SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
16 มีนาคม 2560
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระราชบันทึกในเรื่อง ลัทธิเอาอย่าง
Adapted from Clobridge Consulting, January 2014
1. การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
 คือการปฏิบัติการของ การดักจับ (capturing) การแบ่งปัน (sharing)
การนามาใช้ (adopting) การซึมซับ (absorbing) และการใช้อีกครั้ง
(re-using) ของความรู้สาคัญ ที่มีความสอดคล้องทั่วทั้งองค์กร ด้วย
วิธีการอย่างเป็นระบบ
 องค์กรใช้การจัดการความรู้เพื่อ:
 การสร้างนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์
 ลดการสูญเปล่าในการดาเนินงาน
 สร้างกระบวนการปรับตัวของบุคลากรให้เข้ากับองค์กรได้เร็วขึ้น
 ดักจับและนาความรู้ที่สาคัญมาใช้
 ดักจับความทรงจาขององค์กรให้ธารงอยู่
2. ความท้าทายของ KM
 วัฒนธรรมของเรามักชื่นชมกับ ผู้รู้แต่ผู้เดียว (information
hoarding) เราจะเปลี่ยนให้เป็นการแบ่งปันได้อย่างไร? เพราะ...
 เรายังทาผิดแบบเดียวกันซ้าแล้วซ้าเล่า
 ฉันไม่สามารถหาสิ่งที่ฉันกาลังมองหา ที่อยู่ในอินทราเน็ต หรือที่ไหน ๆ
 เราไม่ทราบว่ามีใครที่แผนกอื่นทาอะไรกันอยู่
 มันยากที่จะรู้ว่าสิ่งนี้ ได้เคยทามาก่อน ทาให้เราสูญเสียเวลาทาซ้าอีก
 ความรู้จานวนมากนี้ อยู่ในหัวของคนคนเดียว ไม่มีใครรู้อีกเลย
 ตราบใดที่ยังไม่มีใครลาออก เราก็ยังไปได้ด้วยดี
 ...คุณยังไม่รู้ว่าสิ่งที่คุณไม่รู้คืออะไร
3. วงจรชีวิตของ KM
 การดักจับ การอธิบาย การจัด
ระเบียบ และการแบ่งปันความรู้
เป็นสิ่งที่จาเป็นที่ทาให้ การนา
ความรู้มาใช้ซ้า มีความเป็นไปได้
4. แต่ละองค์กรมีเอกลักษณ์ของตนเอง
 ไม่มีสิ่งหนึ่ง (เสื้อโหล) ที่มีขนาดเหมาะกับทุกวิธีการแก้ปัญหา
(not a one-size-fits-all) ในเรื่องการจัดการความรู้
5. ด้านสังคมของการแบ่งปันความรู้
 การจัดการความรู้: หลายหัวดีกว่าหัวเดียว (We’re better together)
 ในการแบ่งปันความรู้ ควรใช้ด้านสังคมในการกระตุ้น เพื่อ:
 จุดประกายการสร้างนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์
 ส่งเสริมมุมมอง และความคิดเห็นที่แตกต่างกัน
 ปรับปรุงและเสริมสร้างการเชื่อมต่อ ระหว่างแผนกต่าง ๆ
 ปรับปรุงและเสริมสร้างการเชื่อมต่อ ระหว่างบุคคลและองค์กร
 สร้างความไว้วางใจ และความโปร่งใส
 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกมุมขององค์กร จากพนักงานทุกระดับ
 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและแพลตฟอร์มใหม่ ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย
6. นาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเหลือ
 เป็นการนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ (Appropriate adoption of
technology)
 เทคโนโลยีทาให้การจัดการความรู้มีความแตกต่างไปอย่างมาก
และช่วยในการสนับสนุน การดักจับความรู้ (knowledge capture)
การแบ่งปันความรู้ (knowledge sharing) และ การนาความรู้
กลับมาใช้ (knowledge re-use)
 แต่ไม่ควรใช้เทคโนโลยีในการผลักดัน กลยุทธ์การจัดการความรู้
7. การทาให้ความรู้ชัดเจน สามารถค้นหาและค้นพบได้
 ข้อมูลของข้อมูล (Metadata): เป็นข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูล เช่น
คาหลัก รายละเอียด บทคัดย่อ รายละเอียดผู้ประพันธ์ วันที่สร้าง
 อนุกรมวิธาน (Taxonomy): โครงสร้างสาหรับการจัดระเบียบและ
หมวดหมู่เนื้ อหาสาหรับองค์กร บริษัท หรือองค์ความรู้
(taxonomies เป็นการกาหนดเงื่อนไขการจัดหมวดหมู่ไว้ล่วงหน้า
ซึ่งจะจัดทาตามลาดับความสัมพันธ์ หรือในหมวดที่เกี่ยวข้อง)
 การติดป้ าย (Tags): คาหรือวลีที่ผู้ใช้มอบหมาย และยังเรียกได้
ว่าเป็น free tags หรือ folksonomies
8. การพัฒนาแผนงาน KM
 1. การประเมินผล (Assessment) การประเมินสภาพแวดล้อม KM ของ
องค์กร วิธีการปฏิบัติ และกระบวนการ ในปัจจุบัน
 2. การพัฒนากลยุทธ์ (Strategy Development) เป็นแผนภูมิหลักสาหรับ
อนาคต โดยเชื่อมโยงเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการทา KM กับกลยุทธ์
ขององค์กร และจัดเรียงลาดับความสาคัญ
 3. การพัฒนายุทธวิธี (Tactics Development) กาหนดหนทางในปัจจุบันมุ่งสู่
อนาคต ผ่านการบูรณาการกลยุทธ์ของ KM ความคิดริเริ่ม และแผนที่ของการ
ดาเนินงาน
 4. การดาเนินงาน (Implementation) เริ่มใช้กลยุทธ์ใหม่ กิจกรรมริเริ่ม และ
วิธีการทางาน เพื่อบูรณาการการปฏิบัติที่ดีของ KM ให้กลมกลืนกับองค์กร
หรือแผนก
 5. การพัฒนาระยะยาวอย่างยั่งยืน (Long-Term Sustainability) การทบทวน
การประเมิน การปรับแต่งกลยุทธ์ และการดาเนินการตามความจาเป็น เพื่อ
ความต่อเนื่อง และส่งเสริมความก้าวหน้าของ KM
- Benjamin Franklin
 การจัดการความรู้ (KM) เป็นศิลปะของการเปลี่ยนสารสนเทศและ
ทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อเพิ่มคุณค่าที่ยั่งยืนให้กับลูกค้าและ
บุคลากรขององค์กร
 Knowledge Management (KM) is the art of transforming
information and intellectual assets into enduring value for an
organization’s clients and its people.
ทาไมต้องทา KM
 1. ป้ องกันความพยายามที่ซ้าซ้อน (ประดิษฐ์เมื่อมีความจาเป็น
... ไม่ต้องประดิษฐ์ล้อใหม่!)
 2. หลีกเลี่ยงการทาผิดพลาดในอดีตซ้าอีก
 3. ใช้ประโยชน์จากสิ่งที่คนอื่น ๆ รู้อยู่แล้ว
KM มีความจาเป็นอย่างไร
 เพื่อทาให้ความรู้ที่มีอยู่ สามารถใช้ได้อย่างกว้างขวางภายใน
องค์กร (การเรียนรู้ใช้ระยะเวลาสั้นลง และคนที่อยู่ในแผนกที่
ต่างกัน จะได้ไม่ต้องค้นพบสิ่งเดียวกันซ้าแล้วซ้าอีก)
 การสร้างนวัตกรรม สร้างองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่า
 การปรับตัวและความคล่องตัว มีข่าวสารการตลาดที่ดีขึ้น จาก
แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
จุดมุ่งหมายของการจัดการความรู้
 ส่งเสริมการนาทุนทางปัญญามาใช้
 การตัดสินใจได้ดีกว่า
 สร้างเงื่อนไขในการพัฒนานวัตกรรม
KM เป็นการจัดการ คน กระบวนการ และเทคโนโลยี ส่งผลทาให้เกิดการ
ไหลเวียนของความรู้
 ไปยังคนที่ถูกต้อง
 ในเวลาที่เหมาะสม
 เพื่อให้สามารถทาหน้าที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลมากขึ้น
People
• culture and values
• knowledge managers
• user surveys
• social networks
• communities
• training
• documentation
• communications
Process
• methodologies
• creation
• capture
• reuse
• lessons learned
• proven practices
• collaboration
• content management
Technology
• user interface
• intranet
• team spaces
• virtual meeting rooms
• portals
• repositories
• threaded discussions
• expertise locators
• metadata and tags
• search engines
• archiving
KM
ตัววัดผล KM
• การมีส่วนร่วม (Participation): จานวนของพนักงานที่เข้าร่วมใน
Forums (การสมัครสมาชิก การโพสต์ การเข้าชมเว็บไซต์) หาร
ด้วยจานวนของพนักงานทั้งหมด
• การดักจับ (Capture): จานวนของโปรไฟล์โครงการใหม่ ในพื้นที่
การเก็บข้อมูลรายละเอียดโครงการ หารด้วยจานวนโครงการ
ใหม่ทั้งหมด
• การนามาใช้ใหม่ (Reuse): ค่าเฉลี่ยของความรู้ที่นามาใช้ซ้า ใน
โปรไฟล์รายงานโครงการใหม่
สิ่งกั้นขวาง KM
 วัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นการผลิตวันต่อวัน มากกว่าการสร้างความรู้และ
นวัตกรรม
 ข้อมูลที่นาเสนอในทางที่น่าเบื่อ (พนักงานไม่เข้าใจวิธีการที่จะใช้ประโยชน์
จากข้อมูล)
 ขาดความไว้วางใจกัน ความกลัวของการขโมยความคิด ไม่เต็มใจที่จะ
แบ่งปันความรู้
 สภาพของมนุษย์ กลัวที่จะทาผิดพลาด (พนักงานควรรู้ว่า องค์กรยินดีให้
พวกเขาทดสอบ แม้ว่าพวกเขาอาจทาผิดพลาด)
 ติดในระบบราชการมากเกินไป ใช้เวลามากเกินไปที่จะแบ่งปันความรู้
— Albert Einstein
รูปแบบของการทา KM
 KM ที่ใช้เทคโนโลยีเป็นศูนย์กลาง (Techno-centric KM)
 KM ที่ใช้คนเป็นศูนย์กลาง (People-centric KM)
KM ที่ใช้เทคโนโลยีเป็นศูนย์กลาง (Techno-centric KM)
 KM ขององค์กร
 เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1995
 ระบบอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต E-mail
 การบริหารจัดการสารสนเทศแบบไม่มีโครงสร้าง
 ใช้ฐานข้อมูลและการค้นหาเป็นศูนย์กลาง
 สาหรับหลาย ๆ องค์กร นี่คือสิ่งที่เรียกว่า KM!
KM ที่ใช้คนเป็นศูนย์กลาง (People-centric KM)
 การจัดการความรู้ส่วนบุคคล
 การจัดการความรู้ที่ใช้คนเป็นศูนย์กลาง
 ใช้ศาสตร์ด้านอ่อนเช่น
 การเล่าเรื่องและการบรรยายเรื่อง (Storytelling and narrative)
 การทบทวนหลังจากการดาเนินการ (After action reviews: AAR)
 เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer assists)
 ร้านกาแฟความรู้ (Knowledge Cafes)
 ลานเปิด (Open Space)
 ความประทับใจ (Appreciative Inquiry: AI)
Techno-centric KM People-centric KM
KM is extra work KM is part of my everyday work
Work is behind closed doors Work is open and transparent
People are afraid to talk openly Anyone can say anything
People directories provide contact
information
Social Networking platforms reflect
who is doing what with whom
Content is centralised, protected and
controlled
Content is distributed freely and
uncontrolled
IT chooses the tools I use I have a choice & select my own
tools
Knowledge sharing is database centric Knowledge sharing is people centric
Knowledge is forcibly captured just in
case
Knowledge is naturally captured as
part of my work
Best Practices Stories
Techno-centric KM People-centric KM
Distribute by e-mail Subscribe to feeds
CoPs centrally controlled Anyone can start a CoP
Centrally controlled publishing Anyone can publish
Search for experts and content separate Content filtered through experts
Content is centralised, protected and
controlled
Content is distributed freely and
uncontrolled
Context stripped Rich stories, audio and video
Professional voice, 3rd person Personal voice, 1st person
Think quietly alone Think out loud together
Efficiency and productivity Improved decision making &
innovation
KM 1.0 KM 2.0 KM 3.0
techno-centric people-centric productivity-centric
command and control
“KM is extra work”
Social
“KM is part of my work”
Practical & Individual
“KM is helping me do my
work”
KM 1: Collecting KM 2: Sharing KM 3: Using
KM 2.0 focused on sharing
knowledge using web-
enabled and social media
tools.
KM 1.0 focused on
collecting knowledge
"before it walked out the
door".
KM 3.0 focus on using
existing knowledge to help
people get their job done.
Albert Einstein
(100 คะแนน)
 ในหมวดการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการ
ความรู้ เป็นการตรวจประเมินว่าองค์กรเลือก
รวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูล
สารสนเทศ และสินทรัพย์ทางความรู้อย่างไร และ
องค์กรมีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่างไร นอกจากนี้ ยังตรวจประเมินว่าองค์กรใช้ผล
การทบทวนเพื่อปรับปรุงผลการดาเนินการอย่างไร
4.1การวัด การ
วิเคราะห์ และการ
ปรับปรุงผลการ
ดาเนินการขององค์กร:
(55 คะแนน)
4.2 การจัดการความรู้
สารสนเทศ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ:
(45 คะแนน)
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์
และการจัดการความรู้
ก. ความรู้ขององค์กร
(1) การจัดการความรู้ องค์กรมี
วิธีการอย่างไรในการจัดการ
ความรู้ขององค์กร?
(2) การเรียนรู้ระดับองค์กร
องค์กรมีวิธีการอย่างไรใน
การใช้องค์ความรู้และ
ทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้การ
เรียนรู้ฝังลึกลงไปในวิถีการ
ปฏิบัติงานขององค์กร?
ข. ข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) คุณภาพของข้อมูลและสารสนเทศ องค์กรมีวิธีการอย่างไรใน
การทาให้มั่นใจว่าข้อมูลสารสนเทศขององค์กรมีคุณภาพ?
(2) ความปลอดภัยข้อมูลสารสนเทศ องค์กรมีวิธีการที่มั่นใจได้
อย่างไรในความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศที่มีความอ่อนไหว
หรือมีความสาคัญ?
(3) ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ องค์กรมีวิธีการที่
มั่นใจได้อย่างไรว่าข้อมูลและสารสนเทศมีความพร้อมใช้งาน?
(4) คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ องค์กรมีวิธีการอย่างไร
เพื่อให้มั่นใจได้ว่าฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มีความเชื่อถือได้
ปลอดภัย และใช้งานง่าย?
(5) ความพร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน ในกรณีฉุกเฉิน องค์กรมี
วิธีการอย่างไรในการทาให้มั่นใจว่าระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
รวมทั้งข้อมูลและสารสนเทศมีความพร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง
เพื่อตอบสนองลูกค้าและความจาเป็นทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิผล?
องค์กรดาเนินการในเรื่องต่อไปนี้ อย่างไร
 รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร
 ผสานและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อ
สร้างความรู้ใหม่
 ถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องระหว่างองค์กรกับลูกค้า ผู้ส่งมอบ
พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือ
 รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการสร้าง
นวัตกรรมและกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์
รวบรวมและถ่ายทอด
ความรู้ของบุคลากร
ผสานและสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
สร้างความรู้ใหม่
ถ่ายทอดความรู้ที่
เกี่ยวข้องระหว่าง
องค์กรกับลูกค้า ผู้ส่ง
มอบ พันธมิตร และ
ผู้ให้ความร่วมมือ
เพื่อกระตุ้นการ
สร้างนวัตกรรม
และวางแผน
เชิงกลยุทธ์
ข้อมูลและสารสนเทศ
- คุณภาพ
- ความปลอดภัย
- ความพร้อมใช้
ฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์
- ความเชื่อถือได้
- ปลอดภัย
- ใช้งานง่าย
ความพร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน
องค์กรแห่งการเรียนรู้
เพื่อปรับปรุง
ประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล
ขององค์กร
Malcolm Baldrige National Quality Award
2015 Award Recipient, Health Care
Charleston Area Medical Center Health System (CAMCHS)
 Charleston Area Medical Center Health System (CAMCHS) อยู่
ในเมือง Charleston, W.Va. ประกอบด้วยเครือข่ายสี่โรงพยาบาล
คือ CAMC General Hospital, CAMC Memorial Hospital, CAMC
Women and Children’s Hospital, และ CAMC Teays Valley
Hospital
 CAMCHS มีรายได้ $ 956,000,000 และมีบุคลากร 7,000 คน
(แพทย์เกือบ 800 คน) และอาสาสมัครอื่น ๆ กว่า 300 คน
Malcolm Baldrige National Quality Award
2014 Award Recipient, Health Care Category
 Hill Country Memorial (HCM) เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 86
เตียง ดาเนินการเป็นองค์กรไม่แสวงหากาไร ที่ให้บริการดูแลทั้ง
แบบทั่วไปและฉุกเฉินของ Texas Hill Country
 เปิดในปี ค.ศ.1971 โดยชุมชนให้การสนับสนุนทางการเงิน
HCM ให้บริการผู้ป่ วยใน ผู้ป่ วยนอก และบริการฉุกเฉิน
 ศูนย์ผ่าตัดผู้ป่ วยจะอยู่ใน Marble Falls มลรัฐเท็กซัส
 มีพนักงานกว่า 800 คน รวมถึงเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และ
อาสาสมัคร และมีงบประมาณการดาเนินงาน $ 199,500,000
Anthony Robbins
ระบบการจัดการความรู้ที่ดี
 เสริมพลังให้พนักงาน ซึ่งไม่ได้ทาให้พวกเขาเป็นวีรบุรุษ แต่ช่วย
ขยายผลงานของพวกเขา ทาให้ทางานได้เร็วขึ้นและฉลาดขึ้น
 เน้นที่วัตถุประสงค์ทางธุรกิจหลักขององค์กร
 เป็นการขับเคลื่อนด้วยความต้องการ ไม่ได้ขับเคลื่อนด้วย
เทคโนโลยี
 ทาให้ธุรกิจมีขีดความสามารถในการแข่งขันมากขึ้น มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น และมีกาไรมากขึ้น
ระบบการจัดการความรู้ที่ดี (ต่อ)
 ช่วยให้การบริการลูกค้าดีขึ้น และยกระดับความพึงพอใจของ
ลูกค้า
 ยกระดับความพึงพอใจในงานของพนักงาน
 เชื่อมต่อกับแหล่งที่มาของความรู้ได้ทั้งหมด รวมทั้ง ความรู้ใน
ตัวคน (tacit knowledge)
 เป็นเรื่องง่ายที่จะหาเส้นทางและการค้นหา
ระบบการจัดการความรู้ที่ดี (ต่อ)
 มีความยืดหยุ่นเพียงพอและได้กาหนดค่าไว้ ในการปรับตัวเข้า
กับการเปลี่ยนแปลงความต้องการขององค์กร
 ผลิตสารสนเทศที่ทันเวลา ถูกต้อง รัดกุม และแม่นยา สามารถใช้
ในการตัดสินใจที่มีคุณภาพสูง
 อย่าเพิ่งทา KM จนกว่าได้พิจารณาอย่างรอบคอบและเห็น
ประโยชน์ของการจัดการความรู้ (Don’t go looking for a KM
system until you have formulated and agreed on your KM needs)
Confucius
The End
Don’t worry, Be Happy

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (16)

Frontier economies
Frontier economiesFrontier economies
Frontier economies
 
Value chain analysis
Value chain analysisValue chain analysis
Value chain analysis
 
Criteria by diagrams
Criteria by diagramsCriteria by diagrams
Criteria by diagrams
 
Key factors linkage
Key factors linkageKey factors linkage
Key factors linkage
 
Trabalho marketing
Trabalho marketingTrabalho marketing
Trabalho marketing
 
Health care needs real competition
Health care needs real competitionHealth care needs real competition
Health care needs real competition
 
Team building
Team buildingTeam building
Team building
 
Strategy or execution
Strategy or executionStrategy or execution
Strategy or execution
 
Maruay 17th ha forum
Maruay 17th ha forumMaruay 17th ha forum
Maruay 17th ha forum
 
What does your customer really want
What does your customer really wantWhat does your customer really want
What does your customer really want
 
Diversity
DiversityDiversity
Diversity
 
2015 baldrige award winners
2015 baldrige award winners2015 baldrige award winners
2015 baldrige award winners
 
Km 2.0
Km 2.0Km 2.0
Km 2.0
 
Work + home + community + self
Work + home + community + selfWork + home + community + self
Work + home + community + self
 
2016 criteria category and item commentary
2016 criteria category and item commentary2016 criteria category and item commentary
2016 criteria category and item commentary
 
Effective interviewing steps
Effective interviewing stepsEffective interviewing steps
Effective interviewing steps
 

More from maruay songtanin

๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...maruay songtanin
 
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...maruay songtanin
 
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...
๖๙. ทุติยอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบั...
 
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๖๖. ทุติยอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 

Km issues

  • 3. Adapted from Clobridge Consulting, January 2014
  • 4. 1. การจัดการความรู้ (Knowledge Management)  คือการปฏิบัติการของ การดักจับ (capturing) การแบ่งปัน (sharing) การนามาใช้ (adopting) การซึมซับ (absorbing) และการใช้อีกครั้ง (re-using) ของความรู้สาคัญ ที่มีความสอดคล้องทั่วทั้งองค์กร ด้วย วิธีการอย่างเป็นระบบ  องค์กรใช้การจัดการความรู้เพื่อ:  การสร้างนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์  ลดการสูญเปล่าในการดาเนินงาน  สร้างกระบวนการปรับตัวของบุคลากรให้เข้ากับองค์กรได้เร็วขึ้น  ดักจับและนาความรู้ที่สาคัญมาใช้  ดักจับความทรงจาขององค์กรให้ธารงอยู่
  • 5. 2. ความท้าทายของ KM  วัฒนธรรมของเรามักชื่นชมกับ ผู้รู้แต่ผู้เดียว (information hoarding) เราจะเปลี่ยนให้เป็นการแบ่งปันได้อย่างไร? เพราะ...  เรายังทาผิดแบบเดียวกันซ้าแล้วซ้าเล่า  ฉันไม่สามารถหาสิ่งที่ฉันกาลังมองหา ที่อยู่ในอินทราเน็ต หรือที่ไหน ๆ  เราไม่ทราบว่ามีใครที่แผนกอื่นทาอะไรกันอยู่  มันยากที่จะรู้ว่าสิ่งนี้ ได้เคยทามาก่อน ทาให้เราสูญเสียเวลาทาซ้าอีก  ความรู้จานวนมากนี้ อยู่ในหัวของคนคนเดียว ไม่มีใครรู้อีกเลย  ตราบใดที่ยังไม่มีใครลาออก เราก็ยังไปได้ด้วยดี  ...คุณยังไม่รู้ว่าสิ่งที่คุณไม่รู้คืออะไร
  • 6. 3. วงจรชีวิตของ KM  การดักจับ การอธิบาย การจัด ระเบียบ และการแบ่งปันความรู้ เป็นสิ่งที่จาเป็นที่ทาให้ การนา ความรู้มาใช้ซ้า มีความเป็นไปได้
  • 7. 4. แต่ละองค์กรมีเอกลักษณ์ของตนเอง  ไม่มีสิ่งหนึ่ง (เสื้อโหล) ที่มีขนาดเหมาะกับทุกวิธีการแก้ปัญหา (not a one-size-fits-all) ในเรื่องการจัดการความรู้
  • 8. 5. ด้านสังคมของการแบ่งปันความรู้  การจัดการความรู้: หลายหัวดีกว่าหัวเดียว (We’re better together)  ในการแบ่งปันความรู้ ควรใช้ด้านสังคมในการกระตุ้น เพื่อ:  จุดประกายการสร้างนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์  ส่งเสริมมุมมอง และความคิดเห็นที่แตกต่างกัน  ปรับปรุงและเสริมสร้างการเชื่อมต่อ ระหว่างแผนกต่าง ๆ  ปรับปรุงและเสริมสร้างการเชื่อมต่อ ระหว่างบุคคลและองค์กร  สร้างความไว้วางใจ และความโปร่งใส  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกมุมขององค์กร จากพนักงานทุกระดับ  ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและแพลตฟอร์มใหม่ ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย
  • 9. 6. นาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเหลือ  เป็นการนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ (Appropriate adoption of technology)  เทคโนโลยีทาให้การจัดการความรู้มีความแตกต่างไปอย่างมาก และช่วยในการสนับสนุน การดักจับความรู้ (knowledge capture) การแบ่งปันความรู้ (knowledge sharing) และ การนาความรู้ กลับมาใช้ (knowledge re-use)  แต่ไม่ควรใช้เทคโนโลยีในการผลักดัน กลยุทธ์การจัดการความรู้
  • 10. 7. การทาให้ความรู้ชัดเจน สามารถค้นหาและค้นพบได้  ข้อมูลของข้อมูล (Metadata): เป็นข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูล เช่น คาหลัก รายละเอียด บทคัดย่อ รายละเอียดผู้ประพันธ์ วันที่สร้าง  อนุกรมวิธาน (Taxonomy): โครงสร้างสาหรับการจัดระเบียบและ หมวดหมู่เนื้ อหาสาหรับองค์กร บริษัท หรือองค์ความรู้ (taxonomies เป็นการกาหนดเงื่อนไขการจัดหมวดหมู่ไว้ล่วงหน้า ซึ่งจะจัดทาตามลาดับความสัมพันธ์ หรือในหมวดที่เกี่ยวข้อง)  การติดป้ าย (Tags): คาหรือวลีที่ผู้ใช้มอบหมาย และยังเรียกได้ ว่าเป็น free tags หรือ folksonomies
  • 11. 8. การพัฒนาแผนงาน KM  1. การประเมินผล (Assessment) การประเมินสภาพแวดล้อม KM ของ องค์กร วิธีการปฏิบัติ และกระบวนการ ในปัจจุบัน  2. การพัฒนากลยุทธ์ (Strategy Development) เป็นแผนภูมิหลักสาหรับ อนาคต โดยเชื่อมโยงเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการทา KM กับกลยุทธ์ ขององค์กร และจัดเรียงลาดับความสาคัญ  3. การพัฒนายุทธวิธี (Tactics Development) กาหนดหนทางในปัจจุบันมุ่งสู่ อนาคต ผ่านการบูรณาการกลยุทธ์ของ KM ความคิดริเริ่ม และแผนที่ของการ ดาเนินงาน  4. การดาเนินงาน (Implementation) เริ่มใช้กลยุทธ์ใหม่ กิจกรรมริเริ่ม และ วิธีการทางาน เพื่อบูรณาการการปฏิบัติที่ดีของ KM ให้กลมกลืนกับองค์กร หรือแผนก  5. การพัฒนาระยะยาวอย่างยั่งยืน (Long-Term Sustainability) การทบทวน การประเมิน การปรับแต่งกลยุทธ์ และการดาเนินการตามความจาเป็น เพื่อ ความต่อเนื่อง และส่งเสริมความก้าวหน้าของ KM
  • 13.
  • 14.  การจัดการความรู้ (KM) เป็นศิลปะของการเปลี่ยนสารสนเทศและ ทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อเพิ่มคุณค่าที่ยั่งยืนให้กับลูกค้าและ บุคลากรขององค์กร  Knowledge Management (KM) is the art of transforming information and intellectual assets into enduring value for an organization’s clients and its people.
  • 15. ทาไมต้องทา KM  1. ป้ องกันความพยายามที่ซ้าซ้อน (ประดิษฐ์เมื่อมีความจาเป็น ... ไม่ต้องประดิษฐ์ล้อใหม่!)  2. หลีกเลี่ยงการทาผิดพลาดในอดีตซ้าอีก  3. ใช้ประโยชน์จากสิ่งที่คนอื่น ๆ รู้อยู่แล้ว
  • 16. KM มีความจาเป็นอย่างไร  เพื่อทาให้ความรู้ที่มีอยู่ สามารถใช้ได้อย่างกว้างขวางภายใน องค์กร (การเรียนรู้ใช้ระยะเวลาสั้นลง และคนที่อยู่ในแผนกที่ ต่างกัน จะได้ไม่ต้องค้นพบสิ่งเดียวกันซ้าแล้วซ้าอีก)  การสร้างนวัตกรรม สร้างองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่า  การปรับตัวและความคล่องตัว มีข่าวสารการตลาดที่ดีขึ้น จาก แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
  • 17. จุดมุ่งหมายของการจัดการความรู้  ส่งเสริมการนาทุนทางปัญญามาใช้  การตัดสินใจได้ดีกว่า  สร้างเงื่อนไขในการพัฒนานวัตกรรม KM เป็นการจัดการ คน กระบวนการ และเทคโนโลยี ส่งผลทาให้เกิดการ ไหลเวียนของความรู้  ไปยังคนที่ถูกต้อง  ในเวลาที่เหมาะสม  เพื่อให้สามารถทาหน้าที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลมากขึ้น
  • 18. People • culture and values • knowledge managers • user surveys • social networks • communities • training • documentation • communications Process • methodologies • creation • capture • reuse • lessons learned • proven practices • collaboration • content management Technology • user interface • intranet • team spaces • virtual meeting rooms • portals • repositories • threaded discussions • expertise locators • metadata and tags • search engines • archiving KM
  • 19.
  • 20. ตัววัดผล KM • การมีส่วนร่วม (Participation): จานวนของพนักงานที่เข้าร่วมใน Forums (การสมัครสมาชิก การโพสต์ การเข้าชมเว็บไซต์) หาร ด้วยจานวนของพนักงานทั้งหมด • การดักจับ (Capture): จานวนของโปรไฟล์โครงการใหม่ ในพื้นที่ การเก็บข้อมูลรายละเอียดโครงการ หารด้วยจานวนโครงการ ใหม่ทั้งหมด • การนามาใช้ใหม่ (Reuse): ค่าเฉลี่ยของความรู้ที่นามาใช้ซ้า ใน โปรไฟล์รายงานโครงการใหม่
  • 21. สิ่งกั้นขวาง KM  วัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นการผลิตวันต่อวัน มากกว่าการสร้างความรู้และ นวัตกรรม  ข้อมูลที่นาเสนอในทางที่น่าเบื่อ (พนักงานไม่เข้าใจวิธีการที่จะใช้ประโยชน์ จากข้อมูล)  ขาดความไว้วางใจกัน ความกลัวของการขโมยความคิด ไม่เต็มใจที่จะ แบ่งปันความรู้  สภาพของมนุษย์ กลัวที่จะทาผิดพลาด (พนักงานควรรู้ว่า องค์กรยินดีให้ พวกเขาทดสอบ แม้ว่าพวกเขาอาจทาผิดพลาด)  ติดในระบบราชการมากเกินไป ใช้เวลามากเกินไปที่จะแบ่งปันความรู้
  • 23. รูปแบบของการทา KM  KM ที่ใช้เทคโนโลยีเป็นศูนย์กลาง (Techno-centric KM)  KM ที่ใช้คนเป็นศูนย์กลาง (People-centric KM)
  • 24. KM ที่ใช้เทคโนโลยีเป็นศูนย์กลาง (Techno-centric KM)  KM ขององค์กร  เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1995  ระบบอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต E-mail  การบริหารจัดการสารสนเทศแบบไม่มีโครงสร้าง  ใช้ฐานข้อมูลและการค้นหาเป็นศูนย์กลาง  สาหรับหลาย ๆ องค์กร นี่คือสิ่งที่เรียกว่า KM!
  • 25. KM ที่ใช้คนเป็นศูนย์กลาง (People-centric KM)  การจัดการความรู้ส่วนบุคคล  การจัดการความรู้ที่ใช้คนเป็นศูนย์กลาง  ใช้ศาสตร์ด้านอ่อนเช่น  การเล่าเรื่องและการบรรยายเรื่อง (Storytelling and narrative)  การทบทวนหลังจากการดาเนินการ (After action reviews: AAR)  เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer assists)  ร้านกาแฟความรู้ (Knowledge Cafes)  ลานเปิด (Open Space)  ความประทับใจ (Appreciative Inquiry: AI)
  • 26. Techno-centric KM People-centric KM KM is extra work KM is part of my everyday work Work is behind closed doors Work is open and transparent People are afraid to talk openly Anyone can say anything People directories provide contact information Social Networking platforms reflect who is doing what with whom Content is centralised, protected and controlled Content is distributed freely and uncontrolled IT chooses the tools I use I have a choice & select my own tools Knowledge sharing is database centric Knowledge sharing is people centric Knowledge is forcibly captured just in case Knowledge is naturally captured as part of my work Best Practices Stories
  • 27. Techno-centric KM People-centric KM Distribute by e-mail Subscribe to feeds CoPs centrally controlled Anyone can start a CoP Centrally controlled publishing Anyone can publish Search for experts and content separate Content filtered through experts Content is centralised, protected and controlled Content is distributed freely and uncontrolled Context stripped Rich stories, audio and video Professional voice, 3rd person Personal voice, 1st person Think quietly alone Think out loud together Efficiency and productivity Improved decision making & innovation
  • 28.
  • 29. KM 1.0 KM 2.0 KM 3.0 techno-centric people-centric productivity-centric command and control “KM is extra work” Social “KM is part of my work” Practical & Individual “KM is helping me do my work” KM 1: Collecting KM 2: Sharing KM 3: Using KM 2.0 focused on sharing knowledge using web- enabled and social media tools. KM 1.0 focused on collecting knowledge "before it walked out the door". KM 3.0 focus on using existing knowledge to help people get their job done.
  • 30.
  • 32.
  • 33. (100 คะแนน)  ในหมวดการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการ ความรู้ เป็นการตรวจประเมินว่าองค์กรเลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูล สารสนเทศ และสินทรัพย์ทางความรู้อย่างไร และ องค์กรมีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไร นอกจากนี้ ยังตรวจประเมินว่าองค์กรใช้ผล การทบทวนเพื่อปรับปรุงผลการดาเนินการอย่างไร 4.1การวัด การ วิเคราะห์ และการ ปรับปรุงผลการ ดาเนินการขององค์กร: (55 คะแนน) 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ: (45 คะแนน) หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
  • 34. ก. ความรู้ขององค์กร (1) การจัดการความรู้ องค์กรมี วิธีการอย่างไรในการจัดการ ความรู้ขององค์กร? (2) การเรียนรู้ระดับองค์กร องค์กรมีวิธีการอย่างไรใน การใช้องค์ความรู้และ ทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้การ เรียนรู้ฝังลึกลงไปในวิถีการ ปฏิบัติงานขององค์กร? ข. ข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (1) คุณภาพของข้อมูลและสารสนเทศ องค์กรมีวิธีการอย่างไรใน การทาให้มั่นใจว่าข้อมูลสารสนเทศขององค์กรมีคุณภาพ? (2) ความปลอดภัยข้อมูลสารสนเทศ องค์กรมีวิธีการที่มั่นใจได้ อย่างไรในความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศที่มีความอ่อนไหว หรือมีความสาคัญ? (3) ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ องค์กรมีวิธีการที่ มั่นใจได้อย่างไรว่าข้อมูลและสารสนเทศมีความพร้อมใช้งาน? (4) คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ องค์กรมีวิธีการอย่างไร เพื่อให้มั่นใจได้ว่าฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย และใช้งานง่าย? (5) ความพร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน ในกรณีฉุกเฉิน องค์กรมี วิธีการอย่างไรในการทาให้มั่นใจว่าระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมทั้งข้อมูลและสารสนเทศมีความพร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองลูกค้าและความจาเป็นทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิผล?
  • 35. องค์กรดาเนินการในเรื่องต่อไปนี้ อย่างไร  รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร  ผสานและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อ สร้างความรู้ใหม่  ถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องระหว่างองค์กรกับลูกค้า ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือ  รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการสร้าง นวัตกรรมและกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์
  • 36. รวบรวมและถ่ายทอด ความรู้ของบุคลากร ผสานและสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ สร้างความรู้ใหม่ ถ่ายทอดความรู้ที่ เกี่ยวข้องระหว่าง องค์กรกับลูกค้า ผู้ส่ง มอบ พันธมิตร และ ผู้ให้ความร่วมมือ เพื่อกระตุ้นการ สร้างนวัตกรรม และวางแผน เชิงกลยุทธ์ ข้อมูลและสารสนเทศ - คุณภาพ - ความปลอดภัย - ความพร้อมใช้ ฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ - ความเชื่อถือได้ - ปลอดภัย - ใช้งานง่าย ความพร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน องค์กรแห่งการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ขององค์กร
  • 37. Malcolm Baldrige National Quality Award 2015 Award Recipient, Health Care
  • 38. Charleston Area Medical Center Health System (CAMCHS)  Charleston Area Medical Center Health System (CAMCHS) อยู่ ในเมือง Charleston, W.Va. ประกอบด้วยเครือข่ายสี่โรงพยาบาล คือ CAMC General Hospital, CAMC Memorial Hospital, CAMC Women and Children’s Hospital, และ CAMC Teays Valley Hospital  CAMCHS มีรายได้ $ 956,000,000 และมีบุคลากร 7,000 คน (แพทย์เกือบ 800 คน) และอาสาสมัครอื่น ๆ กว่า 300 คน
  • 39.
  • 40. Malcolm Baldrige National Quality Award 2014 Award Recipient, Health Care Category
  • 41.  Hill Country Memorial (HCM) เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 86 เตียง ดาเนินการเป็นองค์กรไม่แสวงหากาไร ที่ให้บริการดูแลทั้ง แบบทั่วไปและฉุกเฉินของ Texas Hill Country  เปิดในปี ค.ศ.1971 โดยชุมชนให้การสนับสนุนทางการเงิน HCM ให้บริการผู้ป่ วยใน ผู้ป่ วยนอก และบริการฉุกเฉิน  ศูนย์ผ่าตัดผู้ป่ วยจะอยู่ใน Marble Falls มลรัฐเท็กซัส  มีพนักงานกว่า 800 คน รวมถึงเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และ อาสาสมัคร และมีงบประมาณการดาเนินงาน $ 199,500,000
  • 42.
  • 44. ระบบการจัดการความรู้ที่ดี  เสริมพลังให้พนักงาน ซึ่งไม่ได้ทาให้พวกเขาเป็นวีรบุรุษ แต่ช่วย ขยายผลงานของพวกเขา ทาให้ทางานได้เร็วขึ้นและฉลาดขึ้น  เน้นที่วัตถุประสงค์ทางธุรกิจหลักขององค์กร  เป็นการขับเคลื่อนด้วยความต้องการ ไม่ได้ขับเคลื่อนด้วย เทคโนโลยี  ทาให้ธุรกิจมีขีดความสามารถในการแข่งขันมากขึ้น มี ประสิทธิภาพมากขึ้น และมีกาไรมากขึ้น
  • 45. ระบบการจัดการความรู้ที่ดี (ต่อ)  ช่วยให้การบริการลูกค้าดีขึ้น และยกระดับความพึงพอใจของ ลูกค้า  ยกระดับความพึงพอใจในงานของพนักงาน  เชื่อมต่อกับแหล่งที่มาของความรู้ได้ทั้งหมด รวมทั้ง ความรู้ใน ตัวคน (tacit knowledge)  เป็นเรื่องง่ายที่จะหาเส้นทางและการค้นหา
  • 46. ระบบการจัดการความรู้ที่ดี (ต่อ)  มีความยืดหยุ่นเพียงพอและได้กาหนดค่าไว้ ในการปรับตัวเข้า กับการเปลี่ยนแปลงความต้องการขององค์กร  ผลิตสารสนเทศที่ทันเวลา ถูกต้อง รัดกุม และแม่นยา สามารถใช้ ในการตัดสินใจที่มีคุณภาพสูง  อย่าเพิ่งทา KM จนกว่าได้พิจารณาอย่างรอบคอบและเห็น ประโยชน์ของการจัดการความรู้ (Don’t go looking for a KM system until you have formulated and agreed on your KM needs)