่างมีนัยสาคัญทางการเมือง
 บริษัทต่างชาติสามารถลดความเสี่ยง โดยการเพิ่มความ
หลากหลายของผู้มีส่วนได้เสีย เข้ากับความสาเร็จของพวกเขา
 เป็นสิ่งสาคัญสาหรับบริษัทต่างชาติที่จะรู้ว่า การมีส่วนร่วมของผู้
มีส่วนได้เสีย ต้องมีความมุ่งมั่นระยะยาว
กลยุทธ์สาหรับนายหน้าผูกขาดอานาจและผู้มีรายได้ประจา (ต่อ)
 การมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่หลากหลาย บริษัทสามารถทา
ให้ตนเองเป็นที่ขาดไม่ได้สาหรับผู้นาในท้องถิ่น แม้บางอย่างไม่ได้
เกี่ยวกับธุรกิจหลัก
 Sherritt ใช้วิธีการนี้ ในคิวบา บริษัทจาเป็นต้องใช้แร่ที่เฉพาะเจาะจง
สาหรับโรงกลั่นน้ามันใน Alberta และในปี ค.ศ. 1994 ก็เลือกที่จะ
พัฒนาเหมืองในคิวบา
 เพื่อที่จะปกป้ องตน Sherritt จึงได้จัดตั้งบริษัทร่วมทุนกับรัฐบาลคิวบา
โดยร่วมกันเป็นเจ้าของเหมืองในคิวบาและโรงกลั่นน้ามันในแคนาดา
 นอกจากนี้ Sherritt ยังรับหน้าที่ในการฝึกอบรมคนงาน และช่วย
รัฐบาลคิวบาร่างกฎหมายการลงทุนกับต่างประเทศ
กลยุทธ์สาหรับนายหน้าผูกขาดอานาจและผู้มีรายได้ประจา (ต่อ)
 ไม่กี่ปีหลังจากการดาเนินงานเหมืองแร่ รัฐบาลเริ่มขาดเงินสด และ
ไม่สามารถเข้าถึงตลาดต่างประเทศ จึงขอร้อง Sherritt ให้ช่วยจัดหา
เงินทุนในการพัฒนาแหล่งน้ามัน ที่ถูกทิ้งร้างในประเทศคิวบา
 Sherritt ออกพันธบัตรใน Toronto และลงทุนในบริษัทร่วมทุนใหม่กับ
รัฐบาลคิวบา นอกจากนั้นพวกเขาได้ช่วยสร้างกิจการร่วมค้าอื่น ๆ
เช่น ผลิตพลังงานสาหรับเมืองตากอากาศ Varadero การดาเนินงาน
โรงแรม บริษัทโทรศัพท์มือถือ และโรงงานแปรรูปถั่วเหลือง
 ความสัมพันธ์ที่ดีของ Sherritt กับรัฐบาล ไม่เพียงการจัดการกับสกุล
เงินที่จาเป็นให้กับรัฐบาล แต่ช่วยให้บริษัทมีเสถียรภาพและมีกาไรใน
คิวบาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994
สรุป
 เนื่องจากตลาดทุนยังไม่รู้ลึกพอในเรื่องเศรษฐกิจชายแดน ว่าการ
ลงทุนในสถานที่เหล่านี้ จาเป็นต้องอาศัยการลงทุนโดยตรงและ
สร้างขึ้นมาจากฐานราก และอาจต้องอาศัยเวลามากกว่าทศวรรษ
ที่จะตระหนักรู้ถึงทฤษฎีการลงทุน
 ความอดทน การวิเคราะห์ศักยภาพในการเติบโตระยะยาว และ
การเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสม จะสร้างผลตอบแทนให้กับบริษัทที่
กล้าลงทุนในเศรษฐกิจชายแดนในวันนี้
T. S. Eliot

More Related Content

Viewers also liked

Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
maruay songtanin
 
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
maruay songtanin
 
Business model innovation การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ
Business model innovation การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจBusiness model innovation การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ
Business model innovation การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ
maruay songtanin
 
Successful innovation team - 10 กลเม็ดในการสร้างทีมนวัตกรรม
Successful innovation team - 10 กลเม็ดในการสร้างทีมนวัตกรรมSuccessful innovation team - 10 กลเม็ดในการสร้างทีมนวัตกรรม
Successful innovation team - 10 กลเม็ดในการสร้างทีมนวัตกรรม
maruay songtanin
 
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
maruay songtanin
 
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญKey factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
maruay songtanin
 
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคตBuilding a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
maruay songtanin
 
Innovation on the fly การสร้างนวัตกรรมชั่วพริบตา
Innovation on the fly การสร้างนวัตกรรมชั่วพริบตา Innovation on the fly การสร้างนวัตกรรมชั่วพริบตา
Innovation on the fly การสร้างนวัตกรรมชั่วพริบตา
maruay songtanin
 
Coaching the toxic leader กลเม็ดการสอนผู้นำ
Coaching the toxic leader กลเม็ดการสอนผู้นำCoaching the toxic leader กลเม็ดการสอนผู้นำ
Coaching the toxic leader กลเม็ดการสอนผู้นำ
maruay songtanin
 
How to retire happy เตรียมให้พร้อมก่อนเกษียณ
How to retire happy เตรียมให้พร้อมก่อนเกษียณHow to retire happy เตรียมให้พร้อมก่อนเกษียณ
How to retire happy เตรียมให้พร้อมก่อนเกษียณ
maruay songtanin
 
Award scoring การให้คะแนนในการให้รางวัล
Award scoring การให้คะแนนในการให้รางวัลAward scoring การให้คะแนนในการให้รางวัล
Award scoring การให้คะแนนในการให้รางวัล
maruay songtanin
 
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
maruay songtanin
 

Viewers also liked (19)

Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
 
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
 
Diversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลายDiversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลาย
 
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
 
Business model innovation การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ
Business model innovation การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจBusiness model innovation การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ
Business model innovation การสร้างนวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ
 
Successful innovation team - 10 กลเม็ดในการสร้างทีมนวัตกรรม
Successful innovation team - 10 กลเม็ดในการสร้างทีมนวัตกรรมSuccessful innovation team - 10 กลเม็ดในการสร้างทีมนวัตกรรม
Successful innovation team - 10 กลเม็ดในการสร้างทีมนวัตกรรม
 
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพCriteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
 
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
 
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
 
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญKey factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
 
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคตBuilding a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
 
Innovation on the fly การสร้างนวัตกรรมชั่วพริบตา
Innovation on the fly การสร้างนวัตกรรมชั่วพริบตา Innovation on the fly การสร้างนวัตกรรมชั่วพริบตา
Innovation on the fly การสร้างนวัตกรรมชั่วพริบตา
 
How to write application report (part 2 of 4) การเขียนรายงาน
How to write application report (part 2 of 4) การเขียนรายงานHow to write application report (part 2 of 4) การเขียนรายงาน
How to write application report (part 2 of 4) การเขียนรายงาน
 
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20142014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
 
Coaching the toxic leader กลเม็ดการสอนผู้นำ
Coaching the toxic leader กลเม็ดการสอนผู้นำCoaching the toxic leader กลเม็ดการสอนผู้นำ
Coaching the toxic leader กลเม็ดการสอนผู้นำ
 
Vision statement วิสัยทัศน์
Vision statement วิสัยทัศน์Vision statement วิสัยทัศน์
Vision statement วิสัยทัศน์
 
How to retire happy เตรียมให้พร้อมก่อนเกษียณ
How to retire happy เตรียมให้พร้อมก่อนเกษียณHow to retire happy เตรียมให้พร้อมก่อนเกษียณ
How to retire happy เตรียมให้พร้อมก่อนเกษียณ
 
Award scoring การให้คะแนนในการให้รางวัล
Award scoring การให้คะแนนในการให้รางวัลAward scoring การให้คะแนนในการให้รางวัล
Award scoring การให้คะแนนในการให้รางวัล
 
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Frontier economies เศรษฐกิจชายแดน

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 26 พฤศจิกายน 2559
  • 2. Aldo Musacchio and Eric Werker Harvard Business Review, December 2016 Multinationals are paying more attention to low-income, high-risk countries both as new markets for selling goods and services and as platforms from which to export them elsewhere.
  • 3. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  ขั้นตอนแรกในการระบุโอกาสของเศรษฐกิจชายแดนคือ การประเมิน สภาพแวดล้อมการแข่งขันของอุตสาหกรรมทั้งสองมิติคือ (1) ในการทากาไร นั้น กาหนดโดยการแข่งขันระหว่างบริษัท หรือโดยนโยบายและการกระทา ของรัฐบาล และ (2) อุตสาหกรรมนั้น เน้นการขายในประเทศ หรือเน้นการ ส่งออก  การแบ่งอุตสาหกรรมเป็น 4 ประเภท (Workhorse, Cluster Builder, Powerbroker, และ Rentier) มีความเกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ที่แตกต่างกัน ตั้งแต่ แบบธรรมดา (การใช้ประโยชน์จากความสามารถที่มีอยู่และปรับให้เข้ากับ รสนิยมของท้องถิ่น) และแบบที่ไม่คุ้นเคย (ทาให้ตัวเองสาคัญจนขาดไม่ได้ ต่อผู้มีอานาจในท้องถิ่น)  ผู้ประพันธ์ มีแนวทางช่วยให้บริษัทรู้ถึง สถานที่ในการเล่นและวิธีที่จะชนะ (where to play and how to win) ในพื้นที่ที่พวกเขาเลือกที่จะแข่งขัน
  • 4.
  • 5. เกริ่นนา  บริษัทระดับโลก ที่พยายามให้การเจริญเติบโตเป็นตัวเลขสอง หลัก กาลังจะหมดโอกาส  ยักษ์ใหญ่ในตลาดเกิดใหม่เช่น บราซิล รัสเซีย และจีน กาลัง ประสบภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว การใช้ประเทศเหล่านี้ เป็นฐาน สาหรับการดาเนินงานมีค่าใช้จ่ายสูงมากขึ้น และเป็นเรื่องยากที่ จะส่งออกและนาเข้าจากประเทศเหล่านี้ อย่างที่เคยเป็น  เป็นผลให้บริษัทข้ามชาติให้ความสนใจมากขึ้น กับประเทศที่มี รายได้ต่าและมีความเสี่ยงสูง ว่าเป็นตลาดใหม่สาหรับการขาย สินค้าและบริการ และใช้เป็นฐานที่จะส่งออกไปที่อื่น ๆ
  • 6.
  • 7. เศรษฐกิจชายแดน (Frontier Economies)  "เศรษฐกิจชายแดน" อาจดูเหมือนเป็นภูมิประเทศที่มีแนวโน้มไม่ดี เพราะมีการจัดการตลาดโดยการเมือง มีระบบกฎหมายอ่อนแอ และ รายได้ต่อหัวหรือ GDP ต่า  เช่น ประเทศพม่า โมซัมบิก เวียดนาม และรวันดา ที่เป็นแหล่งใหญ่ ที่สุดของแร่ธาตุและโลหะของโลก สินค้าโภคภัณฑ์มีราคาถูก แต่การ ลงทุนในประเทศเหล่านี้ จะช่วยเพิ่มทั้งรายได้และการเจริญเติบโต ให้กับบริษัท  การเจริญเติบโตในเศรษฐกิจชายแดน ไม่ขึ้นกับแนวโน้มเศรษฐกิจ โลก ผู้ลงทุนรายแรก ๆ สามารถเก็บเกี่ยวผลตอบแทนที่ดี คุ้มค่ากับ ปัจจัยความเสี่ยง
  • 8.
  • 9. การดาเนินงานในเศรษฐกิจชายแดน  แม้ในอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันอย่างลาเอียง โดยการจัดการ ของรัฐบาล ถ้าผู้เล่นต่างชาติมีเป้ าหมายเฉพาะในภาคส่วนที่ เหมาะสมกับกลยุทธ์ ก็ยังสามารถประสบความสาเร็จได้  ในความเป็นจริง บริษัทที่ดาเนินงานในประเทศเศรษฐกิจ ชายแดน มักจะพบว่า การแข่งขันมีนัยสาคัญน้อยกว่าที่จะต้อง เผชิญในกลุ่มเศรษฐกิจ BRIC หรือ tiger economy ดังนั้นจึงมี แนวโน้มที่พวกเขาจะมีอัตรากาไรที่สูงเป็นระยะเวลานาน
  • 10. การทาแผนที่ของโอกาส  ขั้นตอนแรกในการระบุโอกาสในทางเศรษฐกิจชายแดนคือ การ ประเมินสภาพแวดล้อมการแข่งขันของอุตสาหกรรมตามแนว สองมิติ:  (1) การทากาไรถูกกาหนดโดยการแข่งขันระหว่างบริษัท หรือ โดยนโยบายและการดาเนินการของรัฐบาล และ  (2) อุตสาหกรรมนั้นเน้นการขายในประเทศ หรือเน้นส่งออก  อุตสาหกรรมนั้น ๆ จะตกอยู่ในหนึ่งในสี่ประเภท (Workhorse, Cluster Builder, Powerbroker, และ Rentier)
  • 11.
  • 12. 1. ม้าทางาน (Workhorses –ม้าเอาไว้ใช้ทางาน ไม่ใช่เอาไว้ขี่)  ในหมวดหมู่นี้ บริษัทมีขนาดค่อนข้างเล็ก ขายให้กับลูกค้าใน ประเทศและแข่งขันกับคนอื่น โดยใช้กลยุทธ์การดาเนินธุรกิจ ปกติ ที่มองหาความได้เปรียบในการแข่งขัน ผ่านความแตกต่าง ของสินค้า ประสิทธิภาพการดาเนินงาน การตลาด และการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์  ตัวอย่างรวมถึงผู้ผลิตในท้องถิ่น (ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ ผู้ผลิตน้า บรรจุขวด) ผู้ให้บริการ (บริษัทก่อสร้างขนาดเล็ก บริการรถ แท็กซี่) ร้านค้าปลีก (ร้านขายของชา ร้านขายยา) และฟาร์ม ขนาดเล็กที่ให้บริการตลาดในประเทศ
  • 13. 1. ม้าทางาน (ต่อ)  ในเศรษฐกิจชายแดน ธุรกิจม้าทางานส่วนใหญ่ ต้องพึ่งพาอาศัย แรงงานจานวนมาก  ตัวอย่างของบริษัทต่างประเทศ ที่อยู่ในหมวดหมู่นี้ คือ ยูนิลีเวอร์ (Unilever) ที่ผลิตและขายผงซักฟอก ให้กับผู้บริโภคในกลุ่ม ประเทศแอฟริกา
  • 14. 2. ผู้สร้างกลุ่ม (Cluster Builders)  บริษัทในหมวดหมู่นี้ แข่งขันกันเองในธุรกิจส่งออก ส่วนใหญ่จะ เป็นผู้ส่งมอบให้กับบริษัทต่างชาติขนาดใหญ่ ที่ให้บริการใน ตลาดที่พัฒนาแล้ว  บริษัทดังกล่าว มักจะตั้งเป็น กลุ่มอุตสาหกรรม (clusters) เพื่อ ใช้ประโยชน์จากต้นทุนการผลิตที่ต่า แรงงานที่มีทักษะหรือราคา ถูก (รวมถึงปัจจัยการผลิตอื่น ๆ ) การมีผู้ส่งมอบหลายหลาก และมีความซับซ้อน หรือความต้องการของตลาดในประเทศ
  • 15. 2. ผู้สร้างกลุ่ม (ต่อ)  กลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมการส่งออกนี้ แข่งขันในเรื่องราคาและ คุณภาพ ที่ได้รับประโยชน์จากกฎหมายและกฎระเบียบ พวกเขา จึงจาเป็นต้องมีสถาบันการพัฒนา รองรับการบังคับสัญญา  เช่น ผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ผู้ผลิตเสื้อผ้า และผู้ให้บริการ ระดับนานาชาติ (สายการเดินเรือ หรือศูนย์บริการทางโทรศัพท์)  ผู้ผลิตเครื่องแต่งกาย Gap ในประเทศพม่า อยู่ในหมวดหมู่นี้
  • 16. 3. นายหน้าผูกขาดอานาจ (Powerbrokers)  บริษัทในหมวดหมู่นี้ รองรับตลาดในประเทศ เช่นเดียวกับม้า ทางาน แต่พวกเขาปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมที่การเมืองมี อิทธิพลสูง  ผู้เล่นทั่วไปรวมถึงบริษัทโทรคมนาคมขนาดใหญ่ การ สาธารณูปโภค การบริการโครงสร้างพื้นฐาน ผู้ผลิตปูนซีเมนต์ และผู้จัดจาหน่ายน้ามัน
  • 17. 3.นายหน้าผูกขาดอานาจ (ต่อ)  ตัวอย่างของบริษัทต่างประเทศในพื้นที่นี้ คือ Symbion Power จาก Washington, D.C. ซึ่งเป็นบริษัทพลังงานที่พัฒนาและดาเนินงาน โรงไฟฟ้ าใน แทนซาเนีย เคนยา มาดากัสการ์ และตลาด ชายแดนอื่น ๆ  ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ธุรกิจชนิดนี้ มักจะมีการส่งเสริมการ แข่งขันหรือการปกป้ องลูกค้า แต่ในสภาพเศรษฐกิจชายแดน กฎระเบียบจะเป็นหลักในการนาผลกาไรให้กับรัฐบาล หรือทาให้ บริษัทได้รับการยกเว้นเรื่องผลประโยชน์ต่าง ๆ
  • 18. 4. ผู้มีรายได้ประจา (Rentiers)  บริษัทในหมวดหมู่นี้ มักจะเน้นการส่งออก แต่แง่ของการ ดาเนินงานของพวกเขาในเรื่องเกี่ยวกับภาษี ค่าสิทธิบัตร ค่า นายหน้า และสิทธิพิเศษอื่น ๆ จะได้รับการคุ้มครองจากการทา สัญญากับรัฐบาล  พวกเขามักทางานในลักษณะ "สัมปทาน (concession)" ที่อยู่บน พื้นฐานการได้รับใบอนุญาตจากรัฐบาล ที่รวมถึง น้ามัน ก๊าซ แร่ และการถลุงแร่ต่าง ๆ
  • 19. 4. ผู้มีรายได้ประจา (ต่อ)  การบังคับใช้กฎระเบียบและข้อตกลงในหมวดหมู่นี้ มักอ่อนแอ ทาให้เกิดปัญหาด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม  ผลกาไรขึ้นกับความสามารถดาเนินการที่มีค่าใช้จ่ายต่า และจาก รายจ่ายที่ให้กับรัฐบาล  บริษัทเหมืองแร่ยักษ์ใหญ่ Rio Tinto ที่ทาเหมืองทองแดงและ เหมืองทองขนาดใหญ่ในมองโกเลีย คือตัวอย่างการดาเนินงานใน พื้นที่ของผู้ที่มีรายได้ประจา
  • 20. การทาแผนที่อุตสาหกรรม  เมื่อเสร็จสิ้นการจาแนกประเภทอุตสาหกรรม ให้แบ่งกลุ่มย่อย ของอุตสาหกรรม ตามจีดีพีอีกครั้ง ก็จะช่วยให้เห็นภาพรวม เศรษฐกิจของประเทศนั้น ๆ ความสนใจของท้องถิ่น และรู้ถึง โอกาสที่มีอยู่  การแบ่งประเภทของอุตสาหกรรมด้วยการทาแผนที่สี่ประเภท ไม่เพียงแต่แสดงให้เห็นโอกาสที่ดีที่สุด แต่ยังช่วยระบุกลยุทธ์ที่ดี ที่สุดอีกด้วย
  • 21.
  • 22. กลยุทธ์สาหรับม้าทางาน  บริษัทที่ประสบความสาเร็จ มีลักษณะเช่นเดียวกับบริษัทที่ ประสบความสาเร็จได้ในทุกที่ พวกเขาปรับตัวและใช้ ความสามารถที่มีอยู่ ปรับการตลาดและการจัดจาหน่าย กลยุทธ์ ของพวกเขาจะสะท้อนรสนิยมของท้องถิ่นและข้อจากัดที่มี  สาหรับบริษัทต่างประเทศที่แข่งขันกับธุรกิจในท้องถิ่นที่ แข็งแกร่ง มักจะต้องมีนวัตกรรมที่ท้าทาย รูปแบบธุรกิจที่โดด เด่น และอาจจาเป็นต้องมีการดัดแปลงสินค้าหรือบริการ
  • 23. กลยุทธ์สาหรับม้าทางาน (ต่อ)  จากประสบการณ์ของบริษัทย่อย Hindustan Lever ในอินเดีย บริษัท Unilever ตระหนักว่ามีโอกาสในแอฟริกา โดยการตัดพ่อค้าคนกลาง ผลิตและจัดจาหน่ายโดยตรง ด้วยแพ็คเกจขนาดเล็กลงและมีราคาต่า  เช่นเดียวกับที่ได้ทาในอินเดีย ยูนิลีเวอร์พัฒนาเครือข่ายของพนักงาน ขายในพื้นที่ชนบท โดยจ้างระบบการจัดจาหน่ายให้กับผู้จัดจาหน่าย ในระดับภูมิภาค ที่ให้การฝึกอบรมกับพนักงานขายระดับล่างสุด  แม้ว่าอัตรากาไรต่อหน่วยต่า เนื่องจากการบรรจุภัณฑ์และค่าใช้จ่าย การกระจายสินค้า แต่ก็ได้อาศัยศักยภาพจากปริมาณที่มาก
  • 24. กลยุทธ์สาหรับกลุ่มการส่งออก  หลายบริษัทพึ่งพาแหล่งผลิตสินค้าจากผู้ส่งมอบในประเทศ เศรษฐกิจชายแดน หรือมีการตั้งโรงงานผลิตเป็นของตัวเอง เนื่องจากแรงงานมีราคาถูก  หากบริษัทต้องการการผลิตที่ยั่งยืนในประเทศเศรษฐกิจชายแดน กลยุทธ์ของพวกเขาจะต้องเป็นอะไรที่มากกว่าการเข้าถึงแรงงาน ราคาถูก พวกเขาจะต้องทาหน้าที่เป็นผู้สร้างกลุ่มด้วย โดยจัดให้ หลาย ๆ บริษัทที่ส่งออกอุตสาหกรรมเดียวกัน อยู่ในพื้นที่ เดียวกันเป็นกลุ่ม
  • 25. กลยุทธ์สาหรับผู้ส่งออกแบบกลุ่ม (ต่อ)  บริษัท the Integrated Tamale Fruit Company (ITFC) ซึ่งเป็นศูนย์กลาง ร่วมกับผู้เข้าร่วมโครงการที่ยากจนในภาคเหนือของประเทศกานา ส่งออกมะม่วงอินทรีย์โดยตรงไปยังตลาดยุโรป  ITFC มีพื้นที่ของตัวเอง 400 เอเคอร์ ที่ทางานในฟาร์มเชิงพาณิชย์ โดยมืออาชีพ และร่วมมือทางานกับเกษตรกรรายย่อยในพื้นที่ โดยรอบ (outgrowers) ที่มีมากกว่า 1,200 ราย  มีการแลกเปลี่ยนในรูปแบบเงินกู้และการฝึกอบรมที่ครอบคลุม เกษตรกรรายย่อยจะปลูกมะม่วงในที่ดินของพวกเขาโดยใช้เทคนิค อินทรีย์รายละ 1-2 เอเคอร์ และขายผ่านช่องทางการตลาดของ ITFC
  • 26. กลยุทธ์สาหรับนายหน้าผูกขาดอานาจและผู้มีรายได้ประจา  การปกป้ องผลประโยชน์ของนายหน้าผูกขาดอานาจและผู้มี รายได้ประจา มักจะหนักกว่าการดาเนินงานในม้าทางานและ กลุ่มผู้ส่งออก  หลายโครงการเกี่ยวข้องกับ อัตลักษณ์ของสาธาณะ (public identities) จึงมีความเสี่ยงอย่างมีนัยสาคัญทางการเมือง  บริษัทต่างชาติสามารถลดความเสี่ยง โดยการเพิ่มความ หลากหลายของผู้มีส่วนได้เสีย เข้ากับความสาเร็จของพวกเขา  เป็นสิ่งสาคัญสาหรับบริษัทต่างชาติที่จะรู้ว่า การมีส่วนร่วมของผู้ มีส่วนได้เสีย ต้องมีความมุ่งมั่นระยะยาว
  • 27. กลยุทธ์สาหรับนายหน้าผูกขาดอานาจและผู้มีรายได้ประจา (ต่อ)  การมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่หลากหลาย บริษัทสามารถทา ให้ตนเองเป็นที่ขาดไม่ได้สาหรับผู้นาในท้องถิ่น แม้บางอย่างไม่ได้ เกี่ยวกับธุรกิจหลัก  Sherritt ใช้วิธีการนี้ ในคิวบา บริษัทจาเป็นต้องใช้แร่ที่เฉพาะเจาะจง สาหรับโรงกลั่นน้ามันใน Alberta และในปี ค.ศ. 1994 ก็เลือกที่จะ พัฒนาเหมืองในคิวบา  เพื่อที่จะปกป้ องตน Sherritt จึงได้จัดตั้งบริษัทร่วมทุนกับรัฐบาลคิวบา โดยร่วมกันเป็นเจ้าของเหมืองในคิวบาและโรงกลั่นน้ามันในแคนาดา  นอกจากนี้ Sherritt ยังรับหน้าที่ในการฝึกอบรมคนงาน และช่วย รัฐบาลคิวบาร่างกฎหมายการลงทุนกับต่างประเทศ
  • 28. กลยุทธ์สาหรับนายหน้าผูกขาดอานาจและผู้มีรายได้ประจา (ต่อ)  ไม่กี่ปีหลังจากการดาเนินงานเหมืองแร่ รัฐบาลเริ่มขาดเงินสด และ ไม่สามารถเข้าถึงตลาดต่างประเทศ จึงขอร้อง Sherritt ให้ช่วยจัดหา เงินทุนในการพัฒนาแหล่งน้ามัน ที่ถูกทิ้งร้างในประเทศคิวบา  Sherritt ออกพันธบัตรใน Toronto และลงทุนในบริษัทร่วมทุนใหม่กับ รัฐบาลคิวบา นอกจากนั้นพวกเขาได้ช่วยสร้างกิจการร่วมค้าอื่น ๆ เช่น ผลิตพลังงานสาหรับเมืองตากอากาศ Varadero การดาเนินงาน โรงแรม บริษัทโทรศัพท์มือถือ และโรงงานแปรรูปถั่วเหลือง  ความสัมพันธ์ที่ดีของ Sherritt กับรัฐบาล ไม่เพียงการจัดการกับสกุล เงินที่จาเป็นให้กับรัฐบาล แต่ช่วยให้บริษัทมีเสถียรภาพและมีกาไรใน คิวบาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994
  • 29. สรุป  เนื่องจากตลาดทุนยังไม่รู้ลึกพอในเรื่องเศรษฐกิจชายแดน ว่าการ ลงทุนในสถานที่เหล่านี้ จาเป็นต้องอาศัยการลงทุนโดยตรงและ สร้างขึ้นมาจากฐานราก และอาจต้องอาศัยเวลามากกว่าทศวรรษ ที่จะตระหนักรู้ถึงทฤษฎีการลงทุน  ความอดทน การวิเคราะห์ศักยภาพในการเติบโตระยะยาว และ การเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสม จะสร้างผลตอบแทนให้กับบริษัทที่ กล้าลงทุนในเศรษฐกิจชายแดนในวันนี้