SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
พ.อ. มารวย ส่งทานินทร์
19 พ.ค. 2554
Joseph S. Nye, Jr.


“อานาจของเรา เกิดจากความ
ยุตธรรม ที่เรามีการใช้อานาจ
ิ
เหล่านั้นอย่างรอบคอบ
ยกตัวอย่างของการใช้อานาจ
เหล่านั้นคือ ความสุภาพอ่อน
น้อมและการยับยั้งชั ่งใจ”




“อเมริกาไม่สามารถแก้ปัญหาที่
รุนแรงทั้งหมดในโลกได้ และ
โลกก็ไม่สามารถแก้ปัญหานั้นได้
ถ้าไม่มีอเมริกา
เราต้องใช้สิ่งที่เรียกว่า “อานาจที่
ฉลาด” เป็ นเครื่องมือในการ
แก้ปัญหาเหล่านั้น”


จัดพิมพ์โดย PublicAffairs, New York
ในปี ค.ศ. 2011
 ประพันธ์โดย Joseph S. Nye, Jr.
 ได้อธิบายถึงการใช้อานาจที่ฉลาดว่า
“ถ้าอเมริกายังมีความต้องการเป็ น
มหาอานาจอันดับหนึ่งในโลกแล้ว
ต้องศึกษาให้ถ่องแท้และนาไปใช้ให้
เข้ากับบริบทที่เปลี่ยนไป เพื่อการ
บรรลุเป้ าประสงค์หลักของประเทศ”





Joseph S. Nye, Jr. จบปริญญาตรีจาก Princeton University ได้รบ
ั
Rhodes Scholar จาก Oxford University ได้รบปริญญาเอกด้าน Political
ั
Science จาก Harvard University
เป็ นอาจารย์พิเศษและเป็ นอดีตคณบดี the Kennedy School of
Government at Harvard University
เคยทาหน้าที่เป็ น deputy undersecretary of state for Security Council
Group on Nonproliferation of Nuclear Weapons ในปี ค.ศ. 19771979 และเคยดารงตาแหน่ง chairman of the National Intelligence
Council ในปี ค.ศ. 1993-1994 และในปี ค.ศ. 1994-1995 ดารง
ตาแหน่ง assistant secretary of defense for International Affair







ในศตวรรษที่ 21 การมีอานาจเปรียบเสมือนการเล่นหมากรุก
สามมิติ
กระดานบนสุดคืออานาจทางทหาร (military power)
กระดานชั้นกลางเป็ นอานาจทางเศรษฐกิจ (economic power)
กระดานล่างสุดคือ อานาจแบบแพร่กระจาย (diffusion power)
กระดานล่างสุดเป็ นกระดานที่ไม่เป็ นระบบระเบียบ มีการใช้
ข้อมูลข่าวสารผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ อยูในสภาพไร้พรมแดน
่
และอยูนอกเหนือการควบคุมของรัฐบาล
่





คานิยามของอานาจคือ ความสามารถได้มาในสิ่งที่ตองการ มี
้
บริบทคือ ใคร ได้อะไร อย่างไร ที่ไหน และเมื่อไร
ถ้าดูดานทรัพยากร (ประชากร อาณาจักร ทรัพยากรธรรมชาติ
้
ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ ความเข้มแข็งทางการทหาร ความ
มั ่นคงของสังคม) อานาจจะหมายถึง การนาทรัพยากรมาใช้เป็ น
กลยุทธ์เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ตองการ
้
อานาจถ้ามองด้านพฤติกรรม จะหมายถึง การที่มีผลต่อผูอื่นโดย
้
การปรับเปลี่ยนบางสิ่งด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่
ต้องการ
วิธีการได้มาซึ่งอานาจมี 3 มุมมองคือ
 จากการบังคับ (commanding change) เป็ นการได้มาซึ่งอานาจ
จากใช้กาลัง
 จากเงื่อนไข (controlling agenda) เป็ นอานาจที่เกิดจากการสร้าง
เงื่อนไขและควบคุมให้มีการแสดงออกได้อย่างจากัด
 จากการชักจูง (establish preference) เป็ นอานาจที่ได้มาจากการ
สร้างความเชื่อ การรับรู ้ และความพึงพอใจ
 มุมมองแรกเป็ นอานาจด้านแข็ง มุมมองที่สามเป็ นอานาจด้าน
อ่อน มุมมองที่สองอยูระหว่างกลาง
่
ลักษณะของอานาจ มี 3 ประการคือ
 อานาจทางทหาร
 อานาจทางเศรษฐกิจ
 อานาจด้านอ่อน



อานาจทางทหาร เป็ นอานาจที่ใช้มากในศตวรรษที่ 19 คือในยุคที่มี
การล่าอาณานิคม
แต่ในยุคศตวรรษที่ 21 ซึ่งถือว่าเป็ นการยุคที่สี่ของการรบยุคใหม่
(ยุคแรกคือการรบเป็ นแถวเป็ นตอนหลังการปฏิวตในฝรั ่งเศส ยุคที่
ั ิ
สองเป็ นการรบอาศัยการยิงที่หนักหน่วงในสงครามโลกครั้งแรก ยุคที่
สามเป็ นการรุกรบอย่างรวดเร็วของเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่
สอง) คือจะไม่มีเขตแนวรบที่ชดเจนและเป็ นการยากในการแยก
ั
ทหารจากพลเรือน การรบพุงจะเกิดในประเทศระหว่างประชาชนที่
่
ขัดแย้งกันมากกว่าระหว่างประเทศ และเป็ นการรบที่ไม่มีกติกา เช่น
การก่อการร้าย การใช้คาร์บอมบ์ ระเบิดพลีชีพเป็ นต้น




รูปแบบการใช้อานาจทางทหาร คือ ใช้ในการสูรบและการทาลาย
้
ล้างทางกายภาพ ใช้เป็ นข้อต่อรองทางการเมืองระหว่างประเทศ
ใช้ในการรักษาสันติภาพหรือใช้ปกป้ องกลุมประเทศสนธิสญญา
่
ั
และใช้กาลังทหารในการให้ความช่วยเหลือ เช่น การฝึ กทหาร
ให้ทุนการศึกษาด้านการทหาร ช่วยบรรเทาสาธารณภัย สร้าง
ถนน รักษาพยาบาล และสร้างโรงเรียนเป็ นต้น
บทบาทอานาจทางทหารยังคงเป็ นสิ่งจาเป็ นในศตวรรษที่ 21
อานาจทางทหารสามารถใช้ได้ท้งสามมุมมอง และอานาจทาง
ั
ทหารในศตวรรษที่ 21 จะใช้ตามมุมมองที่สองมากขึ้นคือ อานาจ
แบบมีเงื่อนไข ที่ใช้ประกอบกับการเมืองระหว่างประเทศ




อานาจทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วยรายได้มวลรวมของ
ประชาชาติ รายได้ตอหัว ระดับของเทคโนโลยี
่
ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรบุคคล นโยบายทางการตลาด
การค้าขาย การคลัง และการแข่งขันเป็ นต้น
อานาจทางเศรษฐกิจสามารถใช้เป็ นทั้งอานาจด้านแข็งและ
อานาจด้านอ่อน ด้านแข็งคือการแทรกแซงทั้งด้านบวกและด้าน
ลบคือ การชาระหรือการงดชาระหนี้ การกาหนดกาแพงภาษี การ
จากัดโควต้า การเข้าถึงตลาด ฯลฯ ด้านอ่อนคือให้ความ
ช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ เป็ นการให้ความช่วยเหลือกับประเทศที่
ยังด้อยพัฒนา เช่นการสร้างโรงเรียน โรงยิม สนามบิน เป็ นต้น





จีนได้พฒนาประเทศทาให้มีเศรษฐกิจเป็ นลาดับต้น ๆ ของโลก
ั
โดยมีลกหนี้รายใหญ่คืออเมริกา
ู
ในปี ค.ศ. 2008 อเมริกาจึงพยายามบีบให้จนลอยค่าเงินเพื่อลด
ี
การขาดดุล อย่างไรก็ตามค่าเงินหยวนจะยังไม่สามารถเทียบกับ
ดอลลาร์ได้ในระยะสิบปี แรกของศตวรรษ เพราะดอลลาร์ยงใช้
ั
เป็ นสกุลเงินตราสารองระหว่างประเทศอยู่
แต่ตอไปจีนจะมีอานาจทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น อเมริกาจะใช้อานาจ
่
ทางเศรษฐกิจที่มีอยู่ โดยใช้มาตรการแทรกแซงทั้งด้านบวกและ
ด้านลบกับจีน เพราะเป็ นนโยบายที่ไม่เปลืองค่าใช้จาย
่



อานาจด้านอ่อน เป็ นสิ่งที่เล่าจื๊อกล่าวว่า ผูนาที่ดีที่สุดคือผูที่ทาให้
้
้
ผูที่อยูใต้การปกครองไม่รูสึกว่าถูกปกครองอยู่
้ ่
้
อานาจด้านอ่อนประกอบด้วยวัฒนธรรม ค่านิยมทางการเมือง
และนโยบายต่างประเทศ โดยใช้ความสัมพันธ์ ความสามารถ
พิเศษ และแรงดึงดูด เพื่อการชักชวนโน้มน้าวให้อีกฝ่ ายเกิด
ความไว้เนื้อเชื่อใจและทาในสิ่งที่เราต้องการ





ใช้เรืองเล่าเป็ นประเด็นสาคัญ ว่าเรืองเล่าของใครจะชนะและมี
่
่
คนคล้อยตามมากกว่ากัน
นั ่นคือต้องมีการสื่อสารแบบรายวันเพื่ออธิบายบริบทและการ
ตัดสินใจ
การสื่อสารที่เป็ นรายสัปดาห์ รายเดือน หรือรายปี เพื่อผลทาง
การเมือง
และการติดต่อสื่อสารระยะยาว เช่น การให้ทุน การแลกเปลี่ยนดู
งาน การอบรม การประชุม การมีช่องทางสื่อสาร เพื่อหวังผลให้
เกิดความไว้วางใจ





ประเทศจีนมีการใช้อานาจด้านอ่อนกับประเทศในเอเชียและ
ประเทศด้อยพัฒนา โดยในปี ค.ศ. 2009 จีนมีการให้ทุนกับ
นักศึกษาต่างชาติเป็ นจานวน 220,000 ราย เพื่อศึกษาในระดับ
มหาวิทยาลัยของจีน
มีการตั้งสถาบันขงจื๊อหลายร้อยแห่งในโลกเพื่อเผยแพร่
วัฒนธรรมและภาษาจีน
มีงบลงทุน 8.9 พันล้านเหรียญในการประชาสัมพันธ์ และให้
สานักข่าวซินหัวรายงานข่าว 24 ชั ่วโมงเช่นเดียวกับสานักข่าวอัล
จาซีรา




ผูนาในโลกปั จจุบน 64 คน และอดีตผูนา 165 คน เคยศึกษาใน
้
ั
้
ประเทศสหรัฐอเมริกา มีนกศึกษาต่างชาติที่ศึกษาระดับ
ั
มหาวิทยาลัยในอเมริกาเฉลี่ยปี ละ 750,000 คน ที่ยงไม่รวม
ั
นักเรียนแลกเปลี่ยน มีผลทาให้บุคคลเหล่านั้นมีมุมมองที่ดีตอ
่
อเมริกา และนาความคิดประชาธิปไตยไปเผยแพร่ในประเทศตน
ในอนาคตอานาจด้านอ่อนจะมีความสาคัญมากขึ้น ใครที่สามารถ
แยกแยะข้อมูลข่าวสารที่มีค่าจากระบบที่ซบซ้อนได้ จะเป็ นผูที่มี
ั
้
อานาจในการใช้อานาจทีฉลาด
่




การเคลื่ อนย้ายของอานาจในศตวรรษที่ 21 มี 2 รูปแบบคือ
การแพร่กระจายของอานาจ (power diffusion)
การเปลี่ยนขั้วของอานาจ (power transition)


อานาจแบบแพร่กระจาย การปฏิวตของข้อมูลข่าวสาร คือการ
ั ิ
ปฏิวตทางอุตสาหกรรมครั้งที่สาม ซึ่งมีเทคโนโลยีที่ทนสมัยของ
ั ิ
ั
เครื่องคอมพิวเตอร์ การสือสาร และซอฟท์แวร์ ที่ทาให้การสร้าง
่
การดาเนินการ การส่งผ่าน และการค้นหาข้อมูลข่าวสาร
ตลอดจนเทคโนโลยีการเชื่อมต่อมีราคาถูกลง เป็ นตัวเร่งการ
แพร่กระจายของอานาจ เพราะมีผคนจานวนมากสามารถเข้าถึง
ู้
ข่าวสารที่มีอย่างมากมายมหาศาลได้ โดยไม่มีการจากัดด้วย
อาณาเขตอีกต่อไป




โลกไซเบอร์ เป็ นโลกของข่าวสารอิเล็คโทรนิค ที่ใช้ทรัพยากรของ
การสร้าง ควบคุม สื่อสาร มีระบบเครือข่าย (อินเตอร์เน็ต อินตรา
เน็ต โทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์ผ่านดาวเทียม) ซอฟท์แวร์ ทักษะ
บุคคล มีการส่งข้อมูลข่าวสารผ่านไซเบอร์โดเมน มีการเข้าถึงได้
ง่าย ถือว่าเป็ นอานาจด้านอ่อน ที่ชกชวนกับพลเมืองชาติอื่นให้ทา
ั
ตามอย่าง
แต่บางครั้งอาจเป็ นอานาจด้านแข็งได้ เช่นการใช้ “บอตเน็ต” ส่ง
คอมพิวเตอร์ไวรัสเพื่อเจาะระบบคอมพิวเตอร์ หรือ “นักแฮกเกอร์”
ที่ทาให้เกิดความเสียหายกับโครงสร้างทางกายภาพได้ โดยการ
เจาะระบบ SCADA (Supervisory Control and Data Acquisition)






หลายประเทศในโลกที่มีการกรอง การปิ ดกั้น หรือจับกุมผูแพร่
้
ข่าวสารอิเล็คโทรนิค เช่น จีน เวียตนาม อิหร่าน ลิเบีย เอธิโอเปี ย
และซาอุดิอาระเบีย
แต่ก็ไม่สามารถปิ ดกั้นข่าวสารออกสูชาวโลกได้ เช่น การเกิด
่
เหตุการณ์ไม่สงบในซินเกียงของจีน การคัดค้านการเลือกตั้ง
ประธานาธิบดีของอิหร่าน ในปี ค.ศ. 2009 และการต่อต้าน
รัฐบาลเผด็จการที่ครองอานาจมาอย่างยาวนานในประเทศ
ตะวันออกกลาง หรือประเทศทางตอนเหนือของทวีปอาฟริกา
ทาให้ยูทูป เฟสบุค และทวิตเตอร์ ถูกใช้เป็ นเครืองมือสื่อสารของ
๊
่
ผูตอต้าน
้ ่


อานาจแบบแพร่กระจาย มีผที่มีบทบาทมากมายหลากหลายที่ทา
ู้
ให้อานาจแพร่กระจายออกไป ทั้งรัฐบาล หน่วยงานที่มีโครงข่าย
ที่ไม่ใช่รฐบาล ตลอดจนถึงรายบุคคลที่มีเครือข่ายเล็ก ๆ ไม่มี
ั
ใครระบุอาณาเขตได้ว่าการแพร่กระจายไปถึงที่ใด




ในปี ค.ศ. 2010 กูเกิลประกาศจะยกเลิกการให้บริการในจีน
โดยกล่าวหาว่าจีนขโมยทรัพย์สินทางปั ญญา และละเมิดสิทธิส่วน
บุคคล ทาให้รฐบาลอเมริกนต้องเข้ามาดูแลเป็ นพิเศษในเรือง
ั
ั
่
เสรีภาพในการใช้อินเตอร์เน็ต
แสดงถึงอานาจแบบแพร่กระจาย ที่มีบทบาทมากขึ้นในศตวรรษ
ที่ 21



้
การเปลี่ยนขัวอานาจ มีคาถามว่าอมริกาเสื่อมถอยจริงหรือไม่
โดยข้อเท็จจริงแล้วแม้ว่าอเมริกาจะมีพลเมืองเพียงร้อยละ 5
ของโลก แต่มีผลิตภัณฑ์ 1 ใน 4 ของโลก และมีการใช้จายด้าน
่
กองทัพมากที่สุดในโลก รวมถึงการมีวฒนธรรมทีหลากหลาย
ั
่
และระบบการศึกษาที่ดี




จากการวิเคราะห์สถานการณ์ประเทศต่าง ๆ ในโลกที่มี
ผลกระทบกับอเมริกา คือ ยุโรป ญีปุ่น กลุมประเทศ BRICs
่
่
(Brazil, Russia, India, China)
และการวิเคราะห์สถานการณ์ในอเมริกาเอง





ยุโรป มีสหภาพยุโรปเป็ นแกนกลาง มีค่าใช้จายทางการทหาร
่
ครึ่งหนึ่งของอเมริกา แต่มีจานวนทหารมากกว่า และมี 2
ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ ด้านการค้าของยุโรปมีขนาดใกล้เคียง
กับอเมริกา แต่ยงมีปัญหาเรืองความสามัคคีระหว่างชาติสมาชิก
ั
่
ความร่วมมือด้านต่างประเทศและทางทหารยังมีขอจากัด
้
ในปี ค.ศ. 2010 ยุโรปดูอ่อนด้อยลงเมื่อเทียบกับจีนและอเมริกา
ดังนั้นแม้จะยังมีขอขัดแย้งเล็ก ๆ น้อย ๆ กับอเมริกา แต่การ
้
แข่งขันด้านอานาจจะไม่เกิดขึ้น อเมริกาและยุโรปจะมีความ
ร่วมมือกัน





ญีปุ่น สองทศวรรษที่เกิดความชะงักงันทางด้านเศรษฐกิจจาก
่
ภาวะฟองสบู่แตก ทาให้จนก้าวแซงญีปุ่นขึ้นสูลาดับสองของโลก
ี
่
่
ในปี ค.ศ. 2010
ญี่ปุ่นยังมีอุตสาหกรรมและกองทัพที่ทนสมัย
ั
มีประวัตศาสตร์ของการลุกขึ้นมาใหม่ได้ คือการก้าวสูความ
ิ
่
ทันสมัยในยุคเมจิ และยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง





ญี่ปุ่นมีปัญหาเรืองประชากรที่สูงอายุและมีจานวนลดลงเพราะมี
่
นโยบายกีดกันผูอพยพ
้
แต่มีความเข้มแข็งเรืองของมาตรฐานความเป็ นอยูที่สูง แรงงงาน
่
่
มีฝีมือ สังคมที่มั ่นคง มีวฒนธรรม ความร่วมมือกับนานาชาติ
ั
และการช่วยเหลือประเทศอื่น ที่เป็ นอานาจด้านอ่อน
ญี่ปุ่นจะไม่จบมือกับจีน เพราะยังมีวิสยทัศน์ที่ขดกัน และยังเกรง
ั
ั
ั
กับการมีอิทธิพลมากขึ้นของจีน ดังนั้นญีปุ่นคงให้ความร่วมมือ
่
กับอเมริกามากกว่า


กลุ่มประเทศบริคส์ (BRICs: Brazil, Russia, India, China) มี
ประชากรรวมประมาณครึงโลก ผลผลิตหนึ่งในสี่ของโลก
่
เงินตราสารองประมาณร้อยละ 40 ของโลก (โดยมากเป็ นของ
จีน) ที่เป็ นหัวใจของกลุมคือจีน มีการวิเคราะห์แต่ละชาติสมาชิก
่
ดังนี้




รัสเซีย เดิมเป็ นสหภาพโซเวียตที่มีอานาจพอ ๆ กับอเมริกา มี
อาณาเขตมากที่สุดในโลก ประชากรมากเป็ นลาดับสาม
เศรษฐกิจเป็ นลาดับสอง มีน้ ามันและก๊าซมากกว่าซาอุดอาระเบีย
ิ
มีหวรบนิวเคลียร์ครึ่งโลก และจานวนทหารมากกว่าอเมริกา มี
ั
บุคลากรด้านการวิจยและพัฒนามากทีสุด
ั
่
ต่อมาสหภาพโซเวียตได้ล่มสลายในปี ค.ศ. 1991 ทาให้อาณา
เขต เศรษฐกิจ และจานวนทหาร รวมถึงความเป็ นคอมมิวนิสต์
ลดลง




รัสเซีย ปั จจุบนยังมีระบบสาธารณสุขไม่ดี อัตราตายสูง และ
ั
อัตราการเกิดลดลง มีการคอร์รปชั ่นมาก
ั
รัสเซียมีแนวโน้มจับมือกับจีน แต่ยงมีการขัดแย้งเรืองการ
ั
่
ต่างประเทศและการมองโลกบ้าง
รัสเซียอาจยังเป็ นภัยกับอเมริกาอยู่ เพราะยังคงมีอาวุธนิวเคลียร์
แต่ไม่เท่ากับสมัยที่ยงเป็ นสหภาพโซเวียต
ั




อินเดีย อาจได้เป็ นประเทศมหาอานาจในอนาคตทีมีสามขั้วคือ
่
จีน อเมริกา และอินเดีย เพราะอินเดียมีประชากร 1.2 พันล้าน
คนและไม่นานอาจมากที่สุดในโลก
อินเดียมีสภาพเศรษฐกิจที่มหาศาลแต่มีมาตรฐานการครองชีพ
ต ่า ชนชั้นกลางมีจานวนเพิ่มขึ้น มีอุตสาหกรรมข้อมูลข่าวสาร
และมีแผนงานด้านอวกาศ มีจานวนทหารมาก มีหวรบนิวเคลียร์
ั
ประมาณ 60-70 ลูก





อินเดีย มีอานาจด้านอ่อนคือ ความเป็ นประชาธิปไตย วัฒนธรรม
และ อุตสาหกรรมภาพยนตร์
แต่อินเดียยังเป็ นประเทศด้อยพัฒนา ผลิตภัณฑ์รวมประเทศยัง
น้อย แม้มีวิศวกรคอมพิวเตอร์มากแต่ที่ใช้งานได้จริงน้อย สินค้า
ที่ใช้เทคโนโลยีสูงยังมีนอย
้
ดังนั้นจึงไม่เป็ นปั ญหาท้าทายกับอเมริกา และอินเดียกับจีนยังมี
ข้อขัดแย้งกันอยู่ มีแนวโน้มว่าอินเดียจะร่วมมือกับกลุมประเทศ
่
อาเซียนเพื่อต้านทานอิทธิพลของจีน






บราซิล เป็ นประเทศประชาธิปไตย ไม่มีปัญหาเรืองการจลาจล
่
เชื้อชาติ ศาสนา หรือขัดแย้งกับประเทศเพื่อนบ้าน มีอตราการ
ั
เจริญเติบโตที่ดี ในปี ค.ศ. 2007 มีการค้นพบแหล่งน้ ามันสารอง
ขนาดใหญ่ที่ชายฝั ง บราซิลมีจานวนทหารน้อย ไม่มีอาวุธ
่
นิวเคลียร์
ส่วนอานาจด้านอ่อนนั้น บราซิลมีเทศกาลคาร์นิวาล และฟุตบอล
แต่โครงสร้างพื้นฐานของบราซิลยังไม่ดีพอ มีอาชญากรรมและ
คอร์รปชั ่นสูง การแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจยังน้อยเพราะระบบ
ั
การศึกษายังไม่ดี ความยากจนยังเป็ นปั ญหาใหญ่
ดังนั้นบราซิลจึงไม่น่าเป็ นคู่แข่งของอเมริกา






จีน เป็ นพี่ใหญ่ในกลุมบริคส์ เพราะมีจานวนประชากร ขนาด
่
เศรษฐกิจ จานวนทหาร ค่าใช้จายทางทหาร การเติบโตทาง
่
เศรษฐกิจ และผูใช้อินเตอร์เน็ต มากที่สุดของกลุม
้
่
จีนมีอตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 7 ต่อปี ฟื้ นตัวจากวิกฤต
ั
เศรษฐกิจในปี ค.ศ. 2008 ได้เร็ว และอีกไม่นานผลิตภัณฑ์รวม
ของชาติจะแซงอเมริกาเป็ นลาดับหนึ่งของโลก
จีนมีอาณาเขตใกล้เคียงกับอเมริกา มีประชากรมากกว่าสี่เท่า มี
กองทัพบกใหญ่ที่สุดในโลก มีหวรบนิวเคลียร์ประมาณ 200 ลูก
ั
มีความสามารถด้านอวกาศ และโลกไซเบอร์





อานาจด้านอ่อนของจีน ยังมีความด้อยกว่าฮอลลีวูดและบอลลีวูด
ระบบมหาวิทยาลัยยังสูอเมริกาไม่ได้ จานวนเอ็นจีโอยังน้อยอยู่
้
แต่จนพยายามเพิ่มด้วยการส่งเสริมวัฒนธรรม มีการสร้าง
ี
สถาบันขงจื้อนับร้อยแห่งในต่างประเทศเพื่อสอนภาษาและ
วัฒนธรรมของจีน และส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศด้าน
ต่าง ๆ เพื่อลดความหวาดกลัว
ประชากรทั้งอเมริกาและจีนต่างมองอีกฝ่ ายเป็ นศัตรู และมีการ
เตรียมพร้อมทางทหารไว้เผื่อเกิดสงคราม





จีนเคยรุงเรืองในสมัยโบราณ แต่ระยะห้าร้อยปี ที่ผานมา มีการ
่
่
ปฏิวตอุตสาหกรรมที่ทาให้ประเทศตะวันตกมีบทบาทเป็ น
ั ิ
มหาอานาจของโลก
จนกระทั ่งเติ้งเสี่ยวผิงนาจีนเข้าสูยุคทันสมัยในทศวรรษที่ 1980
่
ทาให้จนเริมกลับเข้ามามีบทบาทในโลกอีกครั้งหนึ่ง
ี ่
อีกทั้งคาสอนของขงจื้อทาให้เกิดการเสริมอานาจด้านอ่อน




แต่จนยังมีปัญหาในชนบทที่ห่างไกล ความไม่มีประสิทธิภาพของ
ี
รัฐวิสาหกิจ ความไม่เท่าเทียม การอพยพแรงงาน ระบบ
ประกันสังคม การคอร์รปชั ่น ความไม่มั ่นคงด้านการเมือง ด้าน
ั
เหนือและตะวันออกเจริญกว่าด้านใต้และตะวันตก มีชนกลุมน้อย
่
มาก และประชากรเริมอาวุโส
่
แม้ว่าจีนมีความสาเร็จด้านเหรียญทองโอลิมปิ ค รถไฟความเร็วสูง
และฟื้ นตัวจากวิกฤติเศรษฐกิจเร็ว แต่ถาเกิดปั ญหาทางเศรษฐกิจ
้
อาจส่งผลกระทบต่อการเมืองด้วย และด้านการเมืองของจีนอาจจะ
มีการเปลี่ยนแปลงในอีกสิบหรือสิบห้าปี ข้างหน้า เมื่อเหล่า
นักศึกษาที่จบจากต่างประเทศเริมมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น
่






จีนมีปัญหาเรืองของโลกไซเบอร์ เมื่อรัฐบาลกลางจากัดการเข้าถึง
่
ข้อมูลข่าวสาร ด้วยเกรงว่าจะเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในประเทศ
เพราะการเมืองในประเทศมีความเปราะบาง ปั ญหาเรื่องการอพยพ
ที่ควบคุมไม่ได้ ปั ญหาเรืองผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม
่
ส่วนด้านการทหาร จีนมีการซื้ออาวุธจากรัสเซีย และมีการผลิตเอง
ด้วย มีการเพิ่มงบประมาณด้านการทหารอย่างมหาศาล ทาให้จนมี
ี
อิทธิพลในเอเชียตะวันออก และท้าทายอานาจของอเมริกาได้ใน
อนาคต
แต่อเมริกามีขอได้เปรียบคือมีท้งญีปุ่นและอินเดียขนาบจีนอยู่
้
ั ่
รวมถึงประเทศใกล้เคียงที่จะคอยควบคุมความประพฤติของจีน




ปั ญหาของอเมริกา ความเสื่อมโทรมของอเมริกาส่วนมากเกิดจาก
ปั ญหาภายใน คือด้านสังคมและวัฒนธรรม เช่น เกิด
อาชญากรรมบ่อย การหย่าร้างสูง การตั้งครรภ์ก่อนวัย การทา
แท้ง และการแต่งงานเพศเดียวกันเป็ นต้น
นโยบายด้านการอพยพเข้าเมืองที่มีการปิ ดกั้นมากขึ้น ทาให้
จานวนประชากรกลุมฮิสปานิคเพิ่มขึ้น
่




การปิ ดกั้นการอพยพเข้าเมืองไม่เป็ นผลดี เพราะจากการศึกษา
พบว่า ผูอพยพที่ได้รบการศึกษาขั้นสูงจะช่วยเพิ่มผลิตภัณฑ์รวม
้
ั
ของประเทศได้มาก
การมีผอพยพที่คดสรรแล้ว(ดีที่สุดและฉลาดที่สุด) ทาให้อานาจ
ู้
ั
ด้านอ่อนเพิ่มขึ้น เพราะบุคคลเหล่านี้และญาติที่อยูในประเทศ
่
เดิม จะช่วยเสริมภาพลักษณ์ของอเมริกาให้ดดี รวมถึงการมี
ู
วัฒนธรรมทีหลากหลาย ทาให้เกิดความสร้างสรรค์
่





อเมริกามีความล้าหน้าด้านเศรษฐกิจหลายอย่างเช่น เทคโนโลยี
สารสนเทศ เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี อุตสาหกรรม
คอมพิวเตอร์และอิเล็คโทรนิค ที่ทารายได้เข้าอเมริกาอย่างมาก
อเมริกามีการลงทุนด้านการพัฒนาและการวิจยมากที่สุดในโลก
ั
และมีความสัมพันธ์อนดีของอุตสาหกรรมและมหาวิทยาลัย
ั
หลังจากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ทาให้รฐบาลกลางเกิดหนี้สิน
ั
มาก และคาดว่าในปี ค.ศ. 2023 จะมีหนี้สินเท่ากับผลิตภัณฑ์
รวมของประเทศ แต่อเมริกามีขอได้เปรียบ เพราะดอลลาร์เป็ น
้
ระบบเงินสารองของโลกและความคล่องตัวของพันธบัตรรัฐบาล
ของอเมริกา





การมีแรงงานที่มีความรูดีเป็ นข้อได้เปรียบ เป็ นเพราะระบบ
้
การศึกษาขั้นสูงของอเมริกา ที่ถือว่าเป็ นระบบที่ดีที่สุดในโลกจาก
การจัดลาดับของมหาวิทยาลัย
ชาวอเมริกนได้รบรางวัลโนเบลมากที่สุด มีการตีพิมพ์บทความ
ั
ั
ด้านวิทยาศาสตร์ในวารสารต่าง ๆ มากที่สุด
แต่การศึกษาในระดับล่างยังคงเป็ นปั ญหาอยู่ รวมถึงปั ญหาการ
กระจายรายได้ที่ไม่เป็ นธรรม





ด้านสถาบันทางการเมือง ประชากรมีความเชื่อถือในรัฐบาลกลาง
ลดลง
ปั ญหาการคอร์รปชั ่นลดลงเทียบกับก่อนหน้านี้
ั
สามในสี่ของประชาชนมีความผูกพันกับชุมชน และมีการอาสา
ช่วยแก้ปัญหาให้ชุมชน






ผลการประเมิน พบว่าอเมริกาและจีนจะแข่งกันเป็ นมหาอานาจ
ทั้งนี้ขึ้นกับการเมืองในประเทศจีนด้วย
อเมริกาจะเป็ นมิตรที่ดีกบยุโรป ญี่ปุ่น อินเดีย และประเทศอื่น ๆ
ั
คาดหมายว่าห้าสิบปี แรกของศตวรรษนี้ จีนยังคงแซงอเมริกา
ไม่ได้
แต่อเมริกาจะถดถอย เพราะปั ญหาเรืองจานวนหนี้สิน การศึกษา
่
ขั้นมัธยม การขัดแย้งทางการเมือง และที่สาคัญคือการตืนกลัว
่
กับการก่อการร้ายมากเกินไป ทาให้มีนโยบายที่ไม่เปิ ดกว้าง
เหมือนเดิม ส่งผลเสียเรื่องเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในระยะยาว




นโยบายของอเมริกาในศตวรรษที่ 21 เพื่อรับมือกับผูที่จะมาแข่ง
้
เป็ นประเทศมหาอานาจของโลกคือจีน ที่เหมาเจ๋อตุงได้สร้าง
กองทัพให้แข็งแกร่ง เติ้งเสี่ยวผิงสร้างเศรษฐกิจที่มั ่งคั ่ง
ประธานาธิบดีหูจนเทาสร้างอานาจด้านอ่อน ที่แสดงให้เห็นถึงจีน
ิ
มีการใช้อานาจที่ฉลาด
แต่ในปี ค.ศ. 2009 เกิดภาวการณ์กาวร้าวทางการต่างประเทศ
้
ของจีน ที่ทาให้โลกตะวันตกมองว่า จีนเปลี่ยนไปจากแนวคิดของ
เติ้งเสี่ยวผิงทีว่า “ก้าวอย่างระมัดระวังและอย่าทาตัวเด่น”
่


อเมริกามียุทธศาสตร์ 3 ข้อดังนี้
1. เข้าใจจุดแข็งและข้อจากัดของอเมริกา นั ่นคืออเมริกาไม่สามารถ
ควบคุมประเทศต่าง ๆ ในโลกได้ท้งหมด จึงต้องอาศัยความ
ั
ร่วมมือกับประเทศที่เป็ นมิตร
2. ต้องพัฒนาอานาจที่ฉลาด คือการบูรณาการอานาจด้านแข็งและ
อานาจด้านอ่อนเข้าด้วยกัน รวมถึงการใช้ให้ถูกต้องกับบริบทด้วย
3. สร้างความมั ่นคงให้กบอเมริกาและเครือข่าย ทางด้านเศรษฐกิจ
ั
ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ หลีกเลี่ยงการสร้างความ
เสียหายกับสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน
ทั้งในและต่างประเทศ


ความท้าทายของอเมริกา ที่ยงต้องเผชิญมี 5 ประการคือ
ั
1.การก่อการร้ายกับอาวุธนิวเคลียร์ อเมริกาจะต้องมีนโยบาย
ต่อต้านการก่อการร้าย และปกป้ องอาวุธนิวเคลียร์ทเป็ นของ
ี่
ต่างชาติดวยไม่ให้ตกอยูในมือของผูก่อการร้าย มีการสร้างความ
้
่
้
มั ่นคงในตะวันออกกลาง และให้ความสนใจรัฐที่ลมเหลว
้
2.การพัฒนาของอิสลาม ไม่ใช่เป็ นสงครามระหว่างศาสนา แต่เป็ น
สงครามในศาสนาอิสลามเอง ที่ชนกลุมน้อยใช้ความรุนแรงกับ
่
ชนกลุมใหญ่ในตะวันออกกลาง อเมริกาต้องเปิ ดตลาดการค้า จัด
่
การศึกษา ส่งเสริมสถาบันของพลเรือนในสังคม และให้พลเมือง
มีบทบาททางการเมืองเพิมขึ้น
่
3.การเพิ่มอิทธิพลของเอเชียด้านเศรษฐกิจ จัดการโดยมีนโยบายให้
จีนเข้ามามีสวนได้สวนเสียมากขึ้น และยังคงความสัมพันธ์ใกล้ชิด
่
่
กับญี่ปุ่น อินเดีย และประเทศที่เป็ นมิตรกับอเมริกาในเอเชีย
4.ความตกต ่าด้านเศรษฐกิจ ที่เกิดจากการบริหารทีลมเหลว หรือเกิด
่ ้
วิกฤติในตะวันออกกลางของประเทศผูผลิตน้ ามัน อเมริกาจึงควรมี
้
นโยบายพึ่งพาน้ ามันน้อยลง และมีนโยบายเปิ ดประเทศมากขึ้น
5.ความล้มเหลวของระบบนิเวศน์ เช่น การเกิดโรคระบาด การ
แปรเปลี่ยนบรรยากาศโลก อเมริกาควรมีแนวทางการใช้พลังงาน
และการรักษาสิ่งแวดล้อม รวมถึงการร่วมมือกับองค์กรระหว่าง
ประเทศ




กล่าวโดยสรุป การปฏิรูปของโลกมีมาอย่างยาวนาน อเมริกาควร
ทาหน้าที่ประเทศมหาอานาจ ที่มีส่วนรับผิดชอบในการรักษา
ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยในโลก มีการส่งเสริมการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจของโลก (ทั้งด้านทะเล อวกาศ และอินเตอร์เน็ต)
เป็ นตัวกลางขจัดความขัดแย้งของประเทศต่าง ๆ และสร้าง
สถาบันและสร้างกฎเกณฑ์ที่เป็ นนานาชาติ
ทั้งนี้อเมริกาจาเป็ นต้องมียุทธศาตร์ในการจัดการกับการพุงขึ้นมา
่
ทั้งของรัฐและที่ไม่ใช่รฐคือ การใช้อานาจที่ฉลาด เน้นความ
ั
ร่วมมือกัน การมีสถาบัน และการมีเครือข่าย ที่สามารถ
ตอบสนองต่อบริบทใหม่ของโลกยุคข้อมูลข่าวสาร



ขอขอบพระคุณ พลตรี กฤษฎา ดวงอุไร
รองเจ้ากรมแพทย์ทหารบก
ที่ได้แนะนาและให้หนังสือเล่มนี้มาศึกษา

More Related Content

More from maruay songtanin

092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
081 สุราปานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
081 สุราปานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....081 สุราปานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
081 สุราปานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
080 ภีมเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
080 ภีมเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx080 ภีมเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
080 ภีมเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
079 ขรัสสรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
079 ขรัสสรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx079 ขรัสสรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
079 ขรัสสรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
078 อิลลิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
078 อิลลิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx078 อิลลิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
078 อิลลิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
077 มหาสุปินชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
077 มหาสุปินชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...077 มหาสุปินชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
077 มหาสุปินชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
076 อสังกิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
076 อสังกิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....076 อสังกิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
076 อสังกิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
081 สุราปานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
081 สุราปานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....081 สุราปานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
081 สุราปานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
080 ภีมเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
080 ภีมเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx080 ภีมเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
080 ภีมเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
079 ขรัสสรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
079 ขรัสสรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx079 ขรัสสรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
079 ขรัสสรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
078 อิลลิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
078 อิลลิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx078 อิลลิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
078 อิลลิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
077 มหาสุปินชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
077 มหาสุปินชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...077 มหาสุปินชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
077 มหาสุปินชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
076 อสังกิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
076 อสังกิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....076 อสังกิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
076 อสังกิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
075 มัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
074 รุกขธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
072 สีลวนาคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

อำนาจในอนาคต Future of power

  • 5.  จัดพิมพ์โดย PublicAffairs, New York ในปี ค.ศ. 2011  ประพันธ์โดย Joseph S. Nye, Jr.  ได้อธิบายถึงการใช้อานาจที่ฉลาดว่า “ถ้าอเมริกายังมีความต้องการเป็ น มหาอานาจอันดับหนึ่งในโลกแล้ว ต้องศึกษาให้ถ่องแท้และนาไปใช้ให้ เข้ากับบริบทที่เปลี่ยนไป เพื่อการ บรรลุเป้ าประสงค์หลักของประเทศ”
  • 6.    Joseph S. Nye, Jr. จบปริญญาตรีจาก Princeton University ได้รบ ั Rhodes Scholar จาก Oxford University ได้รบปริญญาเอกด้าน Political ั Science จาก Harvard University เป็ นอาจารย์พิเศษและเป็ นอดีตคณบดี the Kennedy School of Government at Harvard University เคยทาหน้าที่เป็ น deputy undersecretary of state for Security Council Group on Nonproliferation of Nuclear Weapons ในปี ค.ศ. 19771979 และเคยดารงตาแหน่ง chairman of the National Intelligence Council ในปี ค.ศ. 1993-1994 และในปี ค.ศ. 1994-1995 ดารง ตาแหน่ง assistant secretary of defense for International Affair
  • 7.      ในศตวรรษที่ 21 การมีอานาจเปรียบเสมือนการเล่นหมากรุก สามมิติ กระดานบนสุดคืออานาจทางทหาร (military power) กระดานชั้นกลางเป็ นอานาจทางเศรษฐกิจ (economic power) กระดานล่างสุดคือ อานาจแบบแพร่กระจาย (diffusion power) กระดานล่างสุดเป็ นกระดานที่ไม่เป็ นระบบระเบียบ มีการใช้ ข้อมูลข่าวสารผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ อยูในสภาพไร้พรมแดน ่ และอยูนอกเหนือการควบคุมของรัฐบาล ่
  • 8.    คานิยามของอานาจคือ ความสามารถได้มาในสิ่งที่ตองการ มี ้ บริบทคือ ใคร ได้อะไร อย่างไร ที่ไหน และเมื่อไร ถ้าดูดานทรัพยากร (ประชากร อาณาจักร ทรัพยากรธรรมชาติ ้ ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ ความเข้มแข็งทางการทหาร ความ มั ่นคงของสังคม) อานาจจะหมายถึง การนาทรัพยากรมาใช้เป็ น กลยุทธ์เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ตองการ ้ อานาจถ้ามองด้านพฤติกรรม จะหมายถึง การที่มีผลต่อผูอื่นโดย ้ การปรับเปลี่ยนบางสิ่งด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ ต้องการ
  • 9. วิธีการได้มาซึ่งอานาจมี 3 มุมมองคือ  จากการบังคับ (commanding change) เป็ นการได้มาซึ่งอานาจ จากใช้กาลัง  จากเงื่อนไข (controlling agenda) เป็ นอานาจที่เกิดจากการสร้าง เงื่อนไขและควบคุมให้มีการแสดงออกได้อย่างจากัด  จากการชักจูง (establish preference) เป็ นอานาจที่ได้มาจากการ สร้างความเชื่อ การรับรู ้ และความพึงพอใจ  มุมมองแรกเป็ นอานาจด้านแข็ง มุมมองที่สามเป็ นอานาจด้าน อ่อน มุมมองที่สองอยูระหว่างกลาง ่
  • 10. ลักษณะของอานาจ มี 3 ประการคือ  อานาจทางทหาร  อานาจทางเศรษฐกิจ  อานาจด้านอ่อน
  • 11.   อานาจทางทหาร เป็ นอานาจที่ใช้มากในศตวรรษที่ 19 คือในยุคที่มี การล่าอาณานิคม แต่ในยุคศตวรรษที่ 21 ซึ่งถือว่าเป็ นการยุคที่สี่ของการรบยุคใหม่ (ยุคแรกคือการรบเป็ นแถวเป็ นตอนหลังการปฏิวตในฝรั ่งเศส ยุคที่ ั ิ สองเป็ นการรบอาศัยการยิงที่หนักหน่วงในสงครามโลกครั้งแรก ยุคที่ สามเป็ นการรุกรบอย่างรวดเร็วของเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ สอง) คือจะไม่มีเขตแนวรบที่ชดเจนและเป็ นการยากในการแยก ั ทหารจากพลเรือน การรบพุงจะเกิดในประเทศระหว่างประชาชนที่ ่ ขัดแย้งกันมากกว่าระหว่างประเทศ และเป็ นการรบที่ไม่มีกติกา เช่น การก่อการร้าย การใช้คาร์บอมบ์ ระเบิดพลีชีพเป็ นต้น
  • 12.   รูปแบบการใช้อานาจทางทหาร คือ ใช้ในการสูรบและการทาลาย ้ ล้างทางกายภาพ ใช้เป็ นข้อต่อรองทางการเมืองระหว่างประเทศ ใช้ในการรักษาสันติภาพหรือใช้ปกป้ องกลุมประเทศสนธิสญญา ่ ั และใช้กาลังทหารในการให้ความช่วยเหลือ เช่น การฝึ กทหาร ให้ทุนการศึกษาด้านการทหาร ช่วยบรรเทาสาธารณภัย สร้าง ถนน รักษาพยาบาล และสร้างโรงเรียนเป็ นต้น บทบาทอานาจทางทหารยังคงเป็ นสิ่งจาเป็ นในศตวรรษที่ 21 อานาจทางทหารสามารถใช้ได้ท้งสามมุมมอง และอานาจทาง ั ทหารในศตวรรษที่ 21 จะใช้ตามมุมมองที่สองมากขึ้นคือ อานาจ แบบมีเงื่อนไข ที่ใช้ประกอบกับการเมืองระหว่างประเทศ
  • 13.   อานาจทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วยรายได้มวลรวมของ ประชาชาติ รายได้ตอหัว ระดับของเทคโนโลยี ่ ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรบุคคล นโยบายทางการตลาด การค้าขาย การคลัง และการแข่งขันเป็ นต้น อานาจทางเศรษฐกิจสามารถใช้เป็ นทั้งอานาจด้านแข็งและ อานาจด้านอ่อน ด้านแข็งคือการแทรกแซงทั้งด้านบวกและด้าน ลบคือ การชาระหรือการงดชาระหนี้ การกาหนดกาแพงภาษี การ จากัดโควต้า การเข้าถึงตลาด ฯลฯ ด้านอ่อนคือให้ความ ช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ เป็ นการให้ความช่วยเหลือกับประเทศที่ ยังด้อยพัฒนา เช่นการสร้างโรงเรียน โรงยิม สนามบิน เป็ นต้น
  • 14.    จีนได้พฒนาประเทศทาให้มีเศรษฐกิจเป็ นลาดับต้น ๆ ของโลก ั โดยมีลกหนี้รายใหญ่คืออเมริกา ู ในปี ค.ศ. 2008 อเมริกาจึงพยายามบีบให้จนลอยค่าเงินเพื่อลด ี การขาดดุล อย่างไรก็ตามค่าเงินหยวนจะยังไม่สามารถเทียบกับ ดอลลาร์ได้ในระยะสิบปี แรกของศตวรรษ เพราะดอลลาร์ยงใช้ ั เป็ นสกุลเงินตราสารองระหว่างประเทศอยู่ แต่ตอไปจีนจะมีอานาจทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น อเมริกาจะใช้อานาจ ่ ทางเศรษฐกิจที่มีอยู่ โดยใช้มาตรการแทรกแซงทั้งด้านบวกและ ด้านลบกับจีน เพราะเป็ นนโยบายที่ไม่เปลืองค่าใช้จาย ่
  • 15.   อานาจด้านอ่อน เป็ นสิ่งที่เล่าจื๊อกล่าวว่า ผูนาที่ดีที่สุดคือผูที่ทาให้ ้ ้ ผูที่อยูใต้การปกครองไม่รูสึกว่าถูกปกครองอยู่ ้ ่ ้ อานาจด้านอ่อนประกอบด้วยวัฒนธรรม ค่านิยมทางการเมือง และนโยบายต่างประเทศ โดยใช้ความสัมพันธ์ ความสามารถ พิเศษ และแรงดึงดูด เพื่อการชักชวนโน้มน้าวให้อีกฝ่ ายเกิด ความไว้เนื้อเชื่อใจและทาในสิ่งที่เราต้องการ
  • 16.     ใช้เรืองเล่าเป็ นประเด็นสาคัญ ว่าเรืองเล่าของใครจะชนะและมี ่ ่ คนคล้อยตามมากกว่ากัน นั ่นคือต้องมีการสื่อสารแบบรายวันเพื่ออธิบายบริบทและการ ตัดสินใจ การสื่อสารที่เป็ นรายสัปดาห์ รายเดือน หรือรายปี เพื่อผลทาง การเมือง และการติดต่อสื่อสารระยะยาว เช่น การให้ทุน การแลกเปลี่ยนดู งาน การอบรม การประชุม การมีช่องทางสื่อสาร เพื่อหวังผลให้ เกิดความไว้วางใจ
  • 17.    ประเทศจีนมีการใช้อานาจด้านอ่อนกับประเทศในเอเชียและ ประเทศด้อยพัฒนา โดยในปี ค.ศ. 2009 จีนมีการให้ทุนกับ นักศึกษาต่างชาติเป็ นจานวน 220,000 ราย เพื่อศึกษาในระดับ มหาวิทยาลัยของจีน มีการตั้งสถาบันขงจื๊อหลายร้อยแห่งในโลกเพื่อเผยแพร่ วัฒนธรรมและภาษาจีน มีงบลงทุน 8.9 พันล้านเหรียญในการประชาสัมพันธ์ และให้ สานักข่าวซินหัวรายงานข่าว 24 ชั ่วโมงเช่นเดียวกับสานักข่าวอัล จาซีรา
  • 18.   ผูนาในโลกปั จจุบน 64 คน และอดีตผูนา 165 คน เคยศึกษาใน ้ ั ้ ประเทศสหรัฐอเมริกา มีนกศึกษาต่างชาติที่ศึกษาระดับ ั มหาวิทยาลัยในอเมริกาเฉลี่ยปี ละ 750,000 คน ที่ยงไม่รวม ั นักเรียนแลกเปลี่ยน มีผลทาให้บุคคลเหล่านั้นมีมุมมองที่ดีตอ ่ อเมริกา และนาความคิดประชาธิปไตยไปเผยแพร่ในประเทศตน ในอนาคตอานาจด้านอ่อนจะมีความสาคัญมากขึ้น ใครที่สามารถ แยกแยะข้อมูลข่าวสารที่มีค่าจากระบบที่ซบซ้อนได้ จะเป็ นผูที่มี ั ้ อานาจในการใช้อานาจทีฉลาด ่
  • 19.    การเคลื่ อนย้ายของอานาจในศตวรรษที่ 21 มี 2 รูปแบบคือ การแพร่กระจายของอานาจ (power diffusion) การเปลี่ยนขั้วของอานาจ (power transition)
  • 20.  อานาจแบบแพร่กระจาย การปฏิวตของข้อมูลข่าวสาร คือการ ั ิ ปฏิวตทางอุตสาหกรรมครั้งที่สาม ซึ่งมีเทคโนโลยีที่ทนสมัยของ ั ิ ั เครื่องคอมพิวเตอร์ การสือสาร และซอฟท์แวร์ ที่ทาให้การสร้าง ่ การดาเนินการ การส่งผ่าน และการค้นหาข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนเทคโนโลยีการเชื่อมต่อมีราคาถูกลง เป็ นตัวเร่งการ แพร่กระจายของอานาจ เพราะมีผคนจานวนมากสามารถเข้าถึง ู้ ข่าวสารที่มีอย่างมากมายมหาศาลได้ โดยไม่มีการจากัดด้วย อาณาเขตอีกต่อไป
  • 21.   โลกไซเบอร์ เป็ นโลกของข่าวสารอิเล็คโทรนิค ที่ใช้ทรัพยากรของ การสร้าง ควบคุม สื่อสาร มีระบบเครือข่าย (อินเตอร์เน็ต อินตรา เน็ต โทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์ผ่านดาวเทียม) ซอฟท์แวร์ ทักษะ บุคคล มีการส่งข้อมูลข่าวสารผ่านไซเบอร์โดเมน มีการเข้าถึงได้ ง่าย ถือว่าเป็ นอานาจด้านอ่อน ที่ชกชวนกับพลเมืองชาติอื่นให้ทา ั ตามอย่าง แต่บางครั้งอาจเป็ นอานาจด้านแข็งได้ เช่นการใช้ “บอตเน็ต” ส่ง คอมพิวเตอร์ไวรัสเพื่อเจาะระบบคอมพิวเตอร์ หรือ “นักแฮกเกอร์” ที่ทาให้เกิดความเสียหายกับโครงสร้างทางกายภาพได้ โดยการ เจาะระบบ SCADA (Supervisory Control and Data Acquisition)
  • 22.    หลายประเทศในโลกที่มีการกรอง การปิ ดกั้น หรือจับกุมผูแพร่ ้ ข่าวสารอิเล็คโทรนิค เช่น จีน เวียตนาม อิหร่าน ลิเบีย เอธิโอเปี ย และซาอุดิอาระเบีย แต่ก็ไม่สามารถปิ ดกั้นข่าวสารออกสูชาวโลกได้ เช่น การเกิด ่ เหตุการณ์ไม่สงบในซินเกียงของจีน การคัดค้านการเลือกตั้ง ประธานาธิบดีของอิหร่าน ในปี ค.ศ. 2009 และการต่อต้าน รัฐบาลเผด็จการที่ครองอานาจมาอย่างยาวนานในประเทศ ตะวันออกกลาง หรือประเทศทางตอนเหนือของทวีปอาฟริกา ทาให้ยูทูป เฟสบุค และทวิตเตอร์ ถูกใช้เป็ นเครืองมือสื่อสารของ ๊ ่ ผูตอต้าน ้ ่
  • 23.  อานาจแบบแพร่กระจาย มีผที่มีบทบาทมากมายหลากหลายที่ทา ู้ ให้อานาจแพร่กระจายออกไป ทั้งรัฐบาล หน่วยงานที่มีโครงข่าย ที่ไม่ใช่รฐบาล ตลอดจนถึงรายบุคคลที่มีเครือข่ายเล็ก ๆ ไม่มี ั ใครระบุอาณาเขตได้ว่าการแพร่กระจายไปถึงที่ใด
  • 24.   ในปี ค.ศ. 2010 กูเกิลประกาศจะยกเลิกการให้บริการในจีน โดยกล่าวหาว่าจีนขโมยทรัพย์สินทางปั ญญา และละเมิดสิทธิส่วน บุคคล ทาให้รฐบาลอเมริกนต้องเข้ามาดูแลเป็ นพิเศษในเรือง ั ั ่ เสรีภาพในการใช้อินเตอร์เน็ต แสดงถึงอานาจแบบแพร่กระจาย ที่มีบทบาทมากขึ้นในศตวรรษ ที่ 21
  • 25.   ้ การเปลี่ยนขัวอานาจ มีคาถามว่าอมริกาเสื่อมถอยจริงหรือไม่ โดยข้อเท็จจริงแล้วแม้ว่าอเมริกาจะมีพลเมืองเพียงร้อยละ 5 ของโลก แต่มีผลิตภัณฑ์ 1 ใน 4 ของโลก และมีการใช้จายด้าน ่ กองทัพมากที่สุดในโลก รวมถึงการมีวฒนธรรมทีหลากหลาย ั ่ และระบบการศึกษาที่ดี
  • 26.   จากการวิเคราะห์สถานการณ์ประเทศต่าง ๆ ในโลกที่มี ผลกระทบกับอเมริกา คือ ยุโรป ญีปุ่น กลุมประเทศ BRICs ่ ่ (Brazil, Russia, India, China) และการวิเคราะห์สถานการณ์ในอเมริกาเอง
  • 27.    ยุโรป มีสหภาพยุโรปเป็ นแกนกลาง มีค่าใช้จายทางการทหาร ่ ครึ่งหนึ่งของอเมริกา แต่มีจานวนทหารมากกว่า และมี 2 ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ ด้านการค้าของยุโรปมีขนาดใกล้เคียง กับอเมริกา แต่ยงมีปัญหาเรืองความสามัคคีระหว่างชาติสมาชิก ั ่ ความร่วมมือด้านต่างประเทศและทางทหารยังมีขอจากัด ้ ในปี ค.ศ. 2010 ยุโรปดูอ่อนด้อยลงเมื่อเทียบกับจีนและอเมริกา ดังนั้นแม้จะยังมีขอขัดแย้งเล็ก ๆ น้อย ๆ กับอเมริกา แต่การ ้ แข่งขันด้านอานาจจะไม่เกิดขึ้น อเมริกาและยุโรปจะมีความ ร่วมมือกัน
  • 28.    ญีปุ่น สองทศวรรษที่เกิดความชะงักงันทางด้านเศรษฐกิจจาก ่ ภาวะฟองสบู่แตก ทาให้จนก้าวแซงญีปุ่นขึ้นสูลาดับสองของโลก ี ่ ่ ในปี ค.ศ. 2010 ญี่ปุ่นยังมีอุตสาหกรรมและกองทัพที่ทนสมัย ั มีประวัตศาสตร์ของการลุกขึ้นมาใหม่ได้ คือการก้าวสูความ ิ ่ ทันสมัยในยุคเมจิ และยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
  • 29.    ญี่ปุ่นมีปัญหาเรืองประชากรที่สูงอายุและมีจานวนลดลงเพราะมี ่ นโยบายกีดกันผูอพยพ ้ แต่มีความเข้มแข็งเรืองของมาตรฐานความเป็ นอยูที่สูง แรงงงาน ่ ่ มีฝีมือ สังคมที่มั ่นคง มีวฒนธรรม ความร่วมมือกับนานาชาติ ั และการช่วยเหลือประเทศอื่น ที่เป็ นอานาจด้านอ่อน ญี่ปุ่นจะไม่จบมือกับจีน เพราะยังมีวิสยทัศน์ที่ขดกัน และยังเกรง ั ั ั กับการมีอิทธิพลมากขึ้นของจีน ดังนั้นญีปุ่นคงให้ความร่วมมือ ่ กับอเมริกามากกว่า
  • 30.  กลุ่มประเทศบริคส์ (BRICs: Brazil, Russia, India, China) มี ประชากรรวมประมาณครึงโลก ผลผลิตหนึ่งในสี่ของโลก ่ เงินตราสารองประมาณร้อยละ 40 ของโลก (โดยมากเป็ นของ จีน) ที่เป็ นหัวใจของกลุมคือจีน มีการวิเคราะห์แต่ละชาติสมาชิก ่ ดังนี้
  • 31.   รัสเซีย เดิมเป็ นสหภาพโซเวียตที่มีอานาจพอ ๆ กับอเมริกา มี อาณาเขตมากที่สุดในโลก ประชากรมากเป็ นลาดับสาม เศรษฐกิจเป็ นลาดับสอง มีน้ ามันและก๊าซมากกว่าซาอุดอาระเบีย ิ มีหวรบนิวเคลียร์ครึ่งโลก และจานวนทหารมากกว่าอเมริกา มี ั บุคลากรด้านการวิจยและพัฒนามากทีสุด ั ่ ต่อมาสหภาพโซเวียตได้ล่มสลายในปี ค.ศ. 1991 ทาให้อาณา เขต เศรษฐกิจ และจานวนทหาร รวมถึงความเป็ นคอมมิวนิสต์ ลดลง
  • 32.    รัสเซีย ปั จจุบนยังมีระบบสาธารณสุขไม่ดี อัตราตายสูง และ ั อัตราการเกิดลดลง มีการคอร์รปชั ่นมาก ั รัสเซียมีแนวโน้มจับมือกับจีน แต่ยงมีการขัดแย้งเรืองการ ั ่ ต่างประเทศและการมองโลกบ้าง รัสเซียอาจยังเป็ นภัยกับอเมริกาอยู่ เพราะยังคงมีอาวุธนิวเคลียร์ แต่ไม่เท่ากับสมัยที่ยงเป็ นสหภาพโซเวียต ั
  • 33.   อินเดีย อาจได้เป็ นประเทศมหาอานาจในอนาคตทีมีสามขั้วคือ ่ จีน อเมริกา และอินเดีย เพราะอินเดียมีประชากร 1.2 พันล้าน คนและไม่นานอาจมากที่สุดในโลก อินเดียมีสภาพเศรษฐกิจที่มหาศาลแต่มีมาตรฐานการครองชีพ ต ่า ชนชั้นกลางมีจานวนเพิ่มขึ้น มีอุตสาหกรรมข้อมูลข่าวสาร และมีแผนงานด้านอวกาศ มีจานวนทหารมาก มีหวรบนิวเคลียร์ ั ประมาณ 60-70 ลูก
  • 34.    อินเดีย มีอานาจด้านอ่อนคือ ความเป็ นประชาธิปไตย วัฒนธรรม และ อุตสาหกรรมภาพยนตร์ แต่อินเดียยังเป็ นประเทศด้อยพัฒนา ผลิตภัณฑ์รวมประเทศยัง น้อย แม้มีวิศวกรคอมพิวเตอร์มากแต่ที่ใช้งานได้จริงน้อย สินค้า ที่ใช้เทคโนโลยีสูงยังมีนอย ้ ดังนั้นจึงไม่เป็ นปั ญหาท้าทายกับอเมริกา และอินเดียกับจีนยังมี ข้อขัดแย้งกันอยู่ มีแนวโน้มว่าอินเดียจะร่วมมือกับกลุมประเทศ ่ อาเซียนเพื่อต้านทานอิทธิพลของจีน
  • 35.    บราซิล เป็ นประเทศประชาธิปไตย ไม่มีปัญหาเรืองการจลาจล ่ เชื้อชาติ ศาสนา หรือขัดแย้งกับประเทศเพื่อนบ้าน มีอตราการ ั เจริญเติบโตที่ดี ในปี ค.ศ. 2007 มีการค้นพบแหล่งน้ ามันสารอง ขนาดใหญ่ที่ชายฝั ง บราซิลมีจานวนทหารน้อย ไม่มีอาวุธ ่ นิวเคลียร์ ส่วนอานาจด้านอ่อนนั้น บราซิลมีเทศกาลคาร์นิวาล และฟุตบอล แต่โครงสร้างพื้นฐานของบราซิลยังไม่ดีพอ มีอาชญากรรมและ คอร์รปชั ่นสูง การแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจยังน้อยเพราะระบบ ั การศึกษายังไม่ดี ความยากจนยังเป็ นปั ญหาใหญ่ ดังนั้นบราซิลจึงไม่น่าเป็ นคู่แข่งของอเมริกา
  • 36.    จีน เป็ นพี่ใหญ่ในกลุมบริคส์ เพราะมีจานวนประชากร ขนาด ่ เศรษฐกิจ จานวนทหาร ค่าใช้จายทางทหาร การเติบโตทาง ่ เศรษฐกิจ และผูใช้อินเตอร์เน็ต มากที่สุดของกลุม ้ ่ จีนมีอตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 7 ต่อปี ฟื้ นตัวจากวิกฤต ั เศรษฐกิจในปี ค.ศ. 2008 ได้เร็ว และอีกไม่นานผลิตภัณฑ์รวม ของชาติจะแซงอเมริกาเป็ นลาดับหนึ่งของโลก จีนมีอาณาเขตใกล้เคียงกับอเมริกา มีประชากรมากกว่าสี่เท่า มี กองทัพบกใหญ่ที่สุดในโลก มีหวรบนิวเคลียร์ประมาณ 200 ลูก ั มีความสามารถด้านอวกาศ และโลกไซเบอร์
  • 37.    อานาจด้านอ่อนของจีน ยังมีความด้อยกว่าฮอลลีวูดและบอลลีวูด ระบบมหาวิทยาลัยยังสูอเมริกาไม่ได้ จานวนเอ็นจีโอยังน้อยอยู่ ้ แต่จนพยายามเพิ่มด้วยการส่งเสริมวัฒนธรรม มีการสร้าง ี สถาบันขงจื้อนับร้อยแห่งในต่างประเทศเพื่อสอนภาษาและ วัฒนธรรมของจีน และส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศด้าน ต่าง ๆ เพื่อลดความหวาดกลัว ประชากรทั้งอเมริกาและจีนต่างมองอีกฝ่ ายเป็ นศัตรู และมีการ เตรียมพร้อมทางทหารไว้เผื่อเกิดสงคราม
  • 38.    จีนเคยรุงเรืองในสมัยโบราณ แต่ระยะห้าร้อยปี ที่ผานมา มีการ ่ ่ ปฏิวตอุตสาหกรรมที่ทาให้ประเทศตะวันตกมีบทบาทเป็ น ั ิ มหาอานาจของโลก จนกระทั ่งเติ้งเสี่ยวผิงนาจีนเข้าสูยุคทันสมัยในทศวรรษที่ 1980 ่ ทาให้จนเริมกลับเข้ามามีบทบาทในโลกอีกครั้งหนึ่ง ี ่ อีกทั้งคาสอนของขงจื้อทาให้เกิดการเสริมอานาจด้านอ่อน
  • 39.   แต่จนยังมีปัญหาในชนบทที่ห่างไกล ความไม่มีประสิทธิภาพของ ี รัฐวิสาหกิจ ความไม่เท่าเทียม การอพยพแรงงาน ระบบ ประกันสังคม การคอร์รปชั ่น ความไม่มั ่นคงด้านการเมือง ด้าน ั เหนือและตะวันออกเจริญกว่าด้านใต้และตะวันตก มีชนกลุมน้อย ่ มาก และประชากรเริมอาวุโส ่ แม้ว่าจีนมีความสาเร็จด้านเหรียญทองโอลิมปิ ค รถไฟความเร็วสูง และฟื้ นตัวจากวิกฤติเศรษฐกิจเร็ว แต่ถาเกิดปั ญหาทางเศรษฐกิจ ้ อาจส่งผลกระทบต่อการเมืองด้วย และด้านการเมืองของจีนอาจจะ มีการเปลี่ยนแปลงในอีกสิบหรือสิบห้าปี ข้างหน้า เมื่อเหล่า นักศึกษาที่จบจากต่างประเทศเริมมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น ่
  • 40.    จีนมีปัญหาเรืองของโลกไซเบอร์ เมื่อรัฐบาลกลางจากัดการเข้าถึง ่ ข้อมูลข่าวสาร ด้วยเกรงว่าจะเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในประเทศ เพราะการเมืองในประเทศมีความเปราะบาง ปั ญหาเรื่องการอพยพ ที่ควบคุมไม่ได้ ปั ญหาเรืองผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม ่ ส่วนด้านการทหาร จีนมีการซื้ออาวุธจากรัสเซีย และมีการผลิตเอง ด้วย มีการเพิ่มงบประมาณด้านการทหารอย่างมหาศาล ทาให้จนมี ี อิทธิพลในเอเชียตะวันออก และท้าทายอานาจของอเมริกาได้ใน อนาคต แต่อเมริกามีขอได้เปรียบคือมีท้งญีปุ่นและอินเดียขนาบจีนอยู่ ้ ั ่ รวมถึงประเทศใกล้เคียงที่จะคอยควบคุมความประพฤติของจีน
  • 41.   ปั ญหาของอเมริกา ความเสื่อมโทรมของอเมริกาส่วนมากเกิดจาก ปั ญหาภายใน คือด้านสังคมและวัฒนธรรม เช่น เกิด อาชญากรรมบ่อย การหย่าร้างสูง การตั้งครรภ์ก่อนวัย การทา แท้ง และการแต่งงานเพศเดียวกันเป็ นต้น นโยบายด้านการอพยพเข้าเมืองที่มีการปิ ดกั้นมากขึ้น ทาให้ จานวนประชากรกลุมฮิสปานิคเพิ่มขึ้น ่
  • 42.   การปิ ดกั้นการอพยพเข้าเมืองไม่เป็ นผลดี เพราะจากการศึกษา พบว่า ผูอพยพที่ได้รบการศึกษาขั้นสูงจะช่วยเพิ่มผลิตภัณฑ์รวม ้ ั ของประเทศได้มาก การมีผอพยพที่คดสรรแล้ว(ดีที่สุดและฉลาดที่สุด) ทาให้อานาจ ู้ ั ด้านอ่อนเพิ่มขึ้น เพราะบุคคลเหล่านี้และญาติที่อยูในประเทศ ่ เดิม จะช่วยเสริมภาพลักษณ์ของอเมริกาให้ดดี รวมถึงการมี ู วัฒนธรรมทีหลากหลาย ทาให้เกิดความสร้างสรรค์ ่
  • 43.    อเมริกามีความล้าหน้าด้านเศรษฐกิจหลายอย่างเช่น เทคโนโลยี สารสนเทศ เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี อุตสาหกรรม คอมพิวเตอร์และอิเล็คโทรนิค ที่ทารายได้เข้าอเมริกาอย่างมาก อเมริกามีการลงทุนด้านการพัฒนาและการวิจยมากที่สุดในโลก ั และมีความสัมพันธ์อนดีของอุตสาหกรรมและมหาวิทยาลัย ั หลังจากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ทาให้รฐบาลกลางเกิดหนี้สิน ั มาก และคาดว่าในปี ค.ศ. 2023 จะมีหนี้สินเท่ากับผลิตภัณฑ์ รวมของประเทศ แต่อเมริกามีขอได้เปรียบ เพราะดอลลาร์เป็ น ้ ระบบเงินสารองของโลกและความคล่องตัวของพันธบัตรรัฐบาล ของอเมริกา
  • 44.    การมีแรงงานที่มีความรูดีเป็ นข้อได้เปรียบ เป็ นเพราะระบบ ้ การศึกษาขั้นสูงของอเมริกา ที่ถือว่าเป็ นระบบที่ดีที่สุดในโลกจาก การจัดลาดับของมหาวิทยาลัย ชาวอเมริกนได้รบรางวัลโนเบลมากที่สุด มีการตีพิมพ์บทความ ั ั ด้านวิทยาศาสตร์ในวารสารต่าง ๆ มากที่สุด แต่การศึกษาในระดับล่างยังคงเป็ นปั ญหาอยู่ รวมถึงปั ญหาการ กระจายรายได้ที่ไม่เป็ นธรรม
  • 45.    ด้านสถาบันทางการเมือง ประชากรมีความเชื่อถือในรัฐบาลกลาง ลดลง ปั ญหาการคอร์รปชั ่นลดลงเทียบกับก่อนหน้านี้ ั สามในสี่ของประชาชนมีความผูกพันกับชุมชน และมีการอาสา ช่วยแก้ปัญหาให้ชุมชน
  • 46.     ผลการประเมิน พบว่าอเมริกาและจีนจะแข่งกันเป็ นมหาอานาจ ทั้งนี้ขึ้นกับการเมืองในประเทศจีนด้วย อเมริกาจะเป็ นมิตรที่ดีกบยุโรป ญี่ปุ่น อินเดีย และประเทศอื่น ๆ ั คาดหมายว่าห้าสิบปี แรกของศตวรรษนี้ จีนยังคงแซงอเมริกา ไม่ได้ แต่อเมริกาจะถดถอย เพราะปั ญหาเรืองจานวนหนี้สิน การศึกษา ่ ขั้นมัธยม การขัดแย้งทางการเมือง และที่สาคัญคือการตืนกลัว ่ กับการก่อการร้ายมากเกินไป ทาให้มีนโยบายที่ไม่เปิ ดกว้าง เหมือนเดิม ส่งผลเสียเรื่องเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในระยะยาว
  • 47.   นโยบายของอเมริกาในศตวรรษที่ 21 เพื่อรับมือกับผูที่จะมาแข่ง ้ เป็ นประเทศมหาอานาจของโลกคือจีน ที่เหมาเจ๋อตุงได้สร้าง กองทัพให้แข็งแกร่ง เติ้งเสี่ยวผิงสร้างเศรษฐกิจที่มั ่งคั ่ง ประธานาธิบดีหูจนเทาสร้างอานาจด้านอ่อน ที่แสดงให้เห็นถึงจีน ิ มีการใช้อานาจที่ฉลาด แต่ในปี ค.ศ. 2009 เกิดภาวการณ์กาวร้าวทางการต่างประเทศ ้ ของจีน ที่ทาให้โลกตะวันตกมองว่า จีนเปลี่ยนไปจากแนวคิดของ เติ้งเสี่ยวผิงทีว่า “ก้าวอย่างระมัดระวังและอย่าทาตัวเด่น” ่
  • 48.  อเมริกามียุทธศาสตร์ 3 ข้อดังนี้ 1. เข้าใจจุดแข็งและข้อจากัดของอเมริกา นั ่นคืออเมริกาไม่สามารถ ควบคุมประเทศต่าง ๆ ในโลกได้ท้งหมด จึงต้องอาศัยความ ั ร่วมมือกับประเทศที่เป็ นมิตร 2. ต้องพัฒนาอานาจที่ฉลาด คือการบูรณาการอานาจด้านแข็งและ อานาจด้านอ่อนเข้าด้วยกัน รวมถึงการใช้ให้ถูกต้องกับบริบทด้วย 3. สร้างความมั ่นคงให้กบอเมริกาและเครือข่าย ทางด้านเศรษฐกิจ ั ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ หลีกเลี่ยงการสร้างความ เสียหายกับสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ทั้งในและต่างประเทศ
  • 49.  ความท้าทายของอเมริกา ที่ยงต้องเผชิญมี 5 ประการคือ ั 1.การก่อการร้ายกับอาวุธนิวเคลียร์ อเมริกาจะต้องมีนโยบาย ต่อต้านการก่อการร้าย และปกป้ องอาวุธนิวเคลียร์ทเป็ นของ ี่ ต่างชาติดวยไม่ให้ตกอยูในมือของผูก่อการร้าย มีการสร้างความ ้ ่ ้ มั ่นคงในตะวันออกกลาง และให้ความสนใจรัฐที่ลมเหลว ้ 2.การพัฒนาของอิสลาม ไม่ใช่เป็ นสงครามระหว่างศาสนา แต่เป็ น สงครามในศาสนาอิสลามเอง ที่ชนกลุมน้อยใช้ความรุนแรงกับ ่ ชนกลุมใหญ่ในตะวันออกกลาง อเมริกาต้องเปิ ดตลาดการค้า จัด ่ การศึกษา ส่งเสริมสถาบันของพลเรือนในสังคม และให้พลเมือง มีบทบาททางการเมืองเพิมขึ้น ่
  • 50. 3.การเพิ่มอิทธิพลของเอเชียด้านเศรษฐกิจ จัดการโดยมีนโยบายให้ จีนเข้ามามีสวนได้สวนเสียมากขึ้น และยังคงความสัมพันธ์ใกล้ชิด ่ ่ กับญี่ปุ่น อินเดีย และประเทศที่เป็ นมิตรกับอเมริกาในเอเชีย 4.ความตกต ่าด้านเศรษฐกิจ ที่เกิดจากการบริหารทีลมเหลว หรือเกิด ่ ้ วิกฤติในตะวันออกกลางของประเทศผูผลิตน้ ามัน อเมริกาจึงควรมี ้ นโยบายพึ่งพาน้ ามันน้อยลง และมีนโยบายเปิ ดประเทศมากขึ้น 5.ความล้มเหลวของระบบนิเวศน์ เช่น การเกิดโรคระบาด การ แปรเปลี่ยนบรรยากาศโลก อเมริกาควรมีแนวทางการใช้พลังงาน และการรักษาสิ่งแวดล้อม รวมถึงการร่วมมือกับองค์กรระหว่าง ประเทศ
  • 51.   กล่าวโดยสรุป การปฏิรูปของโลกมีมาอย่างยาวนาน อเมริกาควร ทาหน้าที่ประเทศมหาอานาจ ที่มีส่วนรับผิดชอบในการรักษา ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยในโลก มีการส่งเสริมการขยายตัว ทางเศรษฐกิจของโลก (ทั้งด้านทะเล อวกาศ และอินเตอร์เน็ต) เป็ นตัวกลางขจัดความขัดแย้งของประเทศต่าง ๆ และสร้าง สถาบันและสร้างกฎเกณฑ์ที่เป็ นนานาชาติ ทั้งนี้อเมริกาจาเป็ นต้องมียุทธศาตร์ในการจัดการกับการพุงขึ้นมา ่ ทั้งของรัฐและที่ไม่ใช่รฐคือ การใช้อานาจที่ฉลาด เน้นความ ั ร่วมมือกัน การมีสถาบัน และการมีเครือข่าย ที่สามารถ ตอบสนองต่อบริบทใหม่ของโลกยุคข้อมูลข่าวสาร
  • 52.   ขอขอบพระคุณ พลตรี กฤษฎา ดวงอุไร รองเจ้ากรมแพทย์ทหารบก ที่ได้แนะนาและให้หนังสือเล่มนี้มาศึกษา